ตัวหนากระดานดำ (อังกฤษ: blackboard bold) เป็นรูปแบบไทป์เฟซสำหรับสัญลักษณ์บางตัวในคณิตศาสตร์ โดยที่เส้นในสัญลักษณ์นั้น (มักจะเป็นเส้นในแนวดิ่งหรือเกือบดิ่ง) ถูกเขียนซ้ำ สัญลักษณ์เหล่านี้มักจะใช้บอกเซตจำนวน หนึ่งในวิธีการสร้างตัวหนากระดานดำบนเครื่องพิมพ์ดีดคือพิมพ์ตัวอักษรตัวเดิมซ้ำสองครั้งโดยให้เหลื่อมกันเล็กน้อย จึงอาจถูกเรียกว่า แบบสองขีด (double struck)
การใช้งาน
ตารางนี้แสดงตัวหนากระดานดำในยูนิโคดทั้งหมด
สัญลักษณ์เหล่านี้มีความหมายเป็นสากลในการตีความ ไม่เหมือนกับตัวอักษรไทป์เซตที่เหมือนกันทั่วๆ ไป ซึ่งใช้เพื่อจุดประสงค์ต่างๆ กันมากมาย
คอลัมน์แรกแสดงตัวอักษรที่สร้างขึ้นจากระบบมาร์กอัป LaTeX คอลัมน์ถัดมาแสดงรหัสของอักษรยูนิโดค คอลัมน์ที่สามแสดงตัวสัญลักษณ์ (ซึ่งจะแสดงได้อย่างถูกต้องบนเบราว์เซอร์ที่สนับสนุนยูนิโคดและสามารถใช้งานฟอนต์ที่เหมาะสมได้) คอลัมน์ที่สี่อธิบายการใช้งานตัวอักษรนี้โดยทั่วๆ ไป(แต่ไม่เป็นสากล)ในทางคณิตศาสตร์
รหัสยูนิโคด Unicode (Hex) | สัญลักษณ์ | การใช้งานทางคณิตศาสตร์ | |
---|---|---|---|
U+1D538 | 𝔸 | แทน หรือ . บางครั้งใช้แทน algebraic numbers, ของ ℚ (มักเขียนเป็น ℚ หรือ Q), หรือใน , ซับริงที่สำคัญของจำนวนเชิงพีชคณิต | |
U+1D552 | 𝕒 | ||
U+1D539 | 𝔹 | แทน , ,หรือ ของฟิลด์อันหนึ่ง | |
U+1D553 | 𝕓 | ||
U+2102 | ℂ | แทนเซตของจำนวนเชิงซ้อน | |
U+1D554 | 𝕔 | ||
U+1D53B | 𝔻 | แทนหน่วย () ดิสก์ใน (และรูป 𝔻ⁿ อาจหมายถึง n-มิติ บอล) — ตัวอย่างเช่นเป็นโมเดลของระนาบแบบไฮเปอร์โบลิก บางครั้ง 𝔻 อาจจะหมายถึงเศษส่วนเชิงทศนิยม (ดู จำนวน) หรือ . | |
U+1D555 | 𝕕 | ||
U+2145 | ⅅ | ||
U+2146 | ⅆ | อาจใช้แทนสัญลักษณ์ Differential | |
U+1D53C | 𝔼 | แทน expected value ของตัวแปรสุ่ม , หรือ , หรือฟีลด์ใน , หรือ . | |
U+1D556 | 𝕖 | ||
U+2147 | ⅇ | บางครั้งใช้แทนค่าคงตัวทางคณิตศาสตร์ e. | |
U+1D53D | 𝔽 | แทนฟีลด์ มักใช้แทนฟีลด์จำกัด, พร้อมกับขีดเส้นใต้เพื่อระบุลำดับ. หรืออาจแทน หรือ , โดยมีซับเซตเพื่อระบุจำนวนของ generators (หรือ generating set, ถ้าเป็นแบบอนันต์). | |
U+1D557 | 𝕗 | ||
U+1D53E | 𝔾 | แทน หรือกรุป, โดยเฉพาะอย่างยิ่ง . | |
U+1D558 | 𝕘 | ||
U+210D | ℍ | แทนควอเทอร์เนียน(ตัว H ย่อมาจาก Hamilton), หรือ , หรือ , หรือ ของ complex. | |
U+1D559 | 𝕙 | ||
U+1D540 | 𝕀 | แทน closed หรือ ของ พหุนาม เลือนหายไปบนซับเซต บางครั้งเป็น บน , หรือ ฟังก์ชันบ่งชี้, หรือเซตของ จำนวนจินตภาพ (เซตของจำนวนจริงทั้งหมดคูณด้วย หน่วยจินตภาพ, มักเขียนด้วยสัญลักษณ์ iℝ เป็นส่วนใหญ่) | |
U+1D55A | 𝕚 | ||
U+2148 | ⅈ | บางครั้งอาจใช้แทน หน่วยจินตภาพ. | |
U+1D541 | 𝕁 | บางครั้งใช้แทนเซตจำนวนอตรรกยะ, R\Q (ℝ\ℚ). | |
U+1D55B | 𝕛 | ||
U+2149 | ⅉ | ||
U+1D542 | 𝕂 | แทนฟีลด์ มักจะเป็น scalar field. นำมาจากคำภาษาเยอรมันว่า Körper, ซึ่งแปลว่าฟีลด์ (แปลตรงตัวว่า, "body"; เทียบได้กับคำภาษาฝรั่งเศสว่า corps). อาจใช้แทน ได้เช่นกัน | |
U+1D55C | 𝕜 | ||
U+1D543 | 𝕃 | แสดง Lefschetz motive. ดู . | |
U+1D55D | 𝕝 | ||
U+1D544 | 𝕄 | แทน ในบางครั้ง หรือเซตของ m-โดย-n แมททริกซ์บางครั้งก็เขียนแทนด้วย 𝕄(m, n). | |
U+1D55E | 𝕞 | ||
U+2115 | ℕ | แทนเซตของ จำนวนธรรมชาติ. อาจจะรวมศูนย์หรือไม่ก็ได้ | |
U+1D55F | 𝕟 | ||
U+1D546 | 𝕆 | แทนออกโทเนียน | |
U+1D560 | 𝕠 | ||
U+2119 | ℙ | แทน , ความน่าจะเป็น ของเหตุการณ์หนึ่ง, เซตของจำนวนเฉพาะ, , เซตของจำนวนอตรรกยะ, หรือ . | |
U+1D561 | 𝕡 | ||
U+211A | ℚ | แทนเซตของจำนวนตรรกยะ (ตัว Q มาจากคำว่า .) | |
U+1D562 | 𝕢 | ||
U+211D | ℝ | เซตของจำนวนจริง แทนเซต ในขณะที่ แทนเซตของจำนวนจริงที่ไม่ติดลบ | |
U+1D563 | 𝕣 | ||
U+1D54A | 𝕊 | แทนทรงกลม, หรือ , หรือบางครั้งอาจจะเป็น . | |
U+1D564 | 𝕤 | ||
U+1D54B | 𝕋 | แทน , โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในระนาบจำนวนเชิงซ้อน (และ 𝕋ⁿ torus ที่มี n-มิติ), หรือ (Hecke เขียนตัวดำเนินการของเขาเป็น Tn หรือ 𝕋ℕ), หรือ , หรือ . | |
U+1D565 | 𝕥 | ||
U+1D54C | 𝕌 | ||
U+1D566 | 𝕦 | ||
U+1D54D | 𝕍 | แทน หรือ สร้างโดยเซตของพหุนาม | |
U+1D567 | 𝕧 | ||
U+1D54E | 𝕎 | อาจใช้แทนเซตของ จำนวนถ้วน (ในความที่เป็นจำนวนจริงที่ไม่ติดลบ),ซึ่งสามารถเขียนเป็น ℕ0 ได้เช่นกัน | |
U+1D568 | 𝕨 | ||
U+1D54F | 𝕏 | อาจใช้แทน arbitrary . | |
U+1D569 | 𝕩 | ||
U+1D550 | 𝕐 | ||
U+1D56A | 𝕪 | ||
U+2124 | ℤ | แทนเซตของจำนวนเต็ม. (ตัว Z มาจากภาษาเยอรมันคำว่า Zahlen, แปลว่า "จำนวน", และคำว่า zählen, แปลว่า "นับ".) | |
U+1D56B | 𝕫 | ||
U+213E | ℾ | ||
U+213D | ℽ | ||
U+213F | ℿ | ||
U+213C | ℼ | ||
U+2140 | ⅀ | ||
U+1D7D8 | 𝟘 | ||
U+1D7D9 | 𝟙 | ใน set theory, มักใช้แทน ของ , หรือบางครั้งแทน identity matrix ใน . สามารถใช้แทน ฟังก์ชันบ่งชี้ ได้เช่นกัน และ , และแทน หรือ identity matrix. | |
U+1D7DA | 𝟚 | ใน , มักใช้แทน interval category. | |
U+1D7DB | 𝟛 | ||
U+1D7DC | 𝟜 | ||
U+1D7DD | 𝟝 | ||
U+1D7DE | 𝟞 | ||
U+1D7DF | 𝟟 | ||
U+1D7E0 | 𝟠 | ||
U+1D7E1 | 𝟡 |
นอกจากนี้ ตัวหนากระดานดำของอักษรกริก มิว (ไม่พบในยูนิโคด) ก็ใช้เป็นครั้งคราวโดยนักทฤษฎีจำนวนและนักเรขาคณิตเชิงพีชคณิต (โดยมีตัวอักษร n ห้อยไว้) เพื่อกำหนดกรุป (หรือถ้าจะให้เฉพาะเจาะจงขึ้นคือ Group scheme) ของ Root of unity ที่ n
อ้างอิง
- Google Groups
- Milne, James S. (1980). Étale cohomology. Princeton University Press. p. xiii.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
twhnakradanda xngkvs blackboard bold epnrupaebbithpefssahrbsylksnbangtwinkhnitsastr odythiesninsylksnnn mkcaepnesninaenwdinghruxekuxbding thukekhiynsa sylksnehlanimkcaichbxkestcanwn hnunginwithikarsrangtwhnakradandabnekhruxngphimphdidkhuxphimphtwxksrtwedimsasxngkhrngodyihehluxmknelknxy cungxacthukeriykwa aebbsxngkhid double struck twxyangtwxksraebbtwhnakradandakarichngantarangniaesdngtwhnakradandainyuniokhdthnghmd sylksnehlanimikhwamhmayepnsaklinkartikhwam imehmuxnkbtwxksrithpestthiehmuxnknthw ip sungichephuxcudprasngkhtang knmakmay khxlmnaerkaesdngtwxksrthisrangkhuncakrabbmarkxp LaTeX khxlmnthdmaaesdngrhskhxngxksryuniodkh khxlmnthisamaesdngtwsylksn sungcaaesdngidxyangthuktxngbnebrawesxrthisnbsnunyuniokhdaelasamarthichnganfxntthiehmaasmid khxlmnthisixthibaykarichngantwxksrniodythw ip aetimepnsakl inthangkhnitsastr rhsyuniokhd Unicode Hex sylksn karichnganthangkhnitsastrA displaystyle mathbb A U 1D538 𝔸 aethn hrux bangkhrngichaethn algebraic numbers khxng ℚ mkekhiynepn ℚ hrux Q hruxin sbringthisakhykhxngcanwnechingphichkhnitU 1D552 𝕒B displaystyle mathbb B U 1D539 𝔹 aethn hrux khxngfildxnhnungU 1D553 𝕓C displaystyle mathbb C U 2102 ℂ aethnestkhxngcanwnechingsxnU 1D554 𝕔D displaystyle mathbb D U 1D53B 𝔻 aethnhnwy diskin aelarup 𝔻ⁿ xachmaythung n miti bxl twxyangechnepnomedlkhxngranabaebbihepxroblik bangkhrng 𝔻 xaccahmaythungessswnechingthsniym du canwn hrux U 1D555 𝕕DD displaystyle D D U 2145 ⅅdd displaystyle d d U 2146 ⅆ xacichaethnsylksn DifferentialE displaystyle mathbb E U 1D53C 𝔼 aethn expected value khxngtwaeprsum hrux hruxfildin hrux U 1D556 𝕖ee displaystyle e e U 2147 ⅇ bangkhrngichaethnkhakhngtwthangkhnitsastr e F displaystyle mathbb F U 1D53D 𝔽 aethnfild mkichaethnfildcakd phrxmkbkhidesnitephuxrabuladb hruxxacaethn hrux odymisbestephuxrabucanwnkhxng generators hrux generating set thaepnaebbxnnt U 1D557 𝕗G displaystyle mathbb G U 1D53E 𝔾 aethn hruxkrup odyechphaaxyangying U 1D558 𝕘H displaystyle mathbb H U 210D ℍ aethnkhwxethxreniyn tw H yxmacak Hamilton hrux hrux hrux khxng complex U 1D559 𝕙I displaystyle mathbb I U 1D540 𝕀 aethn closed hrux khxng phhunam eluxnhayipbnsbest bangkhrngepn bn hrux fngkchnbngchi hruxestkhxng canwncintphaph estkhxngcanwncringthnghmdkhundwy hnwycintphaph mkekhiyndwysylksn iℝ epnswnihy U 1D55A 𝕚ii displaystyle i i U 2148 ⅈ bangkhrngxacichaethn hnwycintphaph J displaystyle mathbb J U 1D541 𝕁 bangkhrngichaethnestcanwnxtrrkya R Q ℝ ℚ U 1D55B 𝕛jj displaystyle j j U 2149 ⅉK displaystyle mathbb K U 1D542 𝕂 aethnfild mkcaepn scalar field namacakkhaphasaeyxrmnwa Korper sungaeplwafild aepltrngtwwa body ethiybidkbkhaphasafrngesswa corps xacichaethn idechnknU 1D55C 𝕜L displaystyle mathbb L U 1D543 𝕃 aesdng Lefschetz motive du U 1D55D 𝕝M displaystyle mathbb M U 1D544 𝕄 aethn inbangkhrng hruxestkhxng m ody n aemththriksbangkhrngkekhiynaethndwy 𝕄 m n U 1D55E 𝕞N displaystyle mathbb N U 2115 ℕ aethnestkhxng canwnthrrmchati xaccarwmsunyhruximkidU 1D55F 𝕟O displaystyle mathbb O U 1D546 𝕆 aethnxxkotheniynU 1D560 𝕠P displaystyle mathbb P U 2119 ℙ aethn khwamnacaepn khxngehtukarnhnung estkhxngcanwnechphaa estkhxngcanwnxtrrkya hrux U 1D561 𝕡Q displaystyle mathbb Q U 211A ℚ aethnestkhxngcanwntrrkya tw Q macakkhawa U 1D562 𝕢R displaystyle mathbb R U 211D ℝ estkhxngcanwncring R gt 0 displaystyle mathbb R gt 0 aethnest inkhnathi R 0 displaystyle mathbb R geq 0 aethnestkhxngcanwncringthiimtidlbU 1D563 𝕣S displaystyle mathbb S U 1D54A 𝕊 aethnthrngklm hrux hruxbangkhrngxaccaepn U 1D564 𝕤T displaystyle mathbb T U 1D54B 𝕋 aethn odyechphaaxyangying inranabcanwnechingsxn aela 𝕋ⁿ torus thimi n miti hrux Hecke ekhiyntwdaeninkarkhxngekhaepn Tn hrux 𝕋ℕ hrux hrux U 1D565 𝕥U displaystyle mathbb U U 1D54C 𝕌U 1D566 𝕦V displaystyle mathbb V U 1D54D 𝕍 aethn hrux srangodyestkhxngphhunamU 1D567 𝕧W displaystyle mathbb W U 1D54E 𝕎 xacichaethnestkhxng canwnthwn inkhwamthiepncanwncringthiimtidlb sungsamarthekhiynepn ℕ0 idechnknU 1D568 𝕨X displaystyle mathbb X U 1D54F 𝕏 xacichaethn arbitrary U 1D569 𝕩Y displaystyle mathbb Y U 1D550 𝕐U 1D56A 𝕪Z displaystyle mathbb Z U 2124 ℤ aethnestkhxngcanwnetm tw Z macakphasaeyxrmnkhawa Zahlen aeplwa canwn aelakhawa zahlen aeplwa nb U 1D56B 𝕫U 213E ℾU 213D ℽU 213F ℿU 213C ℼU 2140 U 1D7D8 𝟘U 1D7D9 𝟙 in set theory mkichaethn khxng hruxbangkhrngaethn identity matrix in samarthichaethn fngkchnbngchi idechnkn aela aelaaethn hrux identity matrix U 1D7DA 𝟚 in mkichaethn interval category U 1D7DB 𝟛U 1D7DC 𝟜U 1D7DD 𝟝U 1D7DE 𝟞U 1D7DF 𝟟U 1D7E0 𝟠U 1D7E1 𝟡 nxkcakni twhnakradandakhxngxksrkrik miw imphbinyuniokhd kichepnkhrngkhrawodynkthvsdicanwnaelankerkhakhnitechingphichkhnit odymitwxksr n hxyiw ephuxkahndkrup hruxthacaihechphaaecaacngkhunkhux Group scheme khxng Root of unity thi nxangxingGoogle Groups Milne James S 1980 Etale cohomology Princeton University Press p xiii