บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
รัฐศาสตร์ (อังกฤษ: political science) เป็นสาขาวิชาที่เกิดขึ้นในราวศตวรรษที่ 19 ซึ่งนักรัฐศาสตร์ยุคแรกนั้นพัฒนากระบวนวิชาขึ้นมาให้สอดคล้องกับแนวนิยมทางวิทยาศาสตร์ สารานุกรมบริทานิกา คอนไซส์ (Britanica Concise Encyclopedia) อธิบายรัฐศาสตร์ว่า เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการปกครองและการเมืองด้วยแนวทางประจักษ์นิยม (empiricism) นักรัฐศาสตร์คือนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามแสวงหา และทำความเข้าใจธรรมชาติของการเมือง ส่วนพจนานุกรมการเมืองของออกซ์ฟอร์ด (Oxford Dictionary of Politics) นิยามว่า รัฐศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องรัฐ รัฐบาล/การปกครอง (government) หรือการเมือง
กล่าวอย่างรวบรัดรัฐศาสตร์เป็นวิชาในสายสังคมศาสตร์ สาขาหนึ่งซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็นสาขาต่าง ๆ อาทิ ปรัชญาการเมือง ประวัติศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง ทฤษฎีการเมือง อุดมการณ์ทางการเมือง การบริหารรัฐกิจ หรือการบริหารจัดการสาธารณะ หรือ รัฐประศาสนศาสตร์ การเมืองเปรียบเทียบ (comparative politics), การพัฒนาการเมือง, สถาบันทางการเมือง , การเมืองระหว่างประเทศ การปกครองและการบริหารรัฐ (national politics), การเมืองการปกครองท้องถิ่น (local politics) เป็นต้น ซึ่งสาขาต่าง ๆ เหล่านี้อาจแปรเปลี่ยนไปตามแต่ละสถาบันว่าจะจัดการเรียนการสอนอย่างไร อย่างไรก็ตามหากจะเรียกว่าการจัดกระบวนวิชาใดนั้นเป็นรัฐศาสตร์หรือไม่ ก็ขึ้นกับว่าการจัดการเรียนการสอนดังกล่าวใช้มโนทัศน์ "การเมือง" เป็นมโนทัศน์หลัก (crucial concept/key concept) หรือไม่ แต่โดยจารีตของกระบวนวิชา(scholar) นั้นรัฐศาสตร์ จะมีสาขาย่อยที่เป็นหลักอย่างน้อย 3 สาขาคือ สาขาการปกครอง (government), สาขาการบริหารกิจการสาธารณะ (public administration) สาขาการปกครองท้องถิ่น[] และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(international relation)
ขอบเขตของการศึกษา
รัฐศาสตร์เป็นสาขาวิชาที่มีมโนทัศน์หลักในการศึกษาคือการเมือง อย่างไรก็ตามความเข้าใจเรื่องนิยามของการเมืองระหว่างคนทั่วๆไป กับผู้ศึกษาวิชารัฐศาสตร์จะมีความแตกต่างกัน โดยทั่วไปนั้นสิ่งที่เรียกว่าการเมืองมักถูกเข้าใจว่าเป็นเรื่องกิจการของรัฐ, รัฐบาล, พรรคการเมือง หรือนักการเมืองเป็นหลัก แต่สำหรับผู้ศึกษารัฐศาสตร์นั้นจะมองการเมืองบนฐานของมโนทัศน์เรื่อง "อำนาจ" (power) เป็นหลัก
หนังสือความเข้าใจมโนทัศน์ "การเมือง" เบื้องต้น (Politics : the basic) ของสตีเฟน เทนซีย์ (Stephen D. Tansey) ได้อธิบายถึงความเข้าใจแง่มุมของ "การเมือง" ไว้ว่า
- ในแบบแคบ (narrowest sence) การเมืองเป็นเรื่องกิจกรรมต่างๆของรัฐบาล (What government do?) อาทิกฎหมาย, นโบายสาธารณะ เป็นต้น
- ในแบบกว้าง (wider sence) นั้นการเมืองจะเป็นเรื่องความสัมพันธ์ทางอำนาจระหว่างมนุษย์ (Human's power relation) อาทิ จารีต, ประเพณี, วัฒนธรรม เป็นต้น ในปัจจุบันวิชารัฐศาสตร์ได้รับอิทธิพลการอธิบายการเมืองจากทางความคิดจากแนวคิดหลังสมัยใหม่ (postmodern) ที่เชื่อว่า การเมืองนั้นเป็นเรื่องของมนุษย์ที่เกิดขึ้นตลอดเวลาทุกเมื่อเชื่อวัน (the politics = everyday's life) และที่ใดมีอำนาจที่นั่นมีการเมือง
ประวัติการศึกษารัฐศาสตร์สากล
สมัยกรีกโบราณ ถึงยุโรปสมัยกลาง (ศควรรษที่ 6 - 5 ก่อนคริตกาล - ราว ศตวรรษ ที่ 12 - 14)
จารีตของวิชารัฐศาสตร์ก็ไม่ต่างจารีตของวิชาที่วงวิชาการไทยรับสืบทอดมาจากวงวิชาการในโลกที่ใช้ภาษาอังกฤษคือจะกล่าวอ้างไปถึงงานปรัชญาของ เพลโต และ อริสโตเติล ว่าเป็นงานที่ศึกษารัฐศาสตร์ในยุคเริ่มแรก ทว่าหากกล่าวอย่างเคร่งครัดนั้นในยุคกรีกโบราณมิได้มีการศึกษารัฐศาสตร์ เพราะการศึกษาทุกอย่างของกรีกโบราณจะเรียกว่าเป็นการ "แสวงหามิตรภาพกับปัญญา" (philosophia ปัจจุบันแปลว่าปรัชญา ซึ่งใช้แทนกันเป็นการทั่วไป แต่โดยนัยที่เคร่งครัดแล้วมีความตางกัน) อย่างไรก็ตามนักปรัชญากรีกโบราณโดยเฉพาะสายโสคราตีส, เพลโต และอริสโตเติลจะเชื่อว่า การศึกษาการเมืองคือเรื่องที่สำคัญที่สุด (politics is a master of science) การศึกษาปรัชญาโดยใช้การเมืองเป็นศูนย์กลางคือรากฐานของวิชาปรัชญาการเมือง และประวัติศาสตร์ความคิดทางการเมือง
ในสมัยโรมันการศึกษาการเมืองไม่ได้ให้ความสำคัญมากนัก อย่างไรก็ตามมรดกทางความคิดที่สำคัญคือการสร้างระบบกฎหมายที่ต่อมากลายเป็นรากฐานที่สำคัญของวิชานิติศาสตร์ และระบบการบริหารจัดการสาธารณะรัฐที่ต่อมากลายเป็นรากฐานของวิชาการบริหารจัดการสาธารณะ ผลงานที่สำคัญในยุคโรมันคืองานของซิเซโร
หลังสิ้นสุดยุครุ่งเรื่องของปรัชญากรีก และการล่มสลายของจักรวรรดิ์โรมัน (โรมันตอนต้นปกครองโดยสภาเรียกว่าสาธารณะรัฐ ส่วนในตอนปลายปกครองโดยจักพรรดิ์จึงเรียกว่าจักรวรรดิ์) ศาสนาคริสต์เข้ามามีอิทธิพลต่อวิธีชีวิตของชาวยุโรปในทุกเรื่อง การศึกษาการเมืองจึงเป็นไปเพื่ออธิบายความว่าเหตุใดมนุษย์ซึ่งเป็นคนบาปตามความเชื่อของศาสนานั้นสามารถปกครองกันเองได้อย่างไร และกษัตริย์มีอำนาจชอบธรรมจากพระเจ้าอย่างไรจึงสามารถปกครองคนบาปได้ ในขณะเดียวกันปรัชญากรีกโบราณได้เติบโตในโลกมุสลิมเป็นอย่างมาก มีการนำปรัชญากรีกไปร่วมอธิบายกับหลักปรัชญามุสลิม และใช้เป็นรากฐานของการจัดการปกครอง ปรัชญากรีกในโลกมุสลิมต่อมามีอิทธิพลอย่างสูงต่อยุโรป โดยเฉพาะแนวคิดมนุษย์นิยมที่ต่อมากลายเป็นรากฐานของการปฏิวัติทางภูมิปัญญาในยุโรป (the age of enlightenment)
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการถึงสมัยใหม่ตอนต้น (ราวศตวรรษ ที่ 13 - 19)
การปฏิวัติทางความคิดทางศาสนาคริสต์ การเติบโตขึ้นของแนวคิดมนุษย์นิยม (humanism) ทำให้การศึกษาการเมืองในยุคนี้มีการพูดถึงการเมืองของมนุษย์มากขึ้น โดยปรากฏชัดในงานเขียนเรื่อง "เจ้าผู้ปกครอง" (the prince) ของมาคิอาเวลลี ที่สอนการปกครองอย่างตรงไปตรงมา และในบางเรื่องดูจะโหดร้าย และน่ารังเกียจหากมองด้วยสายตาของผู้ที่เคร่งครัดในจารีตทางความเชื่อแบบมีศีลมีธรรมแบบยุโรป
การปฏิวัติทางความคิดวิทยาศาสตร์ยุคแรก (the scientific revolution) ส่งผลให้ในยุโรปเกิดกระแสการนำเอาวิทยาศาสตร์เข้ามาศึกษาการเมือง โดยปรากฏอย่างชัดเจนในงานเรื่อง เลอไวธัน (Levithan) ของ ฮอบส์ ที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสังคมว่าไม่ต่างจากระบบกลไล ที่รัฐคือองคาพยพใหญ่ และมนุษย์คือฟันเฟือง ในขณะเดียวกันงานของรุสโซก็สร้างข้อถกเถียงที่สำคัญว่าการศึกษาการเมืองนั้นจะใช้วิทยาศาสตร์หรือปรัชญาดี อิทธิพลทางความคิดดังกล่าวกลายเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของแนวคิดทางการเมืองในยุคสมัยใหม่ตอนปลาย และช่วงสงครามเย็นนั่นคือ อุดมการณ์ทางการเมือง
สมัยใหม่ตอนปลาย (ราวศตวรรษ ที่ 19 - 20)
เป็นยุคที่วิชา รัฐศาสตร์มีการศึกษาที่นำเอาวิทยาศาสตร์ เข้ามาช่วยศึกษา และเรียกการศึกษาการเมืองว่า "รัฐศาสตร์" (political science) เป็นครั้งแรก ในช่วงทศวรรษที่ 1960 โดยเริ่มต้นในสหรัฐอเมริกาซึ่งแต่เดิมมีการเรียนการสอนอยู่ในคณะประวัติศาสตร์ ซึ่งศาสตร์ตราจารย์คนแรกของวิชารัฐศาสตร์คือฟรานซ์ ลีแบร์ (Francis Lieber) นักปรัชญาอเมริกันเชื้อสายเยอรมัน โดยดำรงตำแหน่งเป็นศาตราจารย์ประวัติศาสตร์และรัฐศาสตร์ประจำมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย
การศึกษาวิชาในยุควิทยาศาสตร์นี้ได้สร้างวิธีการศึกษาการเมืองขึ้นมา นั่นคือการศึกษาการเมืองผ่านการสร้าง ทฤษฎีการเมือง นักรัฐศาสตร์ที่เรียกตัวเองว่านักทฤษฎีการเมืองจะมองว่าทฤษฎี คือเครื่องมือในการทำความเข้าในสภาพการเมืองโดยรวม ซึ่งผลิตผลของการศึกษาทำความเข้าใจดังกล่าวจะได้มาซึ่งองค์ความรู้ที่สามารถนำมาประยุกต์สร้างตัวแบบ (model) เพื่ออธิบายความจริง (fact) ที่เกิดขึ้น ในยุคนี้ยังเชื่อว่าการศึกษาการเมืองโดยใช้ปรัชญา และประวัติศาสตร์เป็นเรื่องพ้นสมัย การศึกษาการเมืองในยุคนี้จึงเน้นศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง แล้วนำมาวัดประเมินค่าในเชิงคณิตศาสตร์และสถิติ จึงเรียนรัฐศาสตร์ในยุคเริ่มแรกว่า สำนักพฤติกรรมศาสตร์ (behavioralism)
อย่างไรก็ตามในเวลาช่วง ทศวรรษที่ 1970 - 1980 นักรัฐศาสตร์จำนวนมากก็ตั้งข้อกังขาว่าการเมืองนั้นสามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้หรือไม่ การถกเถียงดังกล่าวเกิดในวงวิชาการอเมริกัน อันนำไปสู่การปฏิวัติการศึกษาการเมืองที่พยายามดึงเอาปรัชญา และประวัติศาสตร์กลับมาอีกครั้ง เรียกว่านักรัฐศาสตร์สายหลังพฤติกรรมศาสตร์ (post-behavioralism)
ปัจจุบัน
การศึกษารัฐศาสตร์ในปัจจุบันมี 2 กระแส กระแสแรกคือสายที่ยังศึกษาแนวพฤติกรรมศาสตร์ คือเชื่อมั่นว่าการศึกษาการเมืองผ่านตัวเลข และสถิติมีความมั่นคงเชื่อถือได้ ส่วนอีกกระแสคือสายที่พยายามกลับไปใช้ปรัชญา และประวัติศาสตร์เป็นเครื่องมือในการศึกษา รัฐศาสตร์ในปัจจุบันจึงมีลักษณะสาขาวิชาที่เป็นสหวิทยาการ (interdisciplinary) สูงมากสาขาวิชาหนึ่ง อย่างไรก็ตามจากการที่ความคิดตระกูลหลังสมัยใหม่เข้ามามีอิทธิพลต่อแวดวงวิชาการในทศวรรษที่ 1980 ทำให้วิชารัฐศาสตร์ก็หลีกหนีแนวนิยมนี้ไม่พ้น
ปัจจุบันการศึกษารัฐศาตร์มิได้จำกัดขอบเขตการศึกษาอยู่ที่อธิบายสถาบัน และกระบวนการสร้างสถาบันทางการเมือง ทั้งนี้ก็ด้วยความเข้าใจ “การเมือง” ที่เปลี่ยนแปรไป โดยเฉพาะการเกิดขึ้นของตระกูลทางความคิดแบบหลังโครงสร้างนิยม (post – structuralism) หรือลัทธิหลังสมัยใหม่ โดยเฉพาะความคิดเรื่อง “เทคโนโลยีแห่งอำนาจ (technologies of power)” ของมิแชล ฟูโกต์ นักคิดชาวฝรั่งเศส กลายเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญเกี่ยวกับแนวความคิดเรื่องอำนาจ และการศึกษาการเมือง ปัจจุบันการศึกษาการเมืองจึงไม่ต่างจากการศึกษาแทบทุกสิ่งทุกอย่างที่นักรัฐศาสตร์เห็นว่ามีปฏิบัติการณ์ทางอำนาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะหนังสือเรื่อง “วินัย และ การลงโทษ : การกำเนิดขึ้นของเรือนจำ (Discipline and Punish: The Birth of the Prison)” ได้เสนอมุมมองใหม่ต่อสิ่งที่เรียกว่าการเมือง และอำนาจอย่างมหาศาล
ประวัติการศึกษารัฐศาสตร์ของไทย
การศึกษาด้านรัฐศาสตร์ของไทยเริ่มต้นครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำริจัดตั้ง โรงเรียนฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน เพื่อรับคัดเลือกนักเรียนเข้ามาฝึกหัดเป็นข้าราชการตามกระทรวงต่าง ๆ (สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์หรือ รปศ.) ต่อมาได้มีการขยายการศึกษาให้กว้างขวางยิ่งขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพัฒนาโรงเรียนดังกล่าวเป็น โรงเรียนข้าราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
จากเหตุดังกล่าวนี้ การศึกษารัฐศาสตร์จึงเริ่มต้นขึ้น โดยคณะรัฐศาสตร์แห่งแรก คือ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้อสังเกตคือในยุคเริ่มแรกนั้นรัฐศาสตร์ไทยนั้นเน้นผลิตบัณฑิตเข้าสู่วงราชการ โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย ซึ่งต่อมาจึงเป็นที่มาของการใช้ตราสิงห์เป็นสัญลักษณ์ของสาขาวิชา[] และอีกส่วนหนึ่งคือการเรียนการสอนรัฐศาสตร์ไทยในยุคแรก อันที่จริงเป็นการเรียนการสอนวิชารัฐประศาสนศาสตร์เพื่อสร้างข้าราชการป้อนให้กับรัฐไทย หรือก็คือสอนวิชาบริหารจัดการสาธารณะภายได้ชื่อรัฐศาสตร์ทำให้ในเวลาต่อมาเกิดความสับสนในวงวิชาการว่ารัฐศาสตร์กับรัฐประศาสนศาสตร์นั้นมีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร อย่างไรก็ตามในสังคมไทยมีการศึกษารัฐศาสตร์กระแสหนึ่งซึ่งเริ่มมีอิทธิพลขึ้นมากหลัง พ.ศ. 2526 เรียกว่ารัฐศาสตร์ทวนกระแส ซึ่งโดยภาพรวมก็ไม่ต่างแนวหลังพฤติกรรมศาสตร์ในตะวันตก อ่านเพิ่มเติม
อ้างอิง
- http://www.britannica.com/EBchecked/topic/467721/political-science
- http://www.answers.com/topic/political-science
- Andrew Heywood. Politics. London : Macmillan, 1997
- Stephen D. Tansey. Politics : the basic.(3rd Edition). London : Routledge, 2004, p.1-3.
- Donald G. Tanenbaum & David Schultz. Inventors of Ideas: An Introsduction to Western Political Philosophy. New York: St. Martin Press, 1998.
- นิโคโล มาคิอาเวลลี. เจ้าผู้ปกครอง. สมบัติ จันทรวงศ์ (แปล). กรุงเทพฯ : คบไฟ, 2538
- Thomas Hobbes of Malmesbury. Leviathan, or The Matter, Forme, & Power of a Common-Wealth Ecclesiaticall and Civill. Crawford Brough Macpherson (ed. and intro. in old English), London : Penguin Classic, 1985.
- Jean-Jacques Rousseau. “A Dissertation on The Origin and Foundation of The Inequality of Mankind; A Discourse on A Subject proposed by The Academy of Dijon : What is the origin of Inequality among Men, and is it authorized by Natural Law? ,” George Douglas Howard Cole. (trans. And ed.) in Ernest Rhys (gen. ed.). Rousseau’s Philosophy and Theology. Oxford : Everyman’s Library, 1923, p. 207 (The Origin and Foundation of The Inequality : Second Part).
- พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ทฤษฎีการเมืองกับการศึกษารัฐศาสตร์. มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552.
- ประมวลชุดสาระวิชาสหวิทยาการทางรัฐศาสตร์ (เล่มที่ 1 และเล่มที่ 2) ประมวลชุดสาระการเรียนรู้ที่ 83701, บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- ดู ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. สัญวิทยา, โครงสร้างนิยม และหลังโครงสร้างนิยมกับการศึกษารัฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : วิภาษา,2545.
- Foucault, Michel . Discipline and Punish: the Birth of the Prison, New York: Random House, 1975.
- ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. การเมืองมนุษย์ : รัฐศาสตร์ทวนกระแส. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2528
ดูเพิ่ม
- การเมือง
- คณะรัฐศาสตร์
- สมัครเรียนการปกครองท้องถิ่น[]
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul rthsastr khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxng rthsastr xngkvs political science epnsakhawichathiekidkhuninrawstwrrsthi 19 sungnkrthsastryukhaerknnphthnakrabwnwichakhunmaihsxdkhlxngkbaenwniymthangwithyasastr saranukrmbrithanika khxniss Britanica Concise Encyclopedia xthibayrthsastrwa epnkarsuksaekiywkbkarpkkhrxngaelakaremuxngdwyaenwthangpracksniym empiricism nkrthsastrkhuxnkwithyasastrthiphyayamaeswngha aelathakhwamekhaicthrrmchatikhxngkaremuxng swnphcnanukrmkaremuxngkhxngxxksfxrd Oxford Dictionary of Politics niyamwa rthsastrepnkarsuksaeruxngrth rthbal karpkkhrxng government hruxkaremuxng klawxyangrwbrdrthsastrepnwichainsaysngkhmsastr sakhahnungsungaebngkarsuksaxxkepnsakhatang xathi prchyakaremuxng prawtisastrkaremuxng prawtisastrkhwamkhidthangkaremuxng thvsdikaremuxng xudmkarnthangkaremuxng karbriharrthkic hruxkarbriharcdkarsatharna hrux rthprasasnsastr karemuxngepriybethiyb comparative politics karphthnakaremuxng sthabnthangkaremuxng karemuxngrahwangpraeths karpkkhrxngaelakarbriharrth national politics karemuxngkarpkkhrxngthxngthin local politics epntn sungsakhatang ehlanixacaeprepliyniptamaetlasthabnwacacdkareriynkarsxnxyangir xyangirktamhakcaeriykwakarcdkrabwnwichaidnnepnrthsastrhruxim kkhunkbwakarcdkareriynkarsxndngklawichmonthsn karemuxng epnmonthsnhlk crucial concept key concept hruxim aetodycaritkhxngkrabwnwicha scholar nnrthsastr camisakhayxythiepnhlkxyangnxy 3 sakhakhux sakhakarpkkhrxng government sakhakarbriharkickarsatharna public administration sakhakarpkkhrxngthxngthin lingkesiy aelakhwamsmphnthrahwangpraeths international relation khxbekhtkhxngkarsuksarthsastrepnsakhawichathimimonthsnhlkinkarsuksakhuxkaremuxng xyangirktamkhwamekhaiceruxngniyamkhxngkaremuxngrahwangkhnthwip kbphusuksawicharthsastrcamikhwamaetktangkn odythwipnnsingthieriykwakaremuxngmkthukekhaicwaepneruxngkickarkhxngrth rthbal phrrkhkaremuxng hruxnkkaremuxngepnhlk aetsahrbphusuksarthsastrnncamxngkaremuxngbnthankhxngmonthsneruxng xanac power epnhlk hnngsuxkhwamekhaicmonthsn karemuxng ebuxngtn Politics the basic khxngstiefn ethnsiy Stephen D Tansey idxthibaythungkhwamekhaicaengmumkhxng karemuxng iwwa inaebbaekhb narrowest sence karemuxngepneruxngkickrrmtangkhxngrthbal What government do xathikdhmay nobaysatharna epntn inaebbkwang wider sence nnkaremuxngcaepneruxngkhwamsmphnththangxanacrahwangmnusy Human s power relation xathi carit praephni wthnthrrm epntn inpccubnwicharthsastridrbxiththiphlkarxthibaykaremuxngcakthangkhwamkhidcakaenwkhidhlngsmyihm postmodern thiechuxwa karemuxngnnepneruxngkhxngmnusythiekidkhuntlxdewlathukemuxechuxwn the politics everyday s life aelathiidmixanacthinnmikaremuxngprawtikarsuksarthsastrsaklsmykrikobran thungyuorpsmyklang skhwrrsthi 6 5 kxnkhritkal raw stwrrs thi 12 14 caritkhxngwicharthsastrkimtangcaritkhxngwichathiwngwichakarithyrbsubthxdmacakwngwichakarinolkthiichphasaxngkvskhuxcaklawxangipthungnganprchyakhxng ephlot aela xrisotetil waepnnganthisuksarthsastrinyukherimaerk thwahakklawxyangekhrngkhrdnninyukhkrikobranmiidmikarsuksarthsastr ephraakarsuksathukxyangkhxngkrikobrancaeriykwaepnkar aeswnghamitrphaphkbpyya philosophia pccubnaeplwaprchya sungichaethnknepnkarthwip aetodynythiekhrngkhrdaelwmikhwamtangkn xyangirktamnkprchyakrikobranodyechphaasayoskhratis ephlot aelaxrisotetilcaechuxwa karsuksakaremuxngkhuxeruxngthisakhythisud politics is a master of science karsuksaprchyaodyichkaremuxngepnsunyklangkhuxrakthankhxngwichaprchyakaremuxng aelaprawtisastrkhwamkhidthangkaremuxng insmyormnkarsuksakaremuxngimidihkhwamsakhymaknk xyangirktammrdkthangkhwamkhidthisakhykhuxkarsrangrabbkdhmaythitxmaklayepnrakthanthisakhykhxngwichanitisastr aelarabbkarbriharcdkarsatharnarththitxmaklayepnrakthankhxngwichakarbriharcdkarsatharna phlnganthisakhyinyukhormnkhuxngankhxngsiesor hlngsinsudyukhrungeruxngkhxngprchyakrik aelakarlmslaykhxngckrwrrdiormn ormntxntnpkkhrxngodysphaeriykwasatharnarth swnintxnplaypkkhrxngodyckphrrdicungeriykwackrwrrdi sasnakhristekhamamixiththiphltxwithichiwitkhxngchawyuorpinthukeruxng karsuksakaremuxngcungepnipephuxxthibaykhwamwaehtuidmnusysungepnkhnbaptamkhwamechuxkhxngsasnannsamarthpkkhrxngknexngidxyangir aelakstriymixanacchxbthrrmcakphraecaxyangircungsamarthpkkhrxngkhnbapid inkhnaediywknprchyakrikobranidetibotinolkmuslimepnxyangmak mikarnaprchyakrikiprwmxthibaykbhlkprchyamuslim aelaichepnrakthankhxngkarcdkarpkkhrxng prchyakrikinolkmuslimtxmamixiththiphlxyangsungtxyuorp odyechphaaaenwkhidmnusyniymthitxmaklayepnrakthankhxngkarptiwtithangphumipyyainyuorp the age of enlightenment smyfunfusilpwithyakarthungsmyihmtxntn rawstwrrs thi 13 19 karptiwtithangkhwamkhidthangsasnakhrist karetibotkhunkhxngaenwkhidmnusyniym humanism thaihkarsuksakaremuxnginyukhnimikarphudthungkaremuxngkhxngmnusymakkhun odypraktchdinnganekhiyneruxng ecaphupkkhrxng the prince khxngmakhixaewlli thisxnkarpkkhrxngxyangtrngiptrngma aelainbangeruxngducaohdray aelanarngekiychakmxngdwysaytakhxngphuthiekhrngkhrdincaritthangkhwamechuxaebbmisilmithrrmaebbyuorp karptiwtithangkhwamkhidwithyasastryukhaerk the scientific revolution sngphlihinyuorpekidkraaeskarnaexawithyasastrekhamasuksakaremuxng odypraktxyangchdecninnganeruxng elxiwthn Levithan khxng hxbs thixthibaythungkhwamsmphnthrahwangmnusykbsngkhmwaimtangcakrabbklil thirthkhuxxngkhaphyphihy aelamnusykhuxfnefuxng inkhnaediywknngankhxngrusosksrangkhxthkethiyngthisakhywakarsuksakaremuxngnncaichwithyasastrhruxprchyadi xiththiphlthangkhwamkhiddngklawklayepncuderimtnsakhykhxngaenwkhidthangkaremuxnginyukhsmyihmtxnplay aelachwngsngkhrameynnnkhux xudmkarnthangkaremuxng smyihmtxnplay rawstwrrs thi 19 20 epnyukhthiwicha rthsastrmikarsuksathinaexawithyasastr ekhamachwysuksa aelaeriykkarsuksakaremuxngwa rthsastr political science epnkhrngaerk inchwngthswrrsthi 1960 odyerimtninshrthxemrikasungaetedimmikareriynkarsxnxyuinkhnaprawtisastr sungsastrtracarykhnaerkkhxngwicharthsastrkhuxfrans liaebr Francis Lieber nkprchyaxemriknechuxsayeyxrmn odydarngtaaehnngepnsatracaryprawtisastraelarthsastrpracamhawithyalyokhlmebiy karsuksawichainyukhwithyasastrniidsrangwithikarsuksakaremuxngkhunma nnkhuxkarsuksakaremuxngphankarsrang thvsdikaremuxng nkrthsastrthieriyktwexngwankthvsdikaremuxngcamxngwathvsdi khuxekhruxngmuxinkarthakhwamekhainsphaphkaremuxngodyrwm sungphlitphlkhxngkarsuksathakhwamekhaicdngklawcaidmasungxngkhkhwamruthisamarthnamaprayuktsrangtwaebb model ephuxxthibaykhwamcring fact thiekidkhun inyukhniyngechuxwakarsuksakaremuxngodyichprchya aelaprawtisastrepneruxngphnsmy karsuksakaremuxnginyukhnicungennsuksaphvtikrrmthangkaremuxng aelwnamawdpraeminkhainechingkhnitsastraelasthiti cungeriynrthsastrinyukherimaerkwa sankphvtikrrmsastr behavioralism xyangirktaminewlachwng thswrrsthi 1970 1980 nkrthsastrcanwnmakktngkhxkngkhawakaremuxngnnsamarthwdkhaepntwelkhidhruxim karthkethiyngdngklawekidinwngwichakarxemrikn xnnaipsukarptiwtikarsuksakaremuxngthiphyayamdungexaprchya aelaprawtisastrklbmaxikkhrng eriykwankrthsastrsayhlngphvtikrrmsastr post behavioralism pccubn karsuksarthsastrinpccubnmi 2 kraaes kraaesaerkkhuxsaythiyngsuksaaenwphvtikrrmsastr khuxechuxmnwakarsuksakaremuxngphantwelkh aelasthitimikhwammnkhngechuxthuxid swnxikkraaeskhuxsaythiphyayamklbipichprchya aelaprawtisastrepnekhruxngmuxinkarsuksa rthsastrinpccubncungmilksnasakhawichathiepnshwithyakar interdisciplinary sungmaksakhawichahnung xyangirktamcakkarthikhwamkhidtrakulhlngsmyihmekhamamixiththiphltxaewdwngwichakarinthswrrsthi 1980 thaihwicharthsastrkhlikhniaenwniymniimphn pccubnkarsuksarthsatrmiidcakdkhxbekhtkarsuksaxyuthixthibaysthabn aelakrabwnkarsrangsthabnthangkaremuxng thngnikdwykhwamekhaic karemuxng thiepliynaeprip odyechphaakarekidkhunkhxngtrakulthangkhwamkhidaebbhlngokhrngsrangniym post structuralism hruxlththihlngsmyihm odyechphaakhwamkhideruxng ethkhonolyiaehngxanac technologies of power khxngmiaechl fuokt nkkhidchawfrngess klayepncudepliynthisakhyekiywkbaenwkhwamkhideruxngxanac aelakarsuksakaremuxng pccubnkarsuksakaremuxngcungimtangcakkarsuksaaethbthuksingthukxyangthinkrthsastrehnwamiptibtikarnthangxanacekidkhun odyechphaahnngsuxeruxng winy aela karlngoths karkaenidkhunkhxngeruxnca Discipline and Punish The Birth of the Prison idesnxmummxngihmtxsingthieriykwakaremuxng aelaxanacxyangmhasalprawtikarsuksarthsastrkhxngithykarsuksadanrthsastrkhxngithyerimtnkhrngaerkinsmyrchkalthi 5 phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwmiphrarachdaricdtng orngeriynfukhdwichakharachkarphleruxn ephuxrbkhdeluxknkeriynekhamafukhdepnkharachkartamkrathrwngtang sakhawicharthprasasnsastrhrux rps txmaidmikarkhyaykarsuksaihkwangkhwangyingkhun phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwcungthrngphthnaorngeriyndngklawepn orngeriynkharachkarphleruxnkhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw cakehtudngklawni karsuksarthsastrcungerimtnkhun odykhnarthsastraehngaerk khux khnarthsastr culalngkrnmhawithyaly khxsngektkhuxinyukherimaerknnrthsastrithynnennphlitbnthitekhasuwngrachkar odyechphaakrathrwngmhadithy sungtxmacungepnthimakhxngkarichtrasinghepnsylksnkhxngsakhawicha txngkarxangxing aelaxikswnhnungkhuxkareriynkarsxnrthsastrithyinyukhaerk xnthicringepnkareriynkarsxnwicharthprasasnsastrephuxsrangkharachkarpxnihkbrthithy hruxkkhuxsxnwichabriharcdkarsatharnaphayidchuxrthsastrthaihinewlatxmaekidkhwamsbsninwngwichakarwarthsastrkbrthprasasnsastrnnmikhwamaetktangknhruximxyangir xyangirktaminsngkhmithymikarsuksarthsastrkraaeshnungsungerimmixiththiphlkhunmakhlng ph s 2526 eriykwarthsastrthwnkraaes sungodyphaphrwmkimtangaenwhlngphvtikrrmsastrintawntk xanephimetimxangxinghttp www britannica com EBchecked topic 467721 political science http www answers com topic political science Andrew Heywood Politics London Macmillan 1997 Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 p 1 3 Donald G Tanenbaum amp David Schultz Inventors of Ideas An Introsduction to Western Political Philosophy New York St Martin Press 1998 niokhol makhixaewlli ecaphupkkhrxng smbti cnthrwngs aepl krungethph khbif 2538 Thomas Hobbes of Malmesbury Leviathan or The Matter Forme amp Power of a Common Wealth Ecclesiaticall and Civill Crawford Brough Macpherson ed and intro in old English London Penguin Classic 1985 Jean Jacques Rousseau A Dissertation on The Origin and Foundation of The Inequality of Mankind A Discourse on A Subject proposed by The Academy of Dijon What is the origin of Inequality among Men and is it authorized by Natural Law George Douglas Howard Cole trans And ed in Ernest Rhys gen ed Rousseau s Philosophy and Theology Oxford Everyman s Library 1923 p 207 The Origin and Foundation of The Inequality Second Part phisisthikul aekwngam thvsdikaremuxngkbkarsuksarthsastr mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 pramwlchudsarawichashwithyakarthangrthsastr elmthi 1 aelaelmthi 2 pramwlchudsarakareriynruthi 83701 bnthitsuksa mhawithyalysuokhthythrrmathirach du ichyrtn ecriysinoxlar sywithya okhrngsrangniym aelahlngokhrngsrangniymkbkarsuksarthsastr krungethph wiphasa 2545 Foucault Michel Discipline and Punish the Birth of the Prison New York Random House 1975 chywthn sthaxannth karemuxngmnusy rthsastrthwnkraaes krungethph dxkhya 2528duephimkaremuxng khnarthsastr smkhreriynkarpkkhrxngthxngthin lingkesiy bthkhwamwicha khwamru aelasastrtangniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk