แนวคิดหลังยุคนวนิยม (อังกฤษ: Postmodernism) บางทีใช้คำว่าหลังสมัยใหม่ หรือแนวคิดหลังสมัยใหม่ เป็นแนวคิดทางการเมือง ปรัชญา วัฒนธรรม สังคม ดนตรี และอื่น ๆ ที่ก่อตัวขึ้นโดยมีมุมมองที่ต่างออกไปจากมุมมองทางความคิดแบบเดิม ๆ ของโลก ไม่ว่าจะแนวคิดลัทธิก่อนสมัยใหม่ หรือแนวคิดลัทธิสมัยใหม่ แนวคิดหลังสมัยใหม่ถูกจัดเข้ารวมกับทฤษฎีแนววิพากษ์ (Critical Theory/Critical Scholar)
การกำเนิดของแนวคิดหลังสมัยใหม่
ในช่วงปลายสมัยใหม่ของภูมิปัญญาตะวันตก มีความคิดว่าทุกสิ่งทุกอย่างถูกสร้างขึ้นเพื่อความทันสมัย บางครั้งก็เรียกรวมๆว่าความคิดแบบสมัยใหม่นิยม (modernism) กล่าวได้ว่าความคิดทันสมัยมีรากเหง้ามาจากทฤษฎีความคิดในยุคภูมิปัญญา (enlightenment) นักคิด นักปรัชญาการเมืองในยุคสมัยใหม่แข่งขันกันนำเสนอวิสัยทัศน์ที่เกี่ยวกับชีวิตที่ดี สังคมที่ดี ที่สำคัญคือ แนวคิดเสรีนิยม (liberalism) ที่เห็นว่าปัจเจกบุคคลต้องสละประโยชน์ส่วนตัว หาทางสร้างระบบการเมืองเสรีประชาธิปไตยขึ้นมารองรับ กับแนวคิดมาร์กซิสม์ ที่ต่างต้องการสร้างโลกใหม่ที่ไม่ตกอยู่ภายใต้การขูดรีดจากระบบทุนนิยม ความคิดในยุคสมัยใหม่กล่าวได้ว่ามีศรัทธาแรงกล้าต่อความก้าวหน้า (idea of progress) การที่สังคมมีหลักพื้นฐานอันประกอบด้วยสัจจะ ค่านิยมหลัก และความเชื่อมั่นเรื่องสังคมก้าวหน้ารวมเรียกกันว่าแนวคิดสถาปนานิยม ที่พยายามสถาปนาความเป็นอันหนึ่งอันเดียวให้เกิดขึ้นในสังคมผ่านการสร้างค่านิยม, ความเชื่อต่างๆขึ้นมาครอบครองความคิดมนุษย์ในสังคม
ในเวลาต่อมาจึงเกิดความคิดหลังสมัยใหม่ (postmodern) ที่เสนอให้ปฏิเสธความแน่นอน หนึ่งเดียว นักคิดหลังสมัยใหม่ ปฏิเสธเรื่องสัจจะสมบูรณ์สูงสุดเป็นสากล โดยเห็นว่าเป็นเพียงการโอ้อวด แต่เสนอว่าไม่มีศูนย์กลางความเป็นหนึ่งเดียว และสังคมดำรงอยู่อย่างแตกต่างหลากหลาย (diversity) ความคิดและแนวคิดใดๆทั้งหมดเป็นเรื่องที่ได้รับการแสดงออกในรูปภาษาโดยที่ภาษาหรือการใช้ภาษาสื่อความหมายนั้นล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ทางอำนาจอันซับซ้อน ดังนั้นปรัชญาและทฤษฎีการเมืองจึงมิอาจอยู่เหนือ หรือตัดขาดจากความสัมพันธ์ทางอำนาจ เช่นกันกับมิอาจให้ความรู้ความเข้าใจได้ด้วยการเป็นกลางไม่โอนเอียง ทฤษฎีการเมืองหรือสัจจะหรือความรู้ใดๆเป็นส่วนหนึ่งโดยนัยของความสัมพันธ์ทางอำนาจที่นักวิชาการกำลังวิเคราะห์อยู่ นักคิดหลังสมัยใหม่จึงมีลักษณะตั้งข้อกังขาอย่างไม่ลดละต่อสภาพความเป็นจริงใดๆที่ดูหนักแน่นสมบูรณ์ และความเชื่อต่างๆที่พากันยึดถืออย่างไม่ลืมหูลืมตา
สิ่งสำคัญที่สุดที่ทำให้กล่าวกันว่าได้ก้าวเข้าสู่ยุคหลังสมัยใหม่ (postmodern era) คือความคิดที่ว่าสิ่งที่เป็นจริง (the real) กับสิ่งที่ปรากฏ (apparent) นั้นอาจไม่ใช่เรื่องเดียวกัน ซึ่งเป็นความคิดของฟรีดริช นิทซ์เชอ (Friedrich Wilhelm Nietzsche) ซึ่งความคิดดังกล่าวเข้าไปมีอิทธิพลในวงการศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1920 กล่าวได้ว่าแนวคิดหลังสมัยใหม่ (postmodern) คือการเคลื่อนไหวทางความคิดและวัฒนธรรมที่ต่อต้านนิยาม, ความเชื่อ, ค่านิยม, จารีต, ประเพณีฯลฯ อาทิองค์รวม (totality), ความเป็นเหตุเป็นผล (rationality), ความเป็นสากล(universality), ความเป็นวัตถุวิสัย (objectivity) ฯลฯ ซึ่งนักคิดหลังสมัยใหม่จะตั้งคำถามต่อสิ่งเหล่านี้ในฐานะที่ต่างเป็นเพียง “เรื่องเล่าหลัก (meta-narrative)” ที่เกิดขึ้นมาจากข้ออ้างของความเป็นสมัยใหม่ (modernity) ของแนวคิดสมัยใหม่ (modernism)
ความหมาย
คำว่าหลังสมัยใหม่ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสฌัง-ฟรังซัวร์ ไลโอตารด์ (Jean-François Lyotard) ที่มาของคำว่าหลังสมัยใหม่ก็มาจากชื่อหนังสือของไลโอตารด์ที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1979 คือ “สภาวะหลังสมัยใหม่ : รายงานว่าด้วยความรู้ (The Postmodern Condition : A Report on Knowledge)” ซึ่งไลโอตาร์ดกล่าวว่าในทางการ “หาความรู้” ในแนวทางแบบหลังสมัยใหม่นั้นหากจะบอกเวลาที่แน่ชัดที่สุดหรือในทศวรรษที่ 1950 ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ยุโรปเริ่มปรับเปลี่ยนและรื้อสร้าง (reconstruct) ทางความคิดในเรื่องต่างๆ ทั้งในเรื่องมนุษย์, สังคม และวัฒนธรรม ไลโอตาร์ดเรียกร้องให้มนุษย์ปฏิเสธเรื่องเล่าหลัก หรือทฤษฎีต่างๆที่อ้างความเป็นสากลของวัฒนธรรมตะวันตก ซึ่งการกระทำดังกล่าวเป็นวิธีการหาความรู้พื้นฐานของปรัชญาซึ่งเริ่มต้นด้วยการขุดเซาะทฤษฎีทางปรัชญาต่างๆที่อ้างตนว่าสามารถอธิบายความจริงได้ ไลโอตาร์ดอธิบายถึงสิ่งเขาเรียกว่าหลังสมัยใหม่ไว้ว่า
“ข้าพเจ้านิยามหลังสมัยใหม่ในฐานะความไม่เชื่อถือในเรื่องเล่าหลัก ความไม่เชื่อถือนี้มิได้เป็นผลจากพัฒนาการของการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ แต่ทว่าเป็นสิ่งที่คาดได้ว่าจะเกิดขึ้น ความล้าสมัยของการทำให้เรื่องเล่าหลักมีความชอบธรรม, เป็นที่ยอมรับ คือความล้มเหลวของหลักอภิปรัชญา และขนบของการศึกษาในมหาวิทยาลัย เรื่องเล่าอื่นๆได้สูญเสียหน้าที่ของมันไปหมด... ...อะไรคือหลังสมัยใหม่?... ข้าพเจ้าไม่ได้รู้สึกสงสัยเลยว่ามันก็เป็นส่วนหนึ่งของสภาวะสมัยใหม่ หากสิ่งใดจะเป็นสิ่งใหม่ก็ต้องเริ่มต้นจากการเป็นสิ่งหลังสมัยใหม่ แนวคิดหลังสมัยใหม่ไม่สามารถถูกเข้าใจว่าเป็นจุดจบของแนวคิดสมัยใหม่ แต่คือจุดเริ่มต้น และจุดที่ยังเกิดขึ้นอยู่เสมอ... หลังสมัยใหม่จะทำให้สิ่งที่ภาวะสมัยใหม่ไม่นำเสนอมีที่ทางที่จะเสนอตัวเอง ”
อ้างอิง
- ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน 2017-07-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน พิมพ์คำว่า post-modernism
- Stephen D. Tansey. Politics : the basic. (3rd Edition) London : Routledge, 2004, pp.18 - 22.
- พิสิษฐิกุล แก้วงาม. ทฤษฎีการเมืองกับการศึกษารัฐศาสตร์. มหาสารคาม : หลักสูตรสาขาวิชารัฐศาสตร์ วิทยาลัยกฎหมายและการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 2552.
- Gary Aylesworth, “Postmodernism,” Stanford Encyclopedia of Philosophy (Sep 30, 2005), Cited by http://plato.stanford.edu/entries/postmodernism
- Jean-François Lyotard. The Postmodern Condition : A Report on Knowledge. Geoff Bennington and Brian Massumi (trans.) Minneapolis : The University of Minnesota Press, 1984, pp. xxiv, 79 - 81.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
aenwkhidhlngyukhnwniym xngkvs Postmodernism bangthiichkhawahlngsmyihm hruxaenwkhidhlngsmyihm epnaenwkhidthangkaremuxng prchya wthnthrrm sngkhm dntri aelaxun thikxtwkhunodymimummxngthitangxxkipcakmummxngthangkhwamkhidaebbedim khxngolk imwacaaenwkhidlththikxnsmyihm hruxaenwkhidlththismyihm aenwkhidhlngsmyihmthukcdekharwmkbthvsdiaenwwiphaks Critical Theory Critical Scholar karkaenidkhxngaenwkhidhlngsmyihminchwngplaysmyihmkhxngphumipyyatawntk mikhwamkhidwathuksingthukxyangthuksrangkhunephuxkhwamthnsmy bangkhrngkeriykrwmwakhwamkhidaebbsmyihmniym modernism klawidwakhwamkhidthnsmymirakehngamacakthvsdikhwamkhidinyukhphumipyya enlightenment nkkhid nkprchyakaremuxnginyukhsmyihmaekhngkhnknnaesnxwisythsnthiekiywkbchiwitthidi sngkhmthidi thisakhykhux aenwkhidesriniym liberalism thiehnwapceckbukhkhltxngslapraoychnswntw hathangsrangrabbkaremuxngesriprachathipitykhunmarxngrb kbaenwkhidmarksism thitangtxngkarsrangolkihmthiimtkxyuphayitkarkhudridcakrabbthunniym khwamkhidinyukhsmyihmklawidwamisrththaaerngklatxkhwamkawhna idea of progress karthisngkhmmihlkphunthanxnprakxbdwyscca khaniymhlk aelakhwamechuxmneruxngsngkhmkawhnarwmeriykknwaaenwkhidsthapnaniym thiphyayamsthapnakhwamepnxnhnungxnediywihekidkhuninsngkhmphankarsrangkhaniym khwamechuxtangkhunmakhrxbkhrxngkhwamkhidmnusyinsngkhm inewlatxmacungekidkhwamkhidhlngsmyihm postmodern thiesnxihptiesthkhwamaennxn hnungediyw nkkhidhlngsmyihm ptiestheruxngsccasmburnsungsudepnsakl odyehnwaepnephiyngkaroxxwd aetesnxwaimmisunyklangkhwamepnhnungediyw aelasngkhmdarngxyuxyangaetktanghlakhlay diversity khwamkhidaelaaenwkhididthnghmdepneruxngthiidrbkaraesdngxxkinrupphasaodythiphasahruxkarichphasasuxkhwamhmaynnlwnaelwaetekiywkhxngkbkhwamsmphnththangxanacxnsbsxn dngnnprchyaaelathvsdikaremuxngcungmixacxyuehnux hruxtdkhadcakkhwamsmphnththangxanac echnknkbmixacihkhwamrukhwamekhaiciddwykarepnklangimoxnexiyng thvsdikaremuxnghruxsccahruxkhwamruidepnswnhnungodynykhxngkhwamsmphnththangxanacthinkwichakarkalngwiekhraahxyu nkkhidhlngsmyihmcungmilksnatngkhxkngkhaxyangimldlatxsphaphkhwamepncringidthiduhnkaennsmburn aelakhwamechuxtangthiphaknyudthuxxyangimlumhulumta singsakhythisudthithaihklawknwaidkawekhasuyukhhlngsmyihm postmodern era khuxkhwamkhidthiwasingthiepncring the real kbsingthiprakt apparent nnxacimicheruxngediywkn sungepnkhwamkhidkhxngfridrich nithsechx Friedrich Wilhelm Nietzsche sungkhwamkhiddngklawekhaipmixiththiphlinwngkarsilpainchwngthswrrsthi 1920 klawidwaaenwkhidhlngsmyihm postmodern khuxkarekhluxnihwthangkhwamkhidaelawthnthrrmthitxtanniyam khwamechux khaniym carit praephnil xathixngkhrwm totality khwamepnehtuepnphl rationality khwamepnsakl universality khwamepnwtthuwisy objectivity l sungnkkhidhlngsmyihmcatngkhathamtxsingehlaniinthanathitangepnephiyng eruxngelahlk meta narrative thiekidkhunmacakkhxxangkhxngkhwamepnsmyihm modernity khxngaenwkhidsmyihm modernism khwamhmaykhawahlngsmyihmthukichkhrngaerkodynkprchyachawfrngesschng frngswr iloxtard Jean Francois Lyotard thimakhxngkhawahlngsmyihmkmacakchuxhnngsuxkhxngiloxtardthitiphimphin kh s 1979 khux sphawahlngsmyihm raynganwadwykhwamru The Postmodern Condition A Report on Knowledge sungiloxtardklawwainthangkar hakhwamru inaenwthangaebbhlngsmyihmnnhakcabxkewlathiaenchdthisudhruxinthswrrsthi 1950 sungepnchwngewlathiyuorperimprbepliynaelaruxsrang reconstruct thangkhwamkhidineruxngtang thngineruxngmnusy sngkhm aelawthnthrrm iloxtarderiykrxngihmnusyptiestheruxngelahlk hruxthvsditangthixangkhwamepnsaklkhxngwthnthrrmtawntk sungkarkrathadngklawepnwithikarhakhwamruphunthankhxngprchyasungerimtndwykarkhudesaathvsdithangprchyatangthixangtnwasamarthxthibaykhwamcringid iloxtardxthibaythungsingekhaeriykwahlngsmyihmiwwa khaphecaniyamhlngsmyihminthanakhwamimechuxthuxineruxngelahlk khwamimechuxthuxnimiidepnphlcakphthnakarkhxngkarsuksaaebbwithyasastr aetthwaepnsingthikhadidwacaekidkhun khwamlasmykhxngkarthaiheruxngelahlkmikhwamchxbthrrm epnthiyxmrb khuxkhwamlmehlwkhxnghlkxphiprchya aelakhnbkhxngkarsuksainmhawithyaly eruxngelaxunidsuyesiyhnathikhxngmniphmd xairkhuxhlngsmyihm khaphecaimidrusuksngsyelywamnkepnswnhnungkhxngsphawasmyihm haksingidcaepnsingihmktxngerimtncakkarepnsinghlngsmyihm aenwkhidhlngsmyihmimsamarththukekhaicwaepncudcbkhxngaenwkhidsmyihm aetkhuxcuderimtn aelacudthiyngekidkhunxyuesmx hlngsmyihmcathaihsingthiphawasmyihmimnaesnxmithithangthicaesnxtwexng xangxingsphthbyyti rachbnthitysthan 2017 07 15 thi ewyaebkaemchchin phimphkhawa post modernism Stephen D Tansey Politics the basic 3rd Edition London Routledge 2004 pp 18 22 phisisthikul aekwngam thvsdikaremuxngkbkarsuksarthsastr mhasarkham hlksutrsakhawicharthsastr withyalykdhmayaelakarpkkhrxng mhawithyalyrachphdmhasarkham 2552 Gary Aylesworth Postmodernism Stanford Encyclopedia of Philosophy Sep 30 2005 Cited by http plato stanford edu entries postmodernism Jean Francois Lyotard The Postmodern Condition A Report on Knowledge Geoff Bennington and Brian Massumi trans Minneapolis The University of Minnesota Press 1984 pp xxiv 79 81 duephimthvsdi prchyatawntkbthkhwamprchya hrux namthrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk