บทความนี้ไม่มีจาก |
กรุป (อังกฤษ: group) ในพีชคณิตนามธรรม คือ เซตกับการดำเนินการทวิภาค เช่น การคูณหรือการบวก ซึ่งสอดคล้องกับสัจพจน์ชุดหนึ่งซึ่งเรียกว่าสัจพจน์ของกรุป ตัวอย่างของกรุปที่ง่ายที่สุดคือ เซตของจำนวนเต็มภายใต้การบวกปรกติ ซึ่งเป็นกรุปแบบหนึ่ง สาขาของคณิตที่ศึกษาเกี่ยวกับกรุปโดยเฉพาะเรียกว่า ทฤษฎีกรุป แต่กรุปยังปรากฏในสาขาอื่น ๆ ทั้งในคณิตศาสตร์สาขาอื่น ๆ และศาสตร์อื่น ๆ นอกเหนือจากคณิตศาสตร์
กรุปเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาสมมาตรของวัตถุในรูปแบบต่าง ๆ หลักการที่ว่า "สมมาตรของวัตถุใด ๆ ก่อให้เกิดกรุป" เป็นหลักพื้นฐานของคณิตศาสตร์มากมาย ตัวอย่างโดยตรงคือ ซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งในการอธิบายสมมาตรของวัตถุเชิงเรขาคณิต กรุปสมมาตรมีสมาชิกประกอบไปด้วยการแปลง (การหมุน การพลิกรูป การสะท้อน ฯลฯ) ที่คงรูปทรงของวัตถุนั้น เป็นกรุปสมมาตรชนิดหนึ่งที่ปรากฏในแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์อนุภาค เป็นลีกรุปที่มีสมาชิกเป็นสมมาตรของกาลอวกาศในสัมพัทธภาพพิเศษ ในขณะที่สามารถอธิบายสมมาตรของโมเลกุลเคมีได้
กรุปมีจุดกำเนิดเริ่มแรกจากการศึกษาสมการเชิงพหุนาม ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1830 เอวาริสต์ กาลัวเป็นคนแรกที่ใช้คำว่า กรุป (Groupe ในภาษาฝรั่งเศส) เรียกกรุปสมมาตรของรากของพหุนาม ซึ่งปัจจุบันเราเรียกกรุปเหล่านั้นว่า ตั้งแต่นั้นมามีการศึกษากรุปจากสาขาอื่น ๆ ในคณิตศาสตร์ เช่น ทฤษฎีจำนวน และ เรขาคณิต ก่อนที่แนวความคิดเกี่ยวกับกรุปทั่ว ๆ ไปจะได้รับการนิยามในช่วงปีคริสต์ศักราชที่ 1870 ในช่วงเวลาเดียวกันกับที่คณิตศาสตร์พัฒนาไปในทิศทางที่เป็นนามธรรมขึ้นเรื่อย ๆ ทฤษฎีกรุปจึงเป็นสาขาสำคัญของพีชคณิตนามธรรม
ในปัจจุบัน ทฤษฎีกรุปสมัยใหม่ศึกษากรุปในตัวมันเอง ซึ่งนำไปสู่แนวคิดมากมาย เช่น และ นอกจากนี้นักคณิตศาสตร์ยังศึกษากรุปในมุมมองที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น และสามารถระบุได้อย่างเจาะจง การศึกษานี้นำไปสู่และ
นิยามพื้นฐาน
กรุป ประกอบด้วย เซตไม่ว่าง กับ การดำเนินการทวิภาค ซึ่งสอดคล้องกับสัจพจน์ทุกข้อต่อไปนี้
- : สำหรับทุก และ ใน จะได้ว่า
- การมีสมาชิกเอกลักษณ์: มีสมาชิก ใน ที่ทำให้สำหรับทุก ใน จะได้ว่า เรียก ว่าเป็นสมาชิกเอกลักษณ์ (identity) ของ
- : สำหรับทุก ใน , จะมีสมาชิก ใน ที่ทำให้ เมื่อ คือสมาชิกเอกลักษณ์ และเรียก ดังกล่าวว่าเป็นสมาชิกผกผันของ สามารถพิสูจน์ได้ว่า สมาชิกผกผันในกรุปจะมีได้เพียงตัวเดียว และนิยมเขียนสมาชิกผกผันของ ด้วย
บางครั้งผู้เขียนอาจกำหนดสัจพจน์ที่กรุปต้องสอดคล้องเพิ่มเติม เพื่อเน้นย้ำความเป็นการดำเนินการทวิภาคของ
- สมบัติปิด: สำหรับทุก ใน จะได้ว่า ด้วย
เมื่อเป็นที่เข้าใจ อาจละการเขียนตัวดำเนินการ และเรียกกรุป แทนด้วย แทน
ความคิดพื้นฐานในทฤษฎีกรุป
ฟังก์ชันสาทิสสัณฐานระหว่างกรุป
ระหว่างกรุป หรือ โฮโมมอร์ฟิซึมระหว่างกรุป (group homomorphism) คือฟังก์ชันที่รักษาโครงสร้างการเป็นกรุป ฟังก์ชัน ระหว่างกรุป และ จะเป็นฟังก์ชันสาทิสสัณฐานระหว่างกรุป ก็ต่อเมื่อ
สมบัติที่ได้จากนิยามข้างต้นคือ
- รักษาเอกลักษณ์ของกรุป: เมื่อ เป็นสมาชิกเอกลักษณ์ของกรุป และกรุป ตามลำดับ
- รักษาการหาผกผัน: ทุกสมาชิก
สมบัติข้างต้นเน้นย้ำว่าฟังก์ชันสาทิสสัณฐานรักษาโครงสร้างของกรุป
อันดับของกรุปและอันดับของสมาชิก
อันดับ (order) ของกรุป (นิยมเขียนแทนด้วย , หรือ ) จะหมายถึงจำนวนสมาชิกของกรุป ในกรณีที่ เป็นเซตจำกัด และจะเรียก ว่าเป็นกรุปจำกัด (Finite group) ในขณะที่ เป็นเซตอนันต์ จะเรียกว่ากรุปนั้นเป็นกรุปอนันต์ นิยมเขียนด้วย
อันดับของสมาชิก ในกรุป G คือจำนวนเต็ม n ที่น้อยที่สุดที่ทำให้ an = e โดยที่ an คือ a คูณตัวมันเอง n ครั้ง (หรือองค์ประกอบที่เหมาะสมอื่นๆ ขึ้นอยู่กับตัวดำเนินการของกรุป) ถ้าไม่มีจำนวนนับ n ดังกล่าว จะเรียกว่า a มีอันดับเป็นอนันต์
อาบีเลียนกรุป
กรุป G จะเป็น อาบีเลียนกรุป หรือ กรุปสลับที่ ถ้าการดำเนินการของกรุปมีสมบัติสลับที่ได้ นั่นคือสำหรับทุกๆ a,b ใน G จะได้ว่า a * b = b * a
คำว่า อาบีเลียน (Abelian) ตั้งขึ้นตามชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่ นักคณิตศาสตร์ชาวนอร์เวย์
กรุปวัฏจักร
กรุปวัฏจักร คือกรุปซึ่งสมาชิกของมันอาจถูกก่อกำเนิดโดยการประกอบที่ต่อเนื่องกันของการดำเนินการซึ่งนิยามโดยกรุปจะถูกใช้กับสมาชิกเดี่ยวของ กรุปนั้น สมาชิกเดี่ยวนี้เรียกว่า ตัวก่อกำเนิดหรือสมาชิกปฐมฐานของกรุปนั้น
กรุปวัฏจักรการคูณซึ่ง G เป็นกรุป และ a เป็นตัวก่อกำเนิด
กรุปวัฏจักรการบวก ตัวก่อกำเนิดเป็น a
ถ้าการประกอบที่ต่อเนื่องกันของการดำเนินการซึ่งนิยามโดยกรุปถูกใช้กับสมาชิกไม่ปฐมฐานของกรุป กรุปย่อยวัฏจักรจะถูกก่อกำเนิด อันดับของ กรุปย่อยวัฏจักรแบ่งอันดับของกรุปนั้น ดังนั้นถ้าอันดับของกรุปเป็นจำนวนเฉพาะ สมาชิกทุกตัวยกเว้นสมาชิกเอกลักษณ์จะเป็นสามชิกปฐมฐานของกรุป
ควรระลึกไว้ด้วยว่า กรุปประกอบด้วยกรุปย่อยวัฏจักรซึ่งถูกก่อกำเนิดโดยสมาชิกแต่ละตัวในกรุป อย่างไรก็ตามกรุปซึ่งประกอบขึ้นจากกรุปย่อยวัฏจักรนั้น ตัวมันเองไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นกรุปวัฏจักรเสมอไป ตัวอย่างเช่น กรุปไคลน์ไม่เป็นกรุปวัฏจักรแม้ว่าจะประกอบขึ้นมาจากกรุปวัฏจักรที่มีอันดับเป็น 2 ที่เหมือนกันสองกรุปก็ตามที
สัญกรณ์สำหรับกรุป
กรุปสามารถใช้สัญกรณ์ต่างๆ กันขึ้นอยู่กับบริบทและการดำเนินการ
- กรุปการบวก ใช้ + เพื่อแสดงถึงการบวก และเครื่องหมายลบ - แสดงถึงสมาชิกผกผัน เช่น a + (-a) = 0 ใน Z
- กรุปการคูณ ใช้ *,. หรือสัญลักษณ์ทั่วไป เพื่อแสดงถึงการคูณ และตัวยก -1 เพื่อแสดงสมาชิกผกผัน เช่น a*a-1 = 1 เป็นเรื่องธรรมดาที่จะไม่เขียน * และเขียนเป็น aa-1 แทน
- กรุปแบบฟังก์ชัน ใช้ • เพื่อแสดงการประกอบฟังก์ชัน และตัวยก -1 เพื่อแสดงสมาชิกผกผัน เช่น g • g-1 = e เป็นเรื่องทั่วไปที่จะไม่เขียน • และเขียนเป็นgg-1 แทน
การละเลยตัวดำเนินการเป็นเรื่องทั่วไปที่ยอมรับได้ และทิ้งให้ผู้อ่านรู้บริบทและการดำเนินการเอาเอง
เมื่อจะนิยามกรุป มีสัญกรณ์มาตรฐานที่ใช้วงเล็บในการนิยามกรุปและการดำเนินการของมัน ตัวอย่างเช่น (H, +) แสดงว่าเซต H เป็น กรุปภายใต้การบวก
สมาชิกเอกลักษณ์ e หรือบางครั้งก็เรียกว่า สมาขิกกลาง และบางครั้งก็ถูกแสดงโดยใช้สัญลักษณ์อืนๆ ขึ้นอยู่กับกรุปนั้นๆ :
- ในกรุปการคูณ สมาชิกเอกลักษณ์คือ 1
- ในกรุปเมทริกซ์หาตัวผกผันได้ สมาชิกเอกลักษณ์มักแทนด้วย I
- ในกรุปการบวก สมาชิกเอกลักษณ์อาจเขียนเป็น 0
- ในกรุปแบบฟังก์ชัน สมาชิกเอกลักษณ์มักใช้เป็น f0
ตัวอย่างของกรุป
อาบีเลียนกรุป : จำนวนเต็มภายใต้การบวก
กรุปที่คุ้นเคยกันก็คือกรุปของจำนวนเต็มภายใต้การบวก ให้ Z เป็นเซตของจำนวนเต็ม {..., −4, −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, 4, ...} และให้สัญลักษณ์ + แสดงการดำเนินการบวก แล้ว (Z,+) เป็นกรุป
พิสูจน์ :
- สมบัติการปิด ถ้า a และ b เป็นจำนวนเต็ม แล้ว a+b ก็เป็นจำนวนเต็ม
- สมบัติการเปลี่ยนหมู่ ถ้า a b และ c เป็นจำนวนเต็มแล้ว (a + b) + c = a + (b + c)
- สมาชิกเอกลักษณ์ 0 เป็นจำนวนเต็ม สำหรับจำนวนเต็ม a ใดๆ 0 + a = a + 0 = a
- สมาชิกผกผัน ถ้า a เป็นจำนวนเต็มแล้ว -a สอดคล้องกับกฎการผกผัน a + (−a) = (−a) + a = 0
กรุปนี้เป็นอาบีเลียนกรุปด้วยเพราะ a + b = b + a
อ้างอิง
- Mackey, George W. (1973). "Group Theory and Its Significance for Mathematics and Physics". Proceedings of the American Philosophical Society. 117 (5): 374–380. ISSN 0003-049X.
ดูเพิ่ม
- Artin, Michael (2018). Algebra ([2018 reissue] 2nd ed.). [New York, New York]. ISBN . OCLC 964502073.
- Cameron, Peter J. (2008). Introduction to algebra (2nd ed.). Oxford: Oxford University Press. ISBN . OCLC 213466141.
- Herstein, I. N. (1996). Abstract algebra (3rd ed.). Upper Saddle River, N.J.: Prentice-Hall. ISBN . OCLC 32779082.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir krup xngkvs group inphichkhnitnamthrrm khux estkbkardaeninkarthwiphakh echn karkhunhruxkarbwk sungsxdkhlxngkbscphcnchudhnungsungeriykwascphcnkhxngkrup twxyangkhxngkrupthingaythisudkhux estkhxngcanwnetmphayitkarbwkprkti sungepnkrupaebbhnung sakhakhxngkhnitthisuksaekiywkbkrupodyechphaaeriykwa thvsdikrup aetkrupyngpraktinsakhaxun thnginkhnitsastrsakhaxun aelasastrxun nxkehnuxcakkhnitsastrkarhmunhnakhxnglukbaskkhxngrubikprakxbknepnkrup eriykwa krupepnekhruxngmuxthisakhyinkarsuksasmmatrkhxngwtthuinrupaebbtang hlkkarthiwa smmatrkhxngwtthuid kxihekidkrup epnhlkphunthankhxngkhnitsastrmakmay twxyangodytrngkhux sungepnekhruxngmuxhnunginkarxthibaysmmatrkhxngwtthuechingerkhakhnit krupsmmatrmismachikprakxbipdwykaraeplng karhmun karphlikrup karsathxn l thikhngrupthrngkhxngwtthunn epnkrupsmmatrchnidhnungthipraktinaebbcalxngmatrthankhxngfisiksxnuphakh epnlikrupthimismachikepnsmmatrkhxngkalxwkasinsmphththphaphphiess inkhnathisamarthxthibaysmmatrkhxngomelkulekhmiid krupmicudkaeniderimaerkcakkarsuksasmkarechingphhunam inchwngkhristthswrrsthi 1830 exwarist kalwepnkhnaerkthiichkhawa krup Groupe inphasafrngess eriykkrupsmmatrkhxngrakkhxngphhunam sungpccubneraeriykkrupehlannwa tngaetnnmamikarsuksakrupcaksakhaxun inkhnitsastr echn thvsdicanwn aela erkhakhnit kxnthiaenwkhwamkhidekiywkbkrupthw ipcaidrbkarniyaminchwngpikhristskrachthi 1870 inchwngewlaediywknkbthikhnitsastrphthnaipinthisthangthiepnnamthrrmkhuneruxy thvsdikrupcungepnsakhasakhykhxngphichkhnitnamthrrm inpccubn thvsdikrupsmyihmsuksakrupintwmnexng sungnaipsuaenwkhidmakmay echn aela nxkcakninkkhnitsastryngsuksakrupinmummxngthiepnrupthrrmmakkhun aelasamarthrabuidxyangecaacng karsuksaninaipsuaelaniyamphunthankrup G displaystyle G ast prakxbdwy estimwang G displaystyle G kb kardaeninkarthwiphakh G G displaystyle ast colon G to G sungsxdkhlxngkbscphcnthukkhxtxipni sahrbthuk a b displaystyle a b aela c displaystyle c in G displaystyle G caidwa a b c a b c displaystyle a ast b ast c a ast b ast c karmismachikexklksn mismachik e displaystyle e in G displaystyle G thithaihsahrbthuk a displaystyle a in G displaystyle G caidwa e a a e a displaystyle e ast a a ast e a eriyk e displaystyle e waepnsmachikexklksn identity khxng G displaystyle G ast sahrbthuk a displaystyle a in G displaystyle G camismachik b displaystyle b in G displaystyle G thithaih a b b a e displaystyle a ast b b ast a e emux e displaystyle e khuxsmachikexklksn aelaeriyk b displaystyle b dngklawwaepnsmachikphkphnkhxng a displaystyle a samarthphisucnidwa smachikphkphninkrupcamiidephiyngtwediyw aelaniymekhiynsmachikphkphnkhxng a displaystyle a dwy a 1 displaystyle a 1 bangkhrngphuekhiynxackahndscphcnthikruptxngsxdkhlxngephimetim ephuxennyakhwamepnkardaeninkarthwiphakhkhxng displaystyle ast smbtipid sahrbthuk a b displaystyle a b in G displaystyle G caidwa a b G displaystyle a ast b in G dwy emuxepnthiekhaic xaclakarekhiyntwdaeninkar aelaeriykkrup G displaystyle G ast aethndwy G displaystyle G aethnkhwamkhidphunthaninthvsdikrupfngkchnsathissnthanrahwangkrup rahwangkrup hrux ohommxrfisumrahwangkrup group homomorphism khuxfngkchnthirksaokhrngsrangkarepnkrup fngkchn f G H displaystyle f colon G ast to H cdot rahwangkrup G displaystyle G ast aela H displaystyle H cdot caepnfngkchnsathissnthanrahwangkrup ktxemuxf a b f a f b displaystyle f a ast b f a cdot f b sahrbthuk a b G displaystyle a b in G smbtithiidcakniyamkhangtnkhux f displaystyle f rksaexklksnkhxngkrup f eG eH displaystyle f e G e H emux eG eH displaystyle e G e H epnsmachikexklksnkhxngkrup G displaystyle G aelakrup H displaystyle H tamladb f displaystyle f rksakarhaphkphn f a 1 f a 1 displaystyle f a 1 f a 1 thuksmachik a G displaystyle a in G smbtikhangtnennyawafngkchnsathissnthanrksaokhrngsrangkhxngkrup G displaystyle G xndbkhxngkrupaelaxndbkhxngsmachik xndb order khxngkrup G displaystyle G niymekhiynaethndwy G displaystyle left vert G right vert ord G displaystyle operatorname ord G hrux o G displaystyle o G cahmaythungcanwnsmachikkhxngkrup G displaystyle G inkrnithi G displaystyle G epnestcakd aelacaeriyk G displaystyle G waepnkrupcakd Finite group inkhnathi G displaystyle G epnestxnnt caeriykwakrupnnepnkrupxnnt niymekhiyndwy G displaystyle left vert G right vert infty xndbkhxngsmachik a displaystyle a inkrup G khuxcanwnetm n thinxythisudthithaih an e odythi an khux a khuntwmnexng n khrng hruxxngkhprakxbthiehmaasmxun khunxyukbtwdaeninkarkhxngkrup thaimmicanwnnb n dngklaw caeriykwa a mixndbepnxnnt xabieliynkrup krup G caepn xabieliynkrup hrux krupslbthi thakardaeninkarkhxngkrupmismbtislbthiid nnkhuxsahrbthuk a b in G caidwa a b b a khawa xabieliyn Abelian tngkhuntamchuxephuxepnekiyrtiaek nkkhnitsastrchawnxrewy krupwtckr krupwtckr khuxkrupsungsmachikkhxngmnxacthukkxkaenidodykarprakxbthitxenuxngknkhxngkardaeninkarsungniyamodykrupcathukichkbsmachikediywkhxng krupnn smachikediywnieriykwa twkxkaenidhruxsmachikpthmthankhxngkrupnn krupwtckrkarkhunsung G epnkrup aela a epntwkxkaenid G an n Z displaystyle G a n mid n in mathbb Z krupwtckrkarbwk twkxkaenidepn a G n a n Z displaystyle G n a mid n in mathbb Z thakarprakxbthitxenuxngknkhxngkardaeninkarsungniyamodykrupthukichkbsmachikimpthmthankhxngkrup krupyxywtckrcathukkxkaenid xndbkhxng krupyxywtckraebngxndbkhxngkrupnn dngnnthaxndbkhxngkrupepncanwnechphaa smachikthuktwykewnsmachikexklksncaepnsamchikpthmthankhxngkrup khwrralukiwdwywa krupprakxbdwykrupyxywtckrsungthukkxkaenidodysmachikaetlatwinkrup xyangirktamkrupsungprakxbkhuncakkrupyxywtckrnn twmnexngimcaepnthicatxngepnkrupwtckresmxip twxyangechn krupikhlnimepnkrupwtckraemwacaprakxbkhunmacakkrupwtckrthimixndbepn 2 thiehmuxnknsxngkrupktamthisykrnsahrbkrupkrupsamarthichsykrntang knkhunxyukbbribthaelakardaeninkar krupkarbwk ich ephuxaesdngthungkarbwk aelaekhruxnghmaylb aesdngthungsmachikphkphn echn a a 0 in Z krupkarkhun ich hruxsylksnthwip displaystyle circ ephuxaesdngthungkarkhun aelatwyk 1 ephuxaesdngsmachikphkphn echn a a 1 1 epneruxngthrrmdathicaimekhiyn aelaekhiynepn aa 1 aethn krupaebbfngkchn ich ephuxaesdngkarprakxbfngkchn aelatwyk 1 ephuxaesdngsmachikphkphn echn g g 1 e epneruxngthwipthicaimekhiyn aelaekhiynepngg 1 aethn karlaelytwdaeninkarepneruxngthwipthiyxmrbid aelathingihphuxanrubribthaelakardaeninkarexaexng emuxcaniyamkrup misykrnmatrthanthiichwngelbinkarniyamkrupaelakardaeninkarkhxngmn twxyangechn H aesdngwaest H epn krupphayitkarbwk smachikexklksn e hruxbangkhrngkeriykwa smakhikklang aelabangkhrngkthukaesdngodyichsylksnxun khunxyukbkrupnn inkrupkarkhun smachikexklksnkhux 1 inkrupemthrikshatwphkphnid smachikexklksnmkaethndwy I inkrupkarbwk smachikexklksnxacekhiynepn 0 inkrupaebbfngkchn smachikexklksnmkichepn f0twxyangkhxngkrupxabieliynkrup canwnetmphayitkarbwk krupthikhunekhyknkkhuxkrupkhxngcanwnetmphayitkarbwk ih Z epnestkhxngcanwnetm 4 3 2 1 0 1 2 3 4 aelaihsylksn aesdngkardaeninkarbwk aelw Z epnkrup phisucn smbtikarpid tha a aela b epncanwnetm aelw a b kepncanwnetm smbtikarepliynhmu tha a b aela c epncanwnetmaelw a b c a b c smachikexklksn 0 epncanwnetm sahrbcanwnetm a id 0 a a 0 a smachikphkphn tha a epncanwnetmaelw a sxdkhlxngkbkdkarphkphn a a a a 0 krupniepnxabieliynkrupdwyephraa a b b axangxingMackey George W 1973 Group Theory and Its Significance for Mathematics and Physics Proceedings of the American Philosophical Society 117 5 374 380 ISSN 0003 049X duephimArtin Michael 2018 Algebra 2018 reissue 2nd ed New York New York ISBN 978 0 13 468960 9 OCLC 964502073 Cameron Peter J 2008 Introduction to algebra 2nd ed Oxford Oxford University Press ISBN 978 0 19 156622 6 OCLC 213466141 Herstein I N 1996 Abstract algebra 3rd ed Upper Saddle River N J Prentice Hall ISBN 0 13 374562 7 OCLC 32779082 bthkhwamkhnitsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk