ซุนโจย (ป. ค.ศ. 221 – 289) มีชื่อในภาษาจีนกลางว่า สฺวิน ซฺวี่ (จีน: 荀勗 หรือ 荀勖; พินอิน: Xún Xù) ชื่อรอง กงเจิง (จีน: 公曾; พินอิน: Gōngzēng) เป็นนักดนตรี จิตรกร ขุนนาง และนักเขียนชาวจีนผู้มีชีวิตในช่วงปลายยุคสามก๊กและต้นยุคราชวงศ์จิ้นของจีน ซุนโจยเกิดใน (荀 สฺวิน) ที่ทรงอิทธิพล เป็นเหลนชายของ และเป็นญาติห่าง ๆ ฝ่ายมารดาของครอบครัวของจงฮิว (ซุนโจยเป็นหลานตาของพี่ชายหรือน้องชายของจงฮิว) ซุนโจยรับราชการในรัฐวุยก๊กในช่วงปลายยุคสามก๊กก่อนจะได้รับราชการกับราชวงศ์จิ้น
ซุนโจย (สฺวิน ซฺวี่) | |
---|---|
荀勗 / 荀勖 | |
หัวหน้าสำนักราชเลขาธิการ (尚書令 ช่างชูลิ่ง) | |
ดำรงตำแหน่ง ป. คริสต์ทศวรรษ 280 – ค.ศ. 289 | |
กษัตริย์ | สุมาเอี๋ยน |
ที่ปรึกษาผู้ใหญ่ราชสำนัก (光祿大夫 กวางลู่ต้าฟู) | |
ดำรงตำแหน่ง ?–? | |
กษัตริย์ | สุมาเอี๋ยน |
นักเขียนผู้ใหญ่ (著作 จู้จั้ว) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 266–? | |
กษัตริย์ | สุมาเอี๋ยน |
ขุนนางมหาดเล็ก (侍中 ชื่อจง) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 266–? | |
กษัตริย์ | สุมาเอี๋ยน |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 264–266 | |
กษัตริย์ | โจฮวน |
ผู้กำกับสำนักราชเลขาธิการราชวัง (中書監 จงชูเจียน) | |
ดำรงตำแหน่ง 266–? | |
กษัตริย์ | สุมาเอี๋ยน |
เจ้าพนักงานหอจดหมายเหตุ (記室 จี้ชื่อ) | |
ดำรงตำแหน่ง ?–? | |
กษัตริย์ | โจมอ / โจฮวน |
ผู้พิพากษาในสังกัดเสนาบดีตุลาการ (廷尉正 ถิงเว่ย์เจิ้ง) | |
ดำรงตำแหน่ง ?–? | |
กษัตริย์ | โจมอ / โจฮวน |
ผู้ช่วยทหารมหาดเล้ก (從事中郎 ฉงชื่อจงหลาง) | |
ดำรงตำแหน่ง ?–? | |
กษัตริย์ | โจฮอง / โจมอ |
นายอำเภออานหยาง (安陽令 อานหยางลิ่ง) | |
ดำรงตำแหน่ง ?–? | |
กษัตริย์ | โจฮอง / โจมอ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ไม่ทราบ |
เสียชีวิต | ธันวาคม ค.ศ. 289 |
บุตร |
|
บุพการี |
|
ญาติ |
|
อาชีพ | นักดนตรี, จิตรกร, ขุนนาง, นักเขียน |
ชื่อรอง | กงเจิง (公曾) |
เฉิงโหว (成侯) | |
ภูมิหลังครอบครัวและประวัติช่วงต้น
ซุนโจยเกิดใน (荀 สฺวิน) ที่มีชื่อเสียง ซึ่งมีบ้านเกิดของบรรพบุรุษอยู่ที่อำเภออิ่งอิน (潁陰縣 อิ่งอินเซี่ยน) เมือง (穎川郡 อิ่งชฺวานจฺวิ้น) ซึ่งอยู่ในนครสฺวี่ชาง มณฑลเหอหนานในปัจจุบัน ปู่ทวดของซุนโจยคือ (荀爽 สฺวิน สฺว่าง) มีตำแหน่งเป็นเสนาบดีโยธาธิการ (司空 ซือคง) ในยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก ปู่ของซุนโจยคือสฺวิน เฝ่ย์ (荀棐) รับราชการเป็นนายกองพันทหารเกาทัณฑ์ฝึกหัด (射聲校尉 เช่อเชิงเซี่ยวเว่ย์)
บิดาของซุนโจยคือสฺวิน ซี (荀肸) เสียชีวิตก่อนเวลาก่อนควร ซุนโจยจึงได้รับการเลี้ยงดูโดยจงฮิวผู้เป็นพี่ชายหรือน้องชายของตา จงฮิวมีตำแหน่งเป็นราชครู (太傅 ไท่ฟู่) ในราชสำนักของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊กของจีนหลังการสิ้นสุดของราชวงศ์ฮั่นตะวันอกก ซุนโจยในวัยเด็กเป็นคนเรียนรู้เร็วและสามารถเขียนความเรียงได้ขณะอายุเพียง 10 ปี จงฮิวเคยกล่าวว่าซุนโจยจะเติบโตขึ้นมาเป็นเหมือนซุนซองผู้ปู่ทวด
ในบรรดาญาติของซุนโจย คนที่มีชื่อเสียงมากได้แก่ซุนฮก (荀彧 สฺวิน ยฺวี่), (荀悅) และซุนฮิว (荀攸 สฺวิน โยว) ซุนฮกและซุนฮิวเป็นญาติที่อยู่ขึ้นไป 2 รุ่นจากซุนโจย ส่วนซุนฮิวเป็นญาติที่อยู่ขึ้นไป 1 รุ่นจากซุนโจย ซุนฮกและซุนฮิวเป็นรัฐบุรุษที่ทรงอิทธิพลในช่วงปลายราชวงศ์ฮั่นตะวันออกและเป็นที่ปรึกษาของขุนศึกโจโฉผู้วางรากฐานของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊ก สฺวิน เยฺว่เป็นขุนนาง นักประวัติศาสตร์ และบัณฑิตลัทธิขงจื๊อในช่วงปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออก
รับราชการกับรัฐวุยก๊ก
เมื่อซุนโจยเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ ซุนโจยก็เป็นชายหนุ่มที่คงแก่เรียนและรอบรู้แล้ว ซุนโจยสนใจในเรื่องการบริหารราชการและการเมืองจึงเริ่มรับราชการในฐานะผู้ช่วยของโจซองขุนพลผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของโจฮองจักรพรรดิลำดับที่ 3 ของวุยก๊ก ต่อมาได้ย้ายไปเป็นเลขาธิการการสื่อสารในสำนักราชเลขาธิการราชวัง ในปี ค.ศ. 249 โจซองถูกประหารชีวิตหลังเสียอำนาจในรัฐประหารที่ก่อขึ้นโดยสุมาอี้ที่เป็นผู้สำเร็จราชการร่วม ในบรรดาเหล่าอดีตผู้ช่วยของโจซองไม่มีใครกล้ารับศพของโจซองมาประกอบพิธีศพให้เพราะเกรงว่าพวกตนจะถูกพาดพิง ซุนโจยจึงรับหน้าที่เป็นผู้จัดงานศพให้โจซอง และกระตุ้นคนอื่น ๆ ให้ทำตามตน
ภายหลังซุนโจยขึ้นเป็นนายอำเภอของอำเภออานหยาง (安陽縣 อานหยางเซี่ยน) และผู้ช่วยของขุนพลทหารม้าทะยาน ระหว่างดำรงตำแหน่งในอำเภออานหยาง ซุนโจยได้รับความเคารพรักจากราษฎรในพื้นที่อย่างมากจนถึงขั้นที่ราษฎรสร้างศาลเพื่อเป็นเกียรติแก่ซุนโจย ต่อมาซุนโจยได้รับการแต่งตั้งแต่ในตำแหน่งต่อไปนี้: ผู้พิพากษาในสังกัดเสนาบดีตุลาการ (廷尉正 ถิงเว่ย์เจิ้ง), ที่ปรึกษาทัพของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สุมาเจียวผู้เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์คนที่ 3 ของตระกูลสุมา, เจ้าพนักงานหอจดหมายเหตุ (記室 จี้ชื่อ) ซุนโจยยังได้รับการตั้งให้มีบรรดาศักดิ์เป็นกวนไล่เหา (關內侯 กวานเน่ย์โหว)
ในปี ค.ศ. 260 โจมอจักรพรรดิลำดับที่ 4 ของวุยก๊กทรงพยายามก่อรัฐประหารเพื่อชิงพระราชอำนาจคืนจากผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สุมาเจียวผู้ผูกขาดอำนาจรัฐตั้งแต่ปี ค.ศ. 255 (司馬榦) ผู้เป็นน้องชายของสุมาเจียวได้ข่าวเรื่องการก่อรัฐประหารจึงพยายามจะเข้าพระราชวังเพื่อช่วยเหลือสุมาเจียวพี่ชาย แต่ซุน โย่ว (孫佑) นายทหารรักษาประตูหลักไม่ยอมให้ซือหม่า ก้านเข้า ซือหม่า ก้านจึงเข้าพระราชวังผ่านประตูอื่น เมื่อสุมาเจียวรู้สาเหตุที่ซือหม่า ก้านเข้ามาช้า จึงต้องการจะสั่งประหารชีวิตซุน โย่วและครอบครัว แต่ซุนโจยทัดทานสุมาเจียวและชี้ให้เห็นว่าเป็นการไม่ยุติธรรมที่จะลงโทษครอบครัวของซุน โย่วไปด้วย สุมาเจียวฟังคำแนะนำของซุนโจยและลงโทษเฉพาะซุน โย่วโดยการปลดจากตำแหน่งลงเป็นสามัญชน
ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น ลู่ อี๋ (路遺) นายทหารม้าขออนุญาตจากสุมาเจียวเพื่อจะแทรกซึมเข้าไปในจ๊กก๊กซึ่งเป็นรัฐอริของวุยก๊กทางตะวันตกเฉียงใต้ และจะลอบสังหารเหล่าผู้นำของจ๊กก๊ก ซุนโจยแนะนำสุมาเจียวคัดแค้นการลอบสังหารเพราะตนเห็นว่าการเอาชนะทัพจ๊กก๊กในยุทธการนั้นเป็นวิธีการที่ดีกว่าในการโน้มน้าวให้ผู้คนจ๊กก๊กยอมจำนน และเพื่อให้สุมาเจียวมีชื่อเสียงที่ดีมากยิ่งขึ้น สุมาเจียวชื่นชมซุนโจยสำหรับคำแนะนำที่ดีนี้
ในปี ค.ศ. 264 จงโฮยขุนพลวุยก๊กเริ่มก่อกบฏต่อต้านสุมาเจียวภายหลังจากการนำทัพวุยก๊กพิชิตจ๊กก๊ก ในเวลานั้น สุมาเจียวได้ยินเพียงข่าวลือเกี่ยวกับการก่อกบฏและยังไม่มีหลักฐานอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากตลอดมาสุมาเจียวปฏิบัติต่อจงโฮยเป็นอย่างดี สุมาเจียวจึงไม่เต็มใจจะเชื่อว่าจงโฮยจะก่อกบฏต่อตน หลังซุนโจยเตือนสุมาเจียวไม่ให้ไว้ใจจงโฮย สุมาเจียวจึงนำทัพไปตั้งมั่นที่เตียงอั๋น (長安 ฉางอาน) เพื่อเป็นมาตรการป้องกัน กัว อี้ (郭奕) และหวาง เชิน (王深) โน้มน้าวสุมาเจียวให้เนรเทศซุนโจยเพราะพวกตนกลัวว่าซุนโจยจะเข้าข้างจงโฮย โดยให้เหตุผลว่าเพราะซุนโจยได้รับการเลี้ยงดูโดยตระกูลจง (จงโฮยเป็นบุตชายของจงฮิว) แต่สุมาเจียวเพิกเฉยต่อคำของทั้งสอง และยังคงปฏิบัติต่อซุนโจยเช่นเดิม และถึงขนาดอนุญาตให้ซุนโจยนั่งบนรถม้าคันเดียวกับตน ก่อนหน้านี้เมื่อสุมาเจียวสั่งจงโฮยให้นำทัพวุยก๊กยกไปพิชิตจ๊กก๊ก ซุนโจยได้ตั้งให้อุยก๋วนให้กำกับดูแลการศึก ภายหลังอุยก๋วนมีบทาทสำคัญในการปราบกบฏจงโฮย หลังภูมิภาคจ๊กถูกสยบลง ซุนโจยติดตามสุมาเจียวกลับไปลกเอี๋ยง (洛陽 ลั่วหยาง) นครหลวงของวุยก๊ก ซุนโจย, หุยสิว และเอียวเก๋าได้รับมอบหมายให้กำกับดูแลคณะองคมนตรี
หลังการพิชิตจ๊กก๊ก สุมาเจียววางแผนจะพิชิตง่อก๊กที่เป็นอีกหนึ่งรัฐอริของวุยก๊ก สุมาเจียวจึงส่งทูตนำจดหมายไปถึงซุนโฮจักรพรดิง่อก๊ก ตอนแรกสุมาเจียวสั่งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาร่างจดหมายถึงที่จะส่งถึงซุนโฮ จากร่างจดหมายจำนวนมากที่สุมาเจียวอ่าน ในที่สุดสุมาเจียวก็เลือกร่างจดหมายที่เขียนโดยซุนโจย ซุนโฮทรงตกลงที่จะดำรงสันติภาพกับวุยก๊กหลังทรงอ่านจดหมาย สุมาเจียวกล่าวว่าจดหมายที่ซุนโจยเขียนมีอานุภาพเทียบเท่ากับทหาร 100,000 นาย ในช่วงกลางปี ค.ศ. 264 โจฮวนจักรพรรดิลำดับที่ 5 ของวุยก๊กทรงตั้งให้สุมาเจียวในฐานันดรศักดิ์เป็น "จีนอ๋อง" (晉王 จิ้นหวาง) ซุนโจยได้รับการแต่งตั้งเป็นขุนนางมหาดเล็ก (侍中 ชื่อจง) และมีบรรดาศักดิ์เป็นอานหยางโหว (安陽侯) และได้รับศักดินา 1,000 ครัวเรือน
รับราชการกับราชวงศ์จิ้น
หลังการเสียชีวิตของสุมาเจียวในเดือนกันยายน ค.ศ. 265 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 266 โจฮวนจักรพรรดิวุยก๊กทรงสละราชบัลลังก์ให้กับสุมาเอี๋ยนบุตรชายของสุมาเจียว ผู้ก่อตั้งราชวงศ์จิ้นแทนที่วุยก๊ก หลังสุมาเอี๋ยนขึ้นครองราชย์และเป็นที่รู้จักทางประวัติศาสตร์ในพระนามว่าจักรพรรดิจิ้นอู่ตี้ (晉武帝) พระองค์ทรงตั้งให้ซุนโจยมีบรรดาศักดิ์เป็นเป็นก๋งแห่งเมืองเจปัก (濟北郡公 จี้เป่ย์จฺวิ้นกง) แต่ซุนโจยทูลปฏิเสธการรับบรรดาศักดิ์หลังเห็นว่าเอียวเก๋าก็ปฏิเสธการรับบรรดาศักดิ์เช่นกัน แต่ซุนโจยยังคงบรรดาศักดิ์เฮา (侯 โหว) ในชื่อบรรดาศักดิ์ "เฮาแห่งเจปัก" (濟北侯 จี้เป่ย์โหว) ภายหลังซุนโจยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้กำกับสำนักราชเลขาธิการราชวัง (中書監 จงชูเจียน), ขุนนางมหาดเล็ก (侍中 ชื่อจง) และนักเขียนผู้ใหญ่ (著作 จู้จั้ว) จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนยังทรงมีรับสั่งให้ซุนโจยและกาอุ้นร่างกฎหมายของราชวงศ์จิ้น
ในช่วงต้นศักราช (咸寧; ค.ศ. 275–280) จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนยกย่องให้ซุนโจย โจเป๋า และคนอื่น ๆ เป็นกลุ่มผู้บุกเบิกของราชวงศ์จิ้น และพระราชทานเกียรติให้ได้รับการการจารึกชื่อในศาลบรรพชนของราชวงศ์จิ้น ในช่วงปี ค.ศ. 280 เมื่อองโยยขออนุญาตนำทัพไปพิชิตง่อก๊ก (รัฐสุดท้ายของยุคสามก๊ก) ซุนโจยและกาอุ้นคัดค้านอย่างหนัก แต่จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงเพิกเฉยต่อการทัดทานของทั้งคู่ และมีรับสั่งให้องโยยและคนอื่น ๆ ให้นำทัพราชวงศ์จิ้นบุกง่อก๊ก การบุกประสบความสำเร็จและนำไปสู่การรวมจีนเป็นหนึ่งภายใต้ของราชวงศ์จิ้น เมื่อจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงประเมินความดีความชอบของซุนโจยในการช่วยพระองค์ร่างพระราชโองการ พระองค์จึงทรงตั้งให้บุตรชายคนหนึ่งของซุนโจยขึ้นเป็นเฮาระดับหมู่บ้าน (亭侯 ถิงโหว) พร่้อมศักดินา 1,000 ครัวเรือน ทั้งยังพระราชทานผ้าไหม 1,000 ม้วน จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงยังตั้งให้สฺวิน เสี่ยน (荀顯) หลานปู่ของซุนโจยมีบรรดาศักดิ์เป็นอิ่งหยางถิงโหว (潁陽亭侯)
ในช่วงเวลานั้นมีการหารือกันอย่างในราชสำนักในประเด็นเรื่องการคืนบรรดาศักดิ์ให้กับเหล่าผู้สูงศักดิ์และการอนุญาตให้ปกครองในเขตศักดินาของตน เมื่อจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนตรัสถามความเห็น ซุนโจยทูลแสดงความไม่เห็นด้วยเพราะตนเห็นว่าผู้สูงศักดิ์เหล่ายังดำรงตำแหน่งว่าการด้วย จึงอาจเพิกเฉยต่ออำนาจราชสำนักเมื่อกลับไปสู่เขตศักดินาของตน ซุนโจยยังชี้ให้เห็นถึงความยุ่งยากที่อาจเกิดขึ้น เช่นการแบ่งเขตศักดินาออกเป็นเมืองและอำเภอ รวมถึงความเสี่ยงที่จะทำให้ผู้คนไม่พอใจเพราะการแบ่งเขตปกครองจะทำให้จะมีการโยกย้ายผู้อาศัยจากพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพื้นที่หนึ่ง ซุนโจยชี้ให้เห็นอีกว่าพวกตนต้องระดมทหารจากชายแดนและให้ทหารอยู่ใต้การบังคับบัญชาแบบกระจายอำนาจในเขตศักดินาต่าง ๆ เมื่อจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนตรัสถามซุนโจยให้พิจารณะความคิดเห็นของตนใหม่อีกครั้ง ซุนโจยทูลอธิบายเพิ่มเติมว่าแนวปฏิบัติที่ดีที่สุดคือการคงสถานะเดิมไว้ เนื่องจากการกำหนดเขตแดนใหม่ระหว่างเขตศักดินาอาจจไปสู่ความไม่พอใจและความไม่สงบได้หากไม่จัดการอย่างรอบคอบ ซุนโจยยังชี้ให้เห็นว่ายังมีประเด็นสำคัญอื่น ๆ อีกมากที่ควรให้ความสนใจในทันที จึงควรมุ่งเน้นที่ประเด็นเหล่านั้นก่อน จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงเห็นว่าคำแนะนำของซุนโจยมีความเหมาะสมจึงทรงปฏิบัติตาม
ในช่วงเวลานั้น ราชสำนักกำลังหารือเกี่ยวกับข้อเสนอที่จะลดจำนวนข้าราชการในแต่ละเมืองและแต่ละอำเภอลงประมาณครึ่งหนึ่ง เพื่อเพิ่มแรงงานสำหรับงานการเกษตร ซุนโจยยกตัวอย่างจากราชวงศ์ฮั่นและให้คำอธิบายขนาดยาวว่าเหตุใดตนจึงเห็นว่าการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดคือการลดขั้นตอนของระบบในการบริหารราชการ ซุนโจยชี้ให้เห็นว่าการทำเช่นนี้จะช่วยป้องการข้าราชการไม่ให้กระทำทุจริต ปรับปรุงประสิทธิภาพของการบริหารราชการ และสร้างความไว้วางใจทางสังคมมากขึ้นในหมู่มวลชน ซุนโจยมักใช้การวิเคราะห์เชิงวิจารณ๋เช่นนี้ในการประเมิค่าใช้จ่ายและผลประโยชน์ของนโนยายของราชสำนัก
ในช่วงศักราช (太康; 280–289) จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนออกพระราชโองการยกย่องซุนโจยในเรื่องความสามารถและความดีความชอบ และตรัสว่าซุนโจยมีความสามารถที่จะรับมอบหมายความรับผิดชอบที่สำคัญมากขึ้น จากนั้นพระองค์จึงทรงแต่งตั้งให้ซุนโจยเป็นที่ปรึกษาผู้ใหญ่ราชสำนัก (光祿大夫 กวางลู่ต้าฟู) ให้ปฏิบัติต่อซุนโจยเทียบเท่าเสนาบดีระดับซันกง (三公) รวมถึงอนุญาตให้ซุนโจยมำสำนักบริหารของตนเอง นอกเหนือจากตำแหน่งจากตำแหน่งที่มีอยู่แล้วคือตำแหน่งผู้กำกับสำนักราชเลขาธิการราชวัง (中書監 จงชูเจียน) และขุนนางมหาดเล็ก (侍中 ชื่อจง) ในช่วงเวลานั้น กาอุ้นและ (李胤) เสียชีวิตไปแล้ว และตำแหน่งราชครูประจำองค์รัชทายาท (太子太傅 ไท่จื่อไท่ฟู่) ก็ว่างลง ซุนโจยเขียนฎีกาถวายจักรพรรดิสุมาเอี๋ยน เสนอชื่อ (楊珧) ให้เป็นราชครูประจำองค์รัชทายาท และเสนอชื่ออุยก๋วนหรือ (山濤) ให้เป็น (司徒 ซือถู) คนใหม่ จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงยอมรับข้อเสนอนี้ของซุนโจย
ในฤดูใบไม้ร่วงของปีถัดมา เกิดน้ำท่วมใหญ่ในหลายเมือง โดยมณฑลกุนจิ๋วได้รับผลกระทบหนักที่สุด ซุนโจยเขียนฎีกาถวายจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนและทูลเสนอให้ตนก่อตั้งสำนักดูแลการชลประทาน (都水使者 ตูฉุยฉือเจ่อ) เพื่อรับมือกับน้ำท่วมในอนาคต ต่อมาในอีกวาระหนึ่ง ซุนโจยแต่งตั้งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาคืออิ่น เซี่ยน (伊羨) และเจ้า เสียน (趙咸) เป็นข้าราชบริพาร (舍人 เฉ่อเหริน) และมอบหมายให้ร่างกฎหมาย เมื่อจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนตรัสถามว่าเหตุใดจึงทำเช่นนั้น ซุนโจยจึงทูลอธิบายถึงความสำคัญของการมอบหมายความรับผิดชอบให้เหล่าผู้ใต้บังคับบัญชา ซุนโจยยังชี้ให้เห็นด้วยว่าเหตุใดตนถึงเห็นว่าการมีข้าราชการที่มีหน้าที่มุ่งเน้นเพียงการร่างกฎหมายเพียงอย่างเดียวเป็นเรื่องซ้ำซ้อน เนื่องจากหน้าที่ของข้าราชการเหล่านี้ทับซ้อนกับหน้าที่ของข้าราชการคนอื่น ๆ ดังนั้นจึงควรมอบหมายความรับผิดชอบเพิ่มเติมให้เหล่าข้าราชการที่มีหน้าที่อยู่แล้วจะเป็นการดีกว่า
ซุนโจยระมัดระวังและรอบคอบในพฤติกรรมของตน เมื่อใดก็ตามที่มีการประกาศเปลี่ยนแปลงนโยบาย หากซุนโจยมีบทบาทสำคัญในการวิ่งเต้นเพื่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ซุนโจยก็จะเก็บงำความเกี่ยวข้องของตนไว้เป็นความลับ สฺวิน เหลียง (荀良) ญาติคนหนึ่งของซุนโจยแนะนำซุนโจยให้บอกถึงความดีที่ตนทำให้คนอื่นได้รู้ เพื่อให้ได้รับความเคารพนับถือมากยิ่งขึ้น อู๋ ถ่ง (武統) บุตรเขยของซุนโจยก็โน้มน้าวซุนโจยให้ดึงดูดผู้คนมาสนับสนุน แต่ซุนโจยปฏิเสธที่จะฟังคำแนะนำของทั้งคู่ และเตือนเหล่าบุตรชายไม่ให้สร้างอิทธิพลทางการเมืองของตนเองและลืมฐานะของตนในฐานะข้าบริพารของจักรพรรดิ ต่อมาจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงเลื่อนตำแหน่งให้ซุนโจยเป็นหัวหน้าสำนักราชเลขาธิการ (尚書令 ช่างชูลิ่ง)
ซุนโจยดำรงตำแหน่งเป็นผู้กำกับสำนักราชเลขาธิการราชวังมาเป็นเวลายาวนานและสามารถเข้าถึงความลับของรัฐได้ หลังซุนโจยได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าสำนักราชเลขาธิการ ซุนโจยก็รู้สึกไม่พอใจและไม่เป็นสุข เมื่อมีบางคมาแสดงความยินดีที่ซุนโจยได้รับตำแหน่งใหม่ ซุนโจยก็แสดงความรู้สึกโกรธที่เสียตำแหน่งก่อนหน้าไป เมื่อซุนโจยมารับตำแหน่งหัวหน้าสำนักราชเลขาธิการ ซุนโจยประเมินผู้ใต้บังคับบัญชาตามผลการปฏิบัติงานและไล่ออกผู้ที่ไม่สามารถทำงานตามที่ตนคาดหวัง จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนเคยตรัสกับซุนโจยว่าพระองค์หวังว่าซุนโจยจะเรียนรู้จากซุนฮกและซุนฮิวโดยการเลื่อนตำแหน่งให้ข้าราชการที่สมควร และปลดข้าราชการที่ทุจริตออก ไม่กี่เดือนต่อมาหลังซุนโจยรับตำแหน่งใหม่ มารดาของซุนโจยเสียชีวิต ซุนโจยจึงลาออกจากราชการและต้องการกลับไปบ้านไปไว้ทุกข์ แต่จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงไม่อนุญาตให้ซุนโจยกลับไปบ้าน และทรงส่งโจว ฮุย (周恢) ไปประกาศพระราชโองการสั่งให้ซุนโจยกลับไปปฏิบัติงานในตำแหน่ง
ความเกี่ยวข้องกับกาอุ้น, เจี่ย หนานเฟิง และซือหม่า จง
เมื่อจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงต้องการตั้งให้กาอุ้น (賈充 เจี่ย ชง) ไปรักษาภูมิภาค (關中 กวานจง) ซุนโจยบอกกับ (馮紞) เพื่อนขุนนางว่าสถานะของพวกตนในราชสำนักขึ้นอยู่กับว่ากาอุ้นอยู่ในราชสำนักหรือไม่ พวกตนจึงควรทูลทัดทานจักรพรรดิไม่ให้ส่งกาอุ้นออกไปนอกนครหลวงลกเอี๋ยง ซุนโจยคิดจะทูลโน้มน้าวจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนให้จัดงานสมรสระหว่างรัชทายาทซือหม่า จง (司馬衷) กับเจี่ย หนานเฟิง (賈南風) บุตรสาวของกาอุ้น ด้วยวิธีการนี้ กาอุ้นที่เป็นพระสัสสุระ (พ่อตา) ของรัชทายาทจะต้องยังอยู่ในลกเอี๋ยงต่อไป จากนั้นซุนโจยและเฝิง ต่านจึงร้องเพลงยกย่องบุตรสาวของกาอุ้นต่อหน้าจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนและพยายามทูลโน้มน้าวพระองค์ให้จัดงานสมรส ข้าราชการหลายคนรู้สึกรังเกียจพฤติกรรมประจบสอพลอของซุนโจยและเรียกซุนโจยว่าเป็นคนสอพลอ
จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงทราบว่าซือหม่า จงมี จึงทรงกังวลว่าพระโอรสของพระองค์จะนำภัยพิบัติมาสู่ราชวงศ์จิ้น พะองค์จึงทรงมีรับสั่งให้ซุนโจยและเหอ เจี้ยว (和嶠) ให้สังเกตและประเมินซือหม่า จง ซุนโจยยกย่องซือหม่า จงในความเป็นรัชทายาทที่ทรงคุณธรรม ส่วนเหอ เจี้ยวทูลว่าซือหม่า จงทรงเป็นเหมือนแต่ก่อน เหอ เจี้ยวได้รับความนับถือเพราะทูลความจริงอย่างตรงไปตรงมาเกี่ยวกับซือหม่า จง ในขณะที่ซุนโจยถูกเยาะเย้ยว่าทูลความเท็จเพื่อเอาพระทัยจักรพรรดิ
ในอีกวาระหนึ่ง เมื่อจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงมีพระประสงค์จะปลดเจี่ย หนานเฟิงจากตำแหน่งพระชายาของรัชทายาท ซุนโจยและเฝิง ต่านจึงรีบไปทูลวิงวอนให้จักรพรรดิทรงพิจารณาการตัดสินพระทัยของพระองค์อีกครั้ง และในที่สุดก็ประสบความสำเร็จในการทัดทานไม่ให้พระองค์ปลดเจี่ย หนานเฟิง ผู้คนหลายคนเชื่อว่าซุนโจยอาจนำมาซึ่งการล่มสลายของราชวงศ์จิ้น และเปรียบซุนโจยในเชิงลบกับซุนจู (孫資 ซุน จือ) และ (劉放 หลิว ฟ่าง) ซึ่งถูกมองว่าเป็นต้นเหตุของการล่มสลายของวุยก๊ก
ผลงานอื่น ๆ และเกร็ดประวัติ
ซุนโจยเป็นผู้รับผิดชอบการประพันธ์ดนตรี บทเพลงบางเพลงที่ซุนโจยประพันธ์ได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ซุนโจยเคยได้ยินเสียงของและคิดจะใช้กระดิ่งวัวเป็นเครื่องดนตรีเพื่อปรับแต่งบทเพลงให้ไพเราะยิ่งขึ้น
เมื่อซุนโจยดำรงตำแหน่งเป็นผู้กำกับห้องสมุดหลวง (秘書監 มี่ชูเจียน) จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนยังทรงมอบหมายให้ซุนโจยและ (張華) ให้จัดรายการสิ่งสะสมในห้องสมุดหลวงให้เป็นหมวดหมู่เหมือนเปี๋ยลู่ (別錄) ของ (劉向) เมื่อมีม้วนตำราไม้ไผ่โบราณในสุสานโบราณที่เมืองจี๋ (汲郡 จี๋จฺวิ้น) ในปี ค.ศ. 279 จักรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงมอบหมายให้ซุนโจยคัดลอก จัดระเบียบ และรวบรวมตำรา ซุนโจยกระทำตามรับสั่งและจัดทำเป็นหนังสือชื่อจงจิง (中經) ซึ่งภายหลังได้เพิ่มเข้าไปในสิ่งสะสมของห้องสมุดหลวง
ซุนโจยจัดตั้งสำนักศึกษาขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้การเขียนอักษรวิจิตรในรูปแบบของจงฮิวและ (胡昭)
ครั้งหนึ่ง ระหว่างซุนโจยอยู่ในงานเลี้ยงของจักรพรรดิสุมาเอี๋ยน ซุนโจยบอกกับทุกคนว่าอาหารที่พวกตนกำลังรับประทานอยู่นั้นปรุงขึ้นด้วยไฟจากไม้ซึ่งผ่าน "ความยากลำบาก" มามากมาย ทุกคนไม่เชื่อคำของซุนโจย จักรพรรดิจึงมีรับสั่งให้เรียกตัวหัวหน้าคนครัวมาสอบถาม คนครัวทูลว่าตนใช้ไม้ของล้อรถม้าเก่าในการก่อไฟ ดังนั้นซุนโจยจึงพูดถูก คนทั้งหลายประทับใจในสติปัญญาของซุนโจย
การเสียชีวิตและคำวิจารณ์
ซุนโจยเสียชีวิตในช่วงปลายปี ค.ศ. 289 ในช่วงศักราช (太康; 280–289) ในรัชสมัยของจักรพรรดิสุมาเอี๋ยน จักรพรรดิทรงแต่งตั้งย้อนหลังให้ซุนโจยเป็นเสนาบดีมหาดไทย (司徒 ซือถู) และพระราชทานว่า "เฉิงโหว" (成侯) นอกจากนี้ยังพระราชทานจำนวนหนึ่งจากพระคลัง, ชุดข้าราชการ, เหริญเงิน 500,000 เหรียญ และผ้าไหม 100 ม้วนให้กับครอบครัวของซุนโจย พระองค์ยังทรงส่งราชเลขานุการ (御史 ยฺวี่ฉื่อ) เป็นผู้แทนพระองค์เข้าร่วมพิธีศพของซุนโจย
ซุนโจยทำหน้าที่ในคณะองคมนตรีและรับผิดชอบเกี่ยวกับราชการลับเป็นเวลายาวนาน ซุนโจยไม่เป็นเพียงนักเขียนผู้มีความสามารถเท่านั้น แต่ยังเป็นนักคิดที่ลึกซึ้งผู้เข้าใจสถานะของตนในฐานะข้ารับใช้ของเจ้านายเป็นอย่างดี ซุนโจยรู้ว่าเจ้านายคาดหวังอะไรจากตน และปรับพฤติกรรมเพื่อเอาใจเจ้านาย นั่นเป็นเหตุผลที่ซุนโจยคงความโปรดปรานของจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนไว้ได้และใช้ชีวิตอย่างสุขสบายจนกระทั่งเสียชีวิต
ครอบครัว
ซุนโจยมีบุตรชาย 10 คน บุตรชายที่มีชื่อเสียงได้แก่ สฺวิน จี๋ (荀輯), สฺวิน ฟาน (荀籓) และสฺวิน จู่ (荀組) สฺวิน จี๋สืบทอดบรรดาศักดิ์ของบิดาและรับราชการในราชสำนักราชวงศ์จิ้น โดยมีตำแหน่งสูงสุดเป็นเสนาบดีราชองครักษ์ (衛尉 เว่ย์เว๋ย์) ได้รับหลังเสียชีวิตว่า "เจี่ยนโหว" (簡侯) สฺวิน จฺวิ้น (荀畯) บุตรชายของสฺวิน จี๋สืบทอดบรรดาศักดิ์และได้รับสมัญญานามหลังเสียชีวิตว่า "เลี่ยโหว" (烈侯) สฺวิน จฺวิ้นไม่มีบุตรชายเป็นทายาท บรรดาศักดิ์จึงตกทอดไปยังสฺวิน ฉือ (荀識) ผู้เป็นหลานอา
สฺวิน จี๋มีบุตรชายอีกคนคือสฺวิน ชั่ว (荀綽) ชื่อรอง เยี่ยนชู (彥舒) สฺวิน ชั่วมีชื่อเสียงในด้านความสามารถทางวรรณกรรมและเขียนจิ้นโฮ่วชู (晉後書; พงศาวดารราชวงศ์จิ้นเล่มหลัง) 15 บท ในช่วงปลายศักราชหย่งเจีย (永嘉; ค.ศ. 307–313) ในรัชสมัยของจักรพรรดิจิ้นหฺวายตี้ สฺวิน ชั่วดำรงตำแหน่งเป็นผู้ช่วยทหารมหาดเล็ก (從事中郎 ฉงชื่อจงหลาง) ใต้สังกัดของเสนาบดีโยธาธิการ (司空 ซือคง) สฺวิน ชั่วถูกจับกุมโดย (石勒) เมื่อฉือ เลย์ก่อกบฏต่อราชวงศ์จิ้น และสฺวิน ชั่วก็กลายเป็นที่ปรึกษาทัพของฉือ เลย์
ซุนโจยมีบุตรสาวอย่างน้อย 1 คนซึ่งสมรสกับอู๋ ถ่ง (武統)
หลานปู่คนหนึ่งของซุนโจยคือสฺวิน เสี่ยน (荀顯) ได้รับการแต่งตั้งจากจักรพรรดิสุมาเอี๋ยนให้มีบรรดาศักดิ์อิ่งหยางถิงโหว (潁陽亭侯)
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
- แม้ว่าปีเกิดของซุนโจยไม่มีการบันทึกไว้ ในบทชีวประวัติของซุนโจยระบุว่าซุนโอยได้รับการเลี้ยงดูจากจงฮิว และจงฮิวยังมีชีวิตอยู่เมื่อซุนโจยอายุประมาณ 10 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) เนื่องจากจงฮิวเสียขีวิตในปี ค.ศ. 230 ปีเกิดของซุนโจยจึงควรอยู่ในปี ค.ศ. 221 หรือก่อนหน้านั้น
- ทั้งบทพระราชประวัติสุมาเอี๋ยนในจิ้นชูและในจือจื้อทงเจี้ยนเล่มที่ 82 ระบุว่าซุนโจยเสียชีวิตในวันปิ่งเฉิน (丙辰) ของเดือน 11 ในศักราชไท่คาง (太康) ปีที่ 10 อย่างไรก็ตาม ไม่มีวันปิ่งเฉินในเดือนนั้น ช่วงเดือนนั้นเทียบได้กับช่วงเวลาระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายนถึง 28 ธันวาคม ค.ศ. 289 ในปฏิทินจูเลียน
- จิ้นชูระบุว่าซุนโจยได้รับบรรดาศักดิ์เป็นอานหยางจื่อ (安陽子) แต่เป็นไปได้ว่าน่าจะบันทึกผิดพลาด เพราะเดิมซุนโจยมีบรรดาศักดิ์เป็นกวนไล่เหา (關內侯 กวานเน่ย์โหว) มาก่อนอยู่แล้ว หากซุนโจยได้รับการแต่งตั้งให้มีบรรดาศักดิ์จื่อ ก็จะกลายเป็นการ "ลดขั้น" จากบรรดาศักดิ์เดิม นอกจากนี้ในยุตราชวงศ์จิ้น จักรรพรรดิสุมาเอี๋ยนทรงตั้งให้หลานปู่ของซุนโจยมีบรรดาศักดิ์เป็นเฮาระดับหมู่บ้าน (亭侯 ถิงโหว) ซึ่งมีระดับสูงกว่าบรรดาศักดิ์จื่อ จึงไม่สมเหตุสมผลที่จักรพรรดิจะต้องให้หลานชายมีบรรดาศักดิ์สูงกว่าปู่
อ้างอิง
- ("ขณะนั้นฝ่ายซุนโจยจึงว่า อันเมืองเสฉวนทุกวันนี้ พระเจ้าเล่าเสี้ยนมีใจหลงรักผู้หญิงแลเสพย์สุรามิได้ขาด เชื่อถือถ้อยคำอ้ายฮุยโฮซึ่งเปนขันทีคนหนึ่ง บัดนี้ขุนนางซึ่งมีสติปัญญาในเมืองเสฉวนนั้นมีความน้อยใจต่างคนต่างเอาตัวออกหาก ซึ่งเกียงอุยมาตั้งค่ายอยู่ตำบลหลงเสก็หวังจะให้พ้นอันตราย ขอท่านจงเร่งให้ยกทหารไปตีเอาเมืองเสฉวนเถิดเห็นจะได้โดยง่าย สุมาเจียวก็ดีใจหัวเราะแล้วจึงว่า ซึ่งท่านคิดเราก็เห็นชอบด้วย อันน้ำใจเราคิดจะไปตีเอาเมืองเสฉวนช้านานอยู่แล้ว แลบัดนี้ท่านจะเห็นผู้ใดเปนแม่ทัพคุมทหารไปตีเมืองเสฉวนได้ ซุนโจยจึงว่า ข้าพเจ้าเห็นเตงงายประกอบด้วยความคิดมาก ขอท่านจงตั้งเตงงายเปนปลัดทัพ ตั้งจงโฮยให้เปนแม่ทัพยกไป เห็นจะตีเมืองเสฉวนได้") "สามก๊ก ตอนที่ ๘๕". วัชรญาณ. สืบค้นเมื่อ November 5, 2024.
- Goodman, Howard L.; Lien, Y. Edmund (April 2009). "A Third Century AD Chinese System of Di-Flute Temperament: Matching Ancient Pitch-Standards and Confronting Modal Practice". . Galpin Society. 62: 3–24. JSTOR 20753625.
- (太康十年卒,詔贈司徒,賜東園秘器、朝服一具、錢五十萬、布百匹。遣兼御史持節護喪,諡曰成。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (十一月,丙辰,尚書令濟北成侯荀勗卒。) จือจื้อทงเจี้ยน เล่มที่ 82.
- (荀勖,字公曾,潁川潁陰人,漢司空爽曾孫也。祖棐,射聲校尉。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (父肸,早亡。勖依於舅氏。岐嶷夙成,年十餘歲能屬文。從外祖魏太傅鐘繇曰:「此兒當及其曾祖。」) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (既長,遂博學,達於從政。仕魏,辟大將軍曹爽掾,遷中書通事郎。爽誅,門生故吏無敢往者,勖獨臨赴,眾乃從之。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (為安陽令,轉驃騎從事中郎。勖有遺愛,安陽生為立祠。遷廷尉正,參文帝大將軍軍事,賜爵關內侯,轉從事中郎,領記室。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (高貴鄉公欲為變時,大將軍掾孫佑等守閶闔門。帝弟安陽侯幹聞難欲入,佑謂幹曰:「未有入者,可從東掖門。」及幹至,帝遲之,幹以狀白,帝欲族誅佑。勖諫曰:「孫佑不納安陽,誠宜深責。然事有逆順,用刑不可以喜怒為輕重。今成倅刑止其身,佑乃族誅,恐義士私議。」乃免佑為庶人。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (時官騎路遺求為刺客入蜀,勖言於帝曰:「明公以至公宰天下,宜杖正義以伐違貳。而名以刺客除賊,非所謂刑於四海,以德服遠也。」帝稱善。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (及鐘會謀反,審問未至,而外人先告之。帝待會素厚,未之信也。勖曰:「會雖受恩,然其性未可許以見得思義,不可不速為之備。」帝即出鎮長安,主簿郭奕、參軍王深以勖是會從甥,少長舅氏,勸帝斥出之。帝不納,而使勖陪乘,待之如初。先是,勖啟「伐蜀,宜以衛瓘為監軍」。及蜀中亂,賴瓘以濟。會平,還洛,與裴秀、羊祜共管機密。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (時將發使聘吳,並遣當時文士作書與孫皓,帝用勖所作。皓既報命和親,帝謂勖曰:「君前作書,使吳思順,勝十萬之眾也。」帝即晉王位,以勖為侍中,封安陽子,邑千戶。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (武帝受禪,改封濟北郡公。勖以羊祜讓,乃固辭為侯。拜中書監,加侍中,領著作,與賈充共定律令。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (咸甯初,與石苞等並為佐命功臣,列於銘饗。及王浚表請伐吳,勖與賈充固諫不可,帝不從,而吳果滅。以專典詔命,論功封子一人為亭侯,邑一千戶,賜絹千匹。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (又封孫顯為潁陽亭侯。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (時議遣王公之國,帝以問勖,勖對曰:「諸王公已為都督,而使之國,則廢方任。又分割郡縣,人心戀本,必用嗷嗷。國皆置軍,官兵還當給國,而闕邊守。」帝重使勖思之,勖又陳曰:「如詔准古方伯選才,使軍國各隨方面為都督,誠如明旨。至於割正封疆。使親疏不同誠為佳矣。然分裂舊土,猶懼多所搖動,必使人心聰擾,思惟竊宜如前。若於事不得不時有所轉封,而不至分割土域,有所損奪者,可隨宜節度。其五等體國經遠,實不成制度。然但虛名,其於實事,略與舊郡縣鄉亭無異。若造次改奪,恐不能不以為恨。今方了其大者,以為五等可須後裁度。凡事雖有久而益善者,若臨時或有不解,亦不可忽。」帝以勖言為允,多從其意。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (時又議省州郡縣半吏以赴農功,勖議以為:「省吏不如省官,省官不如省事,省事不如清心。 ... 如其不爾,恐適惑人聽,比前行所省,皆須臾輒復,或激而滋繁,亦不可不重。」勖論議損益多此類。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (太康中詔曰:「勖明哲聰達,經識天序,有佐命之功,兼博洽之才。久典內任,著勳弘茂,詢事考言,謀猷允誠。宜登大位,毗贊朝政。今以勖為光祿大夫、儀同三司、開府辟召,守中書監、侍中、侯如故。」時太尉賈充、司徒李胤並薨,太子太傅又缺,勖表陳:「三公保傅,宜得其人。若使楊珧參輔東宮,必當仰稱聖意。尚書令衛瓘、吏部尚書山濤皆可為司徒。若以瓘新為令未出者,濤即其人。」帝並從之。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (明年秋,諸州郡大水,兗土尤甚。勖陳宜立都水使者。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (其後門下啟通事令史伊羨、趙咸為舍人,對掌文法。詔以問勖,勖曰:今天下幸賴陛下聖德,六合為一,望道化隆洽,垂之將來。而門下上稱程咸、張惲,下稱此等,欲以文法為政,皆愚臣所未達者。昔張釋之諫漢文,謂獸圈嗇夫不宜見用;邴吉住車,明調和陰陽之本。此二人豈不知小吏之惠,誠重惜大化也。昔魏武帝使中軍司荀攸典刑獄,明帝時猶以付內常侍。以臣所聞,明帝時唯有通事劉泰等官,不過與殿中同號耳。又頃言論者皆雲省官減事,而求益吏者相尋矣。多雲尚書郎太令史不親文書,乃委付書令史及幹,誠吏多則相倚也。增置文法之職,適恐更耗擾台閣,臣竊謂不可。」) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (然性慎密,每有詔令大事,雖已宣佈,然終不言,不欲使人知己豫聞也。) จิ้นชู เล่ม 39.
- (族弟良曾勸勖曰:「公大失物情,有所進益者自可語之,則懷恩多矣。」) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (其婿武統亦說勖「宜有所營置,令有歸戴者」。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (勖並默然不應,退而語諸子曰:「人臣不密則失身,樹私則背公,是大戒也。汝等亦當宦達人間,宜識吾此意。」) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (久之,以勖守尚書令。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (勖久在中書,專管機事。及失之,甚罔罔悵恨。或有賀之者,勖曰:「奪我鳳皇池,諸君賀我邪!」及在尚書,課試令史以下,核其才能,有暗於文法,不能決疑處事者,即時遣出。帝嘗謂曰:「魏武帝言'荀文若之進善,不進不止;荀公達之退惡,不退不休'。二令君之美,亦望於君也。」居職月餘,以母憂上還印綬,帝不許。遣常侍周恢喻旨,勖乃奉詔視職。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (充將鎮關右也,勖謂馮紞曰:「賈公遠放,吾等失勢。太子婚尚未定,若使充女得為妃,則不留而自停矣。」勖與紞伺帝間並稱「充女才色絕世,若納東宮,必能輔佐君子,有《關雎》后妃之德。」遂成婚。當時甚為正直者所疾,而獲佞媚之譏焉。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (時帝素知太子暗弱,恐後亂國,遣勖及和嶠往觀之。勖還盛稱太子之德,而嶠雲太子如初。於是天下貴嶠而賤勖。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (帝將廢賈妃,勖與馮紞等諫請,故得不廢。時議以勖傾國害時,孫資、劉放之匹。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (既掌樂事,又修律呂,並行於世。初,勖於路逢趙賈人牛鐸,識其聲。及掌樂,音韻未調,乃曰:「得趙之牛鐸則諧矣。」遂下郡國,悉送牛鐸,果得諧者。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (俄領秘書監,與中書令張華依劉向《別錄》,整理記籍。 ... 及得汲郡塚中古文竹書,詔勖撰次之,以為《中經》,列在秘書。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (又立書博士,置弟子教習,以鐘、胡為法。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (又嘗在帝坐進飯,謂在坐人曰:「此是勞薪所炊。」咸未之信。帝遣問膳夫,乃云:「實用故車腳。」舉世伏其明識。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (勖久管機密,有才思,探得人主微旨,不犯顏忤爭,故得始終全其寵祿。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (勖有十子,其達者輯、籓、組。輯嗣,官至衛尉。卒,諡曰簡。子畯嗣。卒,諡曰烈。無嫡子,以弟息識為嗣。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
- (輯子綽。綽字彥舒,博學有才能,撰《晉後書》十五篇,傳於世。永嘉末,為司空從事中郎,沒於石勒,為勒參軍。) จิ้นชู เล่มที่ 39.
บรรณานุกรม
- (648). จิ้นชู.
- ซือหม่า กวาง (1084). จือจื้อทงเจี้ยน.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sunocy p kh s 221 289 michuxinphasacinklangwa s win s wi cin 荀勗 hrux 荀勖 phinxin Xun Xu chuxrxng kngecing cin 公曾 phinxin Gōngzeng epnnkdntri citrkr khunnang aelankekhiynchawcinphumichiwitinchwngplayyukhsamkkaelatnyukhrachwngscinkhxngcin sunocyekidin 荀 s win thithrngxiththiphl epnehlnchaykhxng aelaepnyatihang faymardakhxngkhrxbkhrwkhxngcnghiw sunocyepnhlantakhxngphichayhruxnxngchaykhxngcnghiw sunocyrbrachkarinrthwuykkinchwngplayyukhsamkkkxncaidrbrachkarkbrachwngscinsunocy s win s wi 荀勗 荀勖hwhnasankrachelkhathikar 尚書令 changchuling darngtaaehnng p khristthswrrs 280 kh s 289 289 kstriysumaexiynthipruksaphuihyrachsank 光祿大夫 kwanglutafu darngtaaehnng kstriysumaexiynnkekhiynphuihy 著作 cucw darngtaaehnng kh s 266 kstriysumaexiynkhunnangmhadelk 侍中 chuxcng darngtaaehnng kh s 266 kstriysumaexiyndarngtaaehnng kh s 264 266kstriyochwnphukakbsankrachelkhathikarrachwng 中書監 cngchueciyn darngtaaehnng 266 kstriysumaexiynecaphnknganhxcdhmayehtu 記室 cichux darngtaaehnng kstriyocmx ochwnphuphiphaksainsngkdesnabditulakar 廷尉正 thingewyecing darngtaaehnng kstriyocmx ochwnphuchwythharmhadelk 從事中郎 chngchuxcnghlang darngtaaehnng kstriyochxng ocmxnayxaephxxanhyang 安陽令 xanhyangling darngtaaehnng kstriyochxng ocmxkhxmulswnbukhkhlekidimthrabesiychiwitthnwakhm kh s 289butrs win cis win fans win cubutrchayimpraktchuxxik 2 khnaelabutrsawimpraktchux 1 khnbuphkaris win si bida hlanlunghruxhlannakhxngcnghiw marda yaticnghiw phichayhruxnxngchaykhxngta duxachiphnkdntri citrkr khunnang nkekhiynchuxrxngkngecing 公曾 echingohw 成侯 phumihlngkhrxbkhrwaelaprawtichwngtnsunocyekidin 荀 s win thimichuxesiyng sungmibanekidkhxngbrrphburusxyuthixaephxxingxin 潁陰縣 xingxinesiyn emuxng 穎川郡 xingch wanc win sungxyuinnkhrs wichang mnthlehxhnaninpccubn puthwdkhxngsunocykhux 荀爽 s win s wang mitaaehnngepnesnabdioythathikar 司空 suxkhng inyukhrachwngshntawnxxk pukhxngsunocykhuxs win efy 荀棐 rbrachkarepnnaykxngphnthharekathnthfukhd 射聲校尉 echxechingesiywewy bidakhxngsunocykhuxs win si 荀肸 esiychiwitkxnewlakxnkhwr sunocycungidrbkareliyngduodycnghiwphuepnphichayhruxnxngchaykhxngta cnghiwmitaaehnngepnrachkhru 太傅 ithfu inrachsankkhxngrthwuykkinyukhsamkkkhxngcinhlngkarsinsudkhxngrachwngshntawnxkk sunocyinwyedkepnkhneriynruerwaelasamarthekhiynkhwameriyngidkhnaxayuephiyng 10 pi cnghiwekhyklawwasunocycaetibotkhunmaepnehmuxnsunsxngphuputhwd inbrrdayatikhxngsunocy khnthimichuxesiyngmakidaeksunhk 荀彧 s win y wi 荀悅 aelasunhiw 荀攸 s win oyw sunhkaelasunhiwepnyatithixyukhunip 2 runcaksunocy swnsunhiwepnyatithixyukhunip 1 runcaksunocy sunhkaelasunhiwepnrthburusthithrngxiththiphlinchwngplayrachwngshntawnxxkaelaepnthipruksakhxngkhunsukocochphuwangrakthankhxngrthwuykkinyukhsamkk s win ey wepnkhunnang nkprawtisastr aelabnthitlththikhngcuxinchwngplayyukhrachwngshntawnxxkrbrachkarkbrthwuykkemuxsunocyekhasuwyphuihy sunocykepnchayhnumthikhngaekeriynaelarxbruaelw sunocysnicineruxngkarbriharrachkaraelakaremuxngcungerimrbrachkarinthanaphuchwykhxngocsxngkhunphlphuepnphusaercrachkaraethnphraxngkhkhxngochxngckrphrrdiladbthi 3 khxngwuykk txmaidyayipepnelkhathikarkarsuxsarinsankrachelkhathikarrachwng inpi kh s 249 ocsxngthukpraharchiwithlngesiyxanacinrthpraharthikxkhunodysumaxithiepnphusaercrachkarrwm inbrrdaehlaxditphuchwykhxngocsxngimmiikhrklarbsphkhxngocsxngmaprakxbphithisphihephraaekrngwaphwktncathukphadphing sunocycungrbhnathiepnphucdngansphihocsxng aelakratunkhnxun ihthatamtn phayhlngsunocykhunepnnayxaephxkhxngxaephxxanhyang 安陽縣 xanhyangesiyn aelaphuchwykhxngkhunphlthharmathayan rahwangdarngtaaehnnginxaephxxanhyang sunocyidrbkhwamekharphrkcakrasdrinphunthixyangmakcnthungkhnthirasdrsrangsalephuxepnekiyrtiaeksunocy txmasunocyidrbkaraetngtngaetintaaehnngtxipni phuphiphaksainsngkdesnabditulakar 廷尉正 thingewyecing thipruksathphkhxngphusaercrachkaraethnphraxngkhsumaeciywphuepnphusaercrachkaraethnphraxngkhkhnthi 3 khxngtrakulsuma ecaphnknganhxcdhmayehtu 記室 cichux sunocyyngidrbkartngihmibrrdaskdiepnkwnileha 關內侯 kwanenyohw inpi kh s 260 ocmxckrphrrdiladbthi 4 khxngwuykkthrngphyayamkxrthpraharephuxchingphrarachxanackhuncakphusaercrachkaraethnphraxngkhsumaeciywphuphukkhadxanacrthtngaetpi kh s 255 司馬榦 phuepnnxngchaykhxngsumaeciywidkhaweruxngkarkxrthpraharcungphyayamcaekhaphrarachwngephuxchwyehluxsumaeciywphichay aetsun oyw 孫佑 naythharrksapratuhlkimyxmihsuxhma kanekha suxhma kancungekhaphrarachwngphanpratuxun emuxsumaeciywrusaehtuthisuxhma kanekhamacha cungtxngkarcasngpraharchiwitsun oywaelakhrxbkhrw aetsunocythdthansumaeciywaelachiihehnwaepnkarimyutithrrmthicalngothskhrxbkhrwkhxngsun oywipdwy sumaeciywfngkhaaenanakhxngsunocyaelalngothsechphaasun oywodykarpldcaktaaehnnglngepnsamychn inchwngewlaediywknnn lu xi 路遺 naythharmakhxxnuyatcaksumaeciywephuxcaaethrksumekhaipinckkksungepnrthxrikhxngwuykkthangtawntkechiyngit aelacalxbsngharehlaphunakhxngckkk sunocyaenanasumaeciywkhdaekhnkarlxbsngharephraatnehnwakarexachnathphckkkinyuththkarnnepnwithikarthidikwainkaronmnawihphukhnckkkyxmcann aelaephuxihsumaeciywmichuxesiyngthidimakyingkhun sumaeciywchunchmsunocysahrbkhaaenanathidini inpi kh s 264 cngohykhunphlwuykkerimkxkbttxtansumaeciywphayhlngcakkarnathphwuykkphichitckkk inewlann sumaeciywidyinephiyngkhawluxekiywkbkarkxkbtaelayngimmihlkthanxyangepnrupthrrm enuxngcaktlxdmasumaeciywptibtitxcngohyepnxyangdi sumaeciywcungimetmiccaechuxwacngohycakxkbttxtn hlngsunocyetuxnsumaeciywimihiwiccngohy sumaeciywcungnathphiptngmnthietiyngxn 長安 changxan ephuxepnmatrkarpxngkn kw xi 郭奕 aelahwang echin 王深 onmnawsumaeciywihenrethssunocyephraaphwktnklwwasunocycaekhakhangcngohy odyihehtuphlwaephraasunocyidrbkareliyngduodytrakulcng cngohyepnbutchaykhxngcnghiw aetsumaeciywephikechytxkhakhxngthngsxng aelayngkhngptibtitxsunocyechnedim aelathungkhnadxnuyatihsunocynngbnrthmakhnediywkbtn kxnhnaniemuxsumaeciywsngcngohyihnathphwuykkykipphichitckkk sunocyidtngihxuykwnihkakbduaelkarsuk phayhlngxuykwnmibthathsakhyinkarprabkbtcngohy hlngphumiphakhckthuksyblng sunocytidtamsumaeciywklbiplkexiyng 洛陽 lwhyang nkhrhlwngkhxngwuykk sunocy huysiw aelaexiywekaidrbmxbhmayihkakbduaelkhnaxngkhmntri hlngkarphichitckkk sumaeciywwangaephncaphichitngxkkthiepnxikhnungrthxrikhxngwuykk sumaeciywcungsngthutnacdhmayipthungsunohckrphrdingxkk txnaerksumaeciywsngihphuitbngkhbbycharangcdhmaythungthicasngthungsunoh cakrangcdhmaycanwnmakthisumaeciywxan inthisudsumaeciywkeluxkrangcdhmaythiekhiynodysunocy sunohthrngtklngthicadarngsntiphaphkbwuykkhlngthrngxancdhmay sumaeciywklawwacdhmaythisunocyekhiynmixanuphaphethiybethakbthhar 100 000 nay inchwngklangpi kh s 264 ochwnckrphrrdiladbthi 5 khxngwuykkthrngtngihsumaeciywinthanndrskdiepn cinxxng 晉王 cinhwang sunocyidrbkaraetngtngepnkhunnangmhadelk 侍中 chuxcng aelamibrrdaskdiepnxanhyangohw 安陽侯 aelaidrbskdina 1 000 khrweruxnrbrachkarkbrachwngscinhlngkaresiychiwitkhxngsumaeciywineduxnknyayn kh s 265 txmaineduxnkumphaphnth kh s 266 ochwnckrphrrdiwuykkthrngslarachbllngkihkbsumaexiynbutrchaykhxngsumaeciyw phukxtngrachwngscinaethnthiwuykk hlngsumaexiynkhunkhrxngrachyaelaepnthiruckthangprawtisastrinphranamwackrphrrdicinxuti 晉武帝 phraxngkhthrngtngihsunocymibrrdaskdiepnepnkngaehngemuxngecpk 濟北郡公 ciepyc winkng aetsunocythulptiesthkarrbbrrdaskdihlngehnwaexiywekakptiesthkarrbbrrdaskdiechnkn aetsunocyyngkhngbrrdaskdieha 侯 ohw inchuxbrrdaskdi ehaaehngecpk 濟北侯 ciepyohw phayhlngsunocyidrbkaraetngtngepnphukakbsankrachelkhathikarrachwng 中書監 cngchueciyn khunnangmhadelk 侍中 chuxcng aelankekhiynphuihy 著作 cucw ckrphrrdisumaexiynyngthrngmirbsngihsunocyaelakaxunrangkdhmaykhxngrachwngscin inchwngtnskrach 咸寧 kh s 275 280 ckrphrrdisumaexiynykyxngihsunocy ocepa aelakhnxun epnklumphubukebikkhxngrachwngscin aelaphrarachthanekiyrtiihidrbkarkarcarukchuxinsalbrrphchnkhxngrachwngscin inchwngpi kh s 280 emuxxngoyykhxxnuyatnathphipphichitngxkk rthsudthaykhxngyukhsamkk sunocyaelakaxunkhdkhanxyanghnk aetckrphrrdisumaexiynthrngephikechytxkarthdthankhxngthngkhu aelamirbsngihxngoyyaelakhnxun ihnathphrachwngscinbukngxkk karbukprasbkhwamsaercaelanaipsukarrwmcinepnhnungphayitkhxngrachwngscin emuxckrphrrdisumaexiynthrngpraeminkhwamdikhwamchxbkhxngsunocyinkarchwyphraxngkhrangphrarachoxngkar phraxngkhcungthrngtngihbutrchaykhnhnungkhxngsunocykhunepneharadbhmuban 亭侯 thingohw phrxmskdina 1 000 khrweruxn thngyngphrarachthanphaihm 1 000 mwn ckrphrrdisumaexiynthrngyngtngihs win esiyn 荀顯 hlanpukhxngsunocymibrrdaskdiepnxinghyangthingohw 潁陽亭侯 inchwngewlannmikarharuxknxyanginrachsankinpraedneruxngkarkhunbrrdaskdiihkbehlaphusungskdiaelakarxnuyatihpkkhrxnginekhtskdinakhxngtn emuxckrphrrdisumaexiyntrsthamkhwamehn sunocythulaesdngkhwamimehndwyephraatnehnwaphusungskdiehlayngdarngtaaehnngwakardwy cungxacephikechytxxanacrachsankemuxklbipsuekhtskdinakhxngtn sunocyyngchiihehnthungkhwamyungyakthixacekidkhun echnkaraebngekhtskdinaxxkepnemuxngaelaxaephx rwmthungkhwamesiyngthicathaihphukhnimphxicephraakaraebngekhtpkkhrxngcathaihcamikaroykyayphuxasycakphunthihnungipyngxikphunthihnung sunocychiihehnxikwaphwktntxngradmthharcakchayaednaelaihthharxyuitkarbngkhbbychaaebbkracayxanacinekhtskdinatang emuxckrphrrdisumaexiyntrsthamsunocyihphicarnakhwamkhidehnkhxngtnihmxikkhrng sunocythulxthibayephimetimwaaenwptibtithidithisudkhuxkarkhngsthanaedimiw enuxngcakkarkahndekhtaednihmrahwangekhtskdinaxaccipsukhwamimphxicaelakhwamimsngbidhakimcdkarxyangrxbkhxb sunocyyngchiihehnwayngmipraednsakhyxun xikmakthikhwrihkhwamsnicinthnthi cungkhwrmungennthipraednehlannkxn ckrphrrdisumaexiynthrngehnwakhaaenanakhxngsunocymikhwamehmaasmcungthrngptibtitam inchwngewlann rachsankkalngharuxekiywkbkhxesnxthicaldcanwnkharachkarinaetlaemuxngaelaaetlaxaephxlngpramankhrunghnung ephuxephimaerngngansahrbngankarekstr sunocyyktwxyangcakrachwngshnaelaihkhaxthibaykhnadyawwaehtuidtncungehnwakaraekpyhathidithisudkhuxkarldkhntxnkhxngrabbinkarbriharrachkar sunocychiihehnwakarthaechnnicachwypxngkarkharachkarimihkrathathucrit prbprungprasiththiphaphkhxngkarbriharrachkar aelasrangkhwamiwwangicthangsngkhmmakkhuninhmumwlchn sunocymkichkarwiekhraahechingwicarnechnniinkarpraemikhaichcayaelaphlpraoychnkhxngnonyaykhxngrachsank inchwngskrach 太康 280 289 ckrphrrdisumaexiynxxkphrarachoxngkarykyxngsunocyineruxngkhwamsamarthaelakhwamdikhwamchxb aelatrswasunocymikhwamsamarththicarbmxbhmaykhwamrbphidchxbthisakhymakkhun caknnphraxngkhcungthrngaetngtngihsunocyepnthipruksaphuihyrachsank 光祿大夫 kwanglutafu ihptibtitxsunocyethiybethaesnabdiradbsnkng 三公 rwmthungxnuyatihsunocymasankbriharkhxngtnexng nxkehnuxcaktaaehnngcaktaaehnngthimixyuaelwkhuxtaaehnngphukakbsankrachelkhathikarrachwng 中書監 cngchueciyn aelakhunnangmhadelk 侍中 chuxcng inchwngewlann kaxunaela 李胤 esiychiwitipaelw aelataaehnngrachkhrupracaxngkhrchthayath 太子太傅 ithcuxithfu kwanglng sunocyekhiyndikathwayckrphrrdisumaexiyn esnxchux 楊珧 ihepnrachkhrupracaxngkhrchthayath aelaesnxchuxxuykwnhrux 山濤 ihepn 司徒 suxthu khnihm ckrphrrdisumaexiynthrngyxmrbkhxesnxnikhxngsunocy invduibimrwngkhxngpithdma ekidnathwmihyinhlayemuxng odymnthlkunciwidrbphlkrathbhnkthisud sunocyekhiyndikathwayckrphrrdisumaexiynaelathulesnxihtnkxtngsankduaelkarchlprathan 都水使者 tuchuychuxecx ephuxrbmuxkbnathwminxnakht txmainxikwarahnung sunocyaetngtngihphuitbngkhbbychakhuxxin esiyn 伊羨 aelaeca esiyn 趙咸 epnkharachbriphar 舍人 echxehrin aelamxbhmayihrangkdhmay emuxckrphrrdisumaexiyntrsthamwaehtuidcungthaechnnn sunocycungthulxthibaythungkhwamsakhykhxngkarmxbhmaykhwamrbphidchxbihehlaphuitbngkhbbycha sunocyyngchiihehndwywaehtuidtnthungehnwakarmikharachkarthimihnathimungennephiyngkarrangkdhmayephiyngxyangediywepneruxngsasxn enuxngcakhnathikhxngkharachkarehlanithbsxnkbhnathikhxngkharachkarkhnxun dngnncungkhwrmxbhmaykhwamrbphidchxbephimetimihehlakharachkarthimihnathixyuaelwcaepnkardikwa sunocyramdrawngaelarxbkhxbinphvtikrrmkhxngtn emuxidktamthimikarprakasepliynaeplngnoybay haksunocymibthbathsakhyinkarwingetnephuxkarepliynaeplngnn sunocykcaekbngakhwamekiywkhxngkhxngtniwepnkhwamlb s win ehliyng 荀良 yatikhnhnungkhxngsunocyaenanasunocyihbxkthungkhwamdithitnthaihkhnxunidru ephuxihidrbkhwamekharphnbthuxmakyingkhun xu thng 武統 butrekhykhxngsunocykonmnawsunocyihdungdudphukhnmasnbsnun aetsunocyptiesththicafngkhaaenanakhxngthngkhu aelaetuxnehlabutrchayimihsrangxiththiphlthangkaremuxngkhxngtnexngaelalumthanakhxngtninthanakhabripharkhxngckrphrrdi txmackrphrrdisumaexiynthrngeluxntaaehnngihsunocyepnhwhnasankrachelkhathikar 尚書令 changchuling sunocydarngtaaehnngepnphukakbsankrachelkhathikarrachwngmaepnewlayawnanaelasamarthekhathungkhwamlbkhxngrthid hlngsunocyidrbkaraetngtngepnhwhnasankrachelkhathikar sunocykrusukimphxicaelaimepnsukh emuxmibangkhmaaesdngkhwamyindithisunocyidrbtaaehnngihm sunocykaesdngkhwamrusukokrththiesiytaaehnngkxnhnaip emuxsunocymarbtaaehnnghwhnasankrachelkhathikar sunocypraeminphuitbngkhbbychatamphlkarptibtinganaelailxxkphuthiimsamarththangantamthitnkhadhwng ckrphrrdisumaexiynekhytrskbsunocywaphraxngkhhwngwasunocycaeriynrucaksunhkaelasunhiwodykareluxntaaehnngihkharachkarthismkhwr aelapldkharachkarthithucritxxk imkieduxntxmahlngsunocyrbtaaehnngihm mardakhxngsunocyesiychiwit sunocycunglaxxkcakrachkaraelatxngkarklbipbanipiwthukkh aetckrphrrdisumaexiynthrngimxnuyatihsunocyklbipban aelathrngsngocw huy 周恢 ipprakasphrarachoxngkarsngihsunocyklbipptibtinganintaaehnngkhwamekiywkhxngkbkaxun eciy hnanefing aelasuxhma cngemuxckrphrrdisumaexiynthrngtxngkartngihkaxun 賈充 eciy chng iprksaphumiphakh 關中 kwancng sunocybxkkb 馮紞 ephuxnkhunnangwasthanakhxngphwktninrachsankkhunxyukbwakaxunxyuinrachsankhruxim phwktncungkhwrthulthdthanckrphrrdiimihsngkaxunxxkipnxknkhrhlwnglkexiyng sunocykhidcathulonmnawckrphrrdisumaexiynihcdngansmrsrahwangrchthayathsuxhma cng 司馬衷 kbeciy hnanefing 賈南風 butrsawkhxngkaxun dwywithikarni kaxunthiepnphrasssura phxta khxngrchthayathcatxngyngxyuinlkexiyngtxip caknnsunocyaelaefing tancungrxngephlngykyxngbutrsawkhxngkaxuntxhnackrphrrdisumaexiynaelaphyayamthulonmnawphraxngkhihcdngansmrs kharachkarhlaykhnrusukrngekiycphvtikrrmpracbsxphlxkhxngsunocyaelaeriyksunocywaepnkhnsxphlx ckrphrrdisumaexiynthrngthrabwasuxhma cngmi cungthrngkngwlwaphraoxrskhxngphraxngkhcanaphyphibtimasurachwngscin phaxngkhcungthrngmirbsngihsunocyaelaehx eciyw 和嶠 ihsngektaelapraeminsuxhma cng sunocyykyxngsuxhma cnginkhwamepnrchthayaththithrngkhunthrrm swnehx eciywthulwasuxhma cngthrngepnehmuxnaetkxn ehx eciywidrbkhwamnbthuxephraathulkhwamcringxyangtrngiptrngmaekiywkbsuxhma cng inkhnathisunocythukeyaaeyywathulkhwamethcephuxexaphrathyckrphrrdi inxikwarahnung emuxckrphrrdisumaexiynthrngmiphraprasngkhcapldeciy hnanefingcaktaaehnngphrachayakhxngrchthayath sunocyaelaefing tancungribipthulwingwxnihckrphrrdithrngphicarnakartdsinphrathykhxngphraxngkhxikkhrng aelainthisudkprasbkhwamsaercinkarthdthanimihphraxngkhpldeciy hnanefing phukhnhlaykhnechuxwasunocyxacnamasungkarlmslaykhxngrachwngscin aelaepriybsunocyinechinglbkbsuncu 孫資 sun cux aela 劉放 hliw fang sungthukmxngwaepntnehtukhxngkarlmslaykhxngwuykkphlnganxun aelaekrdprawtisunocyepnphurbphidchxbkarpraphnthdntri bthephlngbangephlngthisunocypraphnthidrbkhwamniymxyangkwangkhwang sunocyekhyidyinesiyngkhxngaelakhidcaichkradingwwepnekhruxngdntriephuxprbaetngbthephlngihipheraayingkhun emuxsunocydarngtaaehnngepnphukakbhxngsmudhlwng 秘書監 michueciyn ckrphrrdisumaexiynyngthrngmxbhmayihsunocyaela 張華 ihcdraykarsingsasminhxngsmudhlwngihepnhmwdhmuehmuxnepiylu 別錄 khxng 劉向 emuxmimwntaraimiphobraninsusanobranthiemuxngci 汲郡 cic win inpi kh s 279 ckrphrrdisumaexiynthrngmxbhmayihsunocykhdlxk cdraebiyb aelarwbrwmtara sunocykrathatamrbsngaelacdthaepnhnngsuxchuxcngcing 中經 sungphayhlngidephimekhaipinsingsasmkhxnghxngsmudhlwng sunocycdtngsanksuksakhunephuxihnksuksaideriynrukarekhiynxksrwicitrinrupaebbkhxngcnghiwaela 胡昭 khrnghnung rahwangsunocyxyuinnganeliyngkhxngckrphrrdisumaexiyn sunocybxkkbthukkhnwaxaharthiphwktnkalngrbprathanxyunnprungkhundwyifcakimsungphan khwamyaklabak mamakmay thukkhnimechuxkhakhxngsunocy ckrphrrdicungmirbsngiheriyktwhwhnakhnkhrwmasxbtham khnkhrwthulwatnichimkhxnglxrthmaekainkarkxif dngnnsunocycungphudthuk khnthnghlayprathbicinstipyyakhxngsunocykaresiychiwitaelakhawicarnsunocyesiychiwitinchwngplaypi kh s 289 inchwngskrach 太康 280 289 inrchsmykhxngckrphrrdisumaexiyn ckrphrrdithrngaetngtngyxnhlngihsunocyepnesnabdimhadithy 司徒 suxthu aelaphrarachthanwa echingohw 成侯 nxkcakniyngphrarachthancanwnhnungcakphrakhlng chudkharachkar ehriyengin 500 000 ehriyy aelaphaihm 100 mwnihkbkhrxbkhrwkhxngsunocy phraxngkhyngthrngsngrachelkhanukar 御史 y wichux epnphuaethnphraxngkhekharwmphithisphkhxngsunocy sunocythahnathiinkhnaxngkhmntriaelarbphidchxbekiywkbrachkarlbepnewlayawnan sunocyimepnephiyngnkekhiynphumikhwamsamarthethann aetyngepnnkkhidthiluksungphuekhaicsthanakhxngtninthanakharbichkhxngecanayepnxyangdi sunocyruwaecanaykhadhwngxaircaktn aelaprbphvtikrrmephuxexaicecanay nnepnehtuphlthisunocykhngkhwamoprdprankhxngckrphrrdisumaexiyniwidaelaichchiwitxyangsukhsbaycnkrathngesiychiwitkhrxbkhrwsunocymibutrchay 10 khn butrchaythimichuxesiyngidaek s win ci 荀輯 s win fan 荀籓 aelas win cu 荀組 s win cisubthxdbrrdaskdikhxngbidaaelarbrachkarinrachsankrachwngscin odymitaaehnngsungsudepnesnabdirachxngkhrks 衛尉 ewyewy idrbhlngesiychiwitwa eciynohw 簡侯 s win c win 荀畯 butrchaykhxngs win cisubthxdbrrdaskdiaelaidrbsmyyanamhlngesiychiwitwa eliyohw 烈侯 s win c winimmibutrchayepnthayath brrdaskdicungtkthxdipyngs win chux 荀識 phuepnhlanxa s win cimibutrchayxikkhnkhuxs win chw 荀綽 chuxrxng eyiynchu 彥舒 s win chwmichuxesiyngindankhwamsamarththangwrrnkrrmaelaekhiyncinohwchu 晉後書 phngsawdarrachwngscinelmhlng 15 bth inchwngplayskrachhyngeciy 永嘉 kh s 307 313 inrchsmykhxngckrphrrdicinh wayti s win chwdarngtaaehnngepnphuchwythharmhadelk 從事中郎 chngchuxcnghlang itsngkdkhxngesnabdioythathikar 司空 suxkhng s win chwthukcbkumody 石勒 emuxchux elykxkbttxrachwngscin aelas win chwkklayepnthipruksathphkhxngchux ely sunocymibutrsawxyangnxy 1 khnsungsmrskbxu thng 武統 hlanpukhnhnungkhxngsunocykhuxs win esiyn 荀顯 idrbkaraetngtngcakckrphrrdisumaexiynihmibrrdaskdixinghyangthingohw 潁陽亭侯 duephimraychuxbukhkhlinyukhsamkkhmayehtuaemwapiekidkhxngsunocyimmikarbnthukiw inbthchiwprawtikhxngsunocyrabuwasunoxyidrbkareliyngducakcnghiw aelacnghiwyngmichiwitxyuemuxsunocyxayupraman 10 pi tamkarnbxayuaebbexechiytawnxxk enuxngcakcnghiwesiykhiwitinpi kh s 230 piekidkhxngsunocycungkhwrxyuinpi kh s 221 hruxkxnhnann thngbthphrarachprawtisumaexiynincinchuaelaincuxcuxthngeciynelmthi 82 rabuwasunocyesiychiwitinwnpingechin 丙辰 khxngeduxn 11 inskrachithkhang 太康 pithi 10 xyangirktam immiwnpingechinineduxnnn chwngeduxnnnethiybidkbchwngewlarahwangwnthi 30 phvscikaynthung 28 thnwakhm kh s 289 inptithincueliyn cinchurabuwasunocyidrbbrrdaskdiepnxanhyangcux 安陽子 aetepnipidwanacabnthukphidphlad ephraaedimsunocymibrrdaskdiepnkwnileha 關內侯 kwanenyohw makxnxyuaelw haksunocyidrbkaraetngtngihmibrrdaskdicux kcaklayepnkar ldkhn cakbrrdaskdiedim nxkcakniinyutrachwngscin ckrrphrrdisumaexiynthrngtngihhlanpukhxngsunocymibrrdaskdiepneharadbhmuban 亭侯 thingohw sungmiradbsungkwabrrdaskdicux cungimsmehtusmphlthickrphrrdicatxngihhlanchaymibrrdaskdisungkwapuxangxing khnannfaysunocycungwa xnemuxngeschwnthukwnni phraecaelaesiynmiichlngrkphuhyingaelesphysuramiidkhad echuxthuxthxykhaxayhuyohsungepnkhnthikhnhnung bdnikhunnangsungmistipyyainemuxngeschwnnnmikhwamnxyictangkhntangexatwxxkhak sungekiyngxuymatngkhayxyutablhlngeskhwngcaihphnxntray khxthancngerngihykthhariptiexaemuxngeschwnethidehncaidodyngay sumaeciywkdiichweraaaelwcungwa sungthankhiderakehnchxbdwy xnnaicerakhidcaiptiexaemuxngeschwnchananxyuaelw aelbdnithancaehnphuidepnaemthphkhumthhariptiemuxngeschwnid sunocycungwa khaphecaehnetngngayprakxbdwykhwamkhidmak khxthancngtngetngngayepnpldthph tngcngohyihepnaemthphykip ehncatiemuxngeschwnid samkk txnthi 85 wchryan subkhnemux November 5 2024 Goodman Howard L Lien Y Edmund April 2009 A Third Century AD Chinese System of Di Flute Temperament Matching Ancient Pitch Standards and Confronting Modal Practice Galpin Society 62 3 24 JSTOR 20753625 太康十年卒 詔贈司徒 賜東園秘器 朝服一具 錢五十萬 布百匹 遣兼御史持節護喪 諡曰成 cinchu elmthi 39 十一月 丙辰 尚書令濟北成侯荀勗卒 cuxcuxthngeciyn elmthi 82 荀勖 字公曾 潁川潁陰人 漢司空爽曾孫也 祖棐 射聲校尉 cinchu elmthi 39 父肸 早亡 勖依於舅氏 岐嶷夙成 年十餘歲能屬文 從外祖魏太傅鐘繇曰 此兒當及其曾祖 cinchu elmthi 39 既長 遂博學 達於從政 仕魏 辟大將軍曹爽掾 遷中書通事郎 爽誅 門生故吏無敢往者 勖獨臨赴 眾乃從之 cinchu elmthi 39 為安陽令 轉驃騎從事中郎 勖有遺愛 安陽生為立祠 遷廷尉正 參文帝大將軍軍事 賜爵關內侯 轉從事中郎 領記室 cinchu elmthi 39 高貴鄉公欲為變時 大將軍掾孫佑等守閶闔門 帝弟安陽侯幹聞難欲入 佑謂幹曰 未有入者 可從東掖門 及幹至 帝遲之 幹以狀白 帝欲族誅佑 勖諫曰 孫佑不納安陽 誠宜深責 然事有逆順 用刑不可以喜怒為輕重 今成倅刑止其身 佑乃族誅 恐義士私議 乃免佑為庶人 cinchu elmthi 39 時官騎路遺求為刺客入蜀 勖言於帝曰 明公以至公宰天下 宜杖正義以伐違貳 而名以刺客除賊 非所謂刑於四海 以德服遠也 帝稱善 cinchu elmthi 39 及鐘會謀反 審問未至 而外人先告之 帝待會素厚 未之信也 勖曰 會雖受恩 然其性未可許以見得思義 不可不速為之備 帝即出鎮長安 主簿郭奕 參軍王深以勖是會從甥 少長舅氏 勸帝斥出之 帝不納 而使勖陪乘 待之如初 先是 勖啟 伐蜀 宜以衛瓘為監軍 及蜀中亂 賴瓘以濟 會平 還洛 與裴秀 羊祜共管機密 cinchu elmthi 39 時將發使聘吳 並遣當時文士作書與孫皓 帝用勖所作 皓既報命和親 帝謂勖曰 君前作書 使吳思順 勝十萬之眾也 帝即晉王位 以勖為侍中 封安陽子 邑千戶 cinchu elmthi 39 武帝受禪 改封濟北郡公 勖以羊祜讓 乃固辭為侯 拜中書監 加侍中 領著作 與賈充共定律令 cinchu elmthi 39 咸甯初 與石苞等並為佐命功臣 列於銘饗 及王浚表請伐吳 勖與賈充固諫不可 帝不從 而吳果滅 以專典詔命 論功封子一人為亭侯 邑一千戶 賜絹千匹 cinchu elmthi 39 又封孫顯為潁陽亭侯 cinchu elmthi 39 時議遣王公之國 帝以問勖 勖對曰 諸王公已為都督 而使之國 則廢方任 又分割郡縣 人心戀本 必用嗷嗷 國皆置軍 官兵還當給國 而闕邊守 帝重使勖思之 勖又陳曰 如詔准古方伯選才 使軍國各隨方面為都督 誠如明旨 至於割正封疆 使親疏不同誠為佳矣 然分裂舊土 猶懼多所搖動 必使人心聰擾 思惟竊宜如前 若於事不得不時有所轉封 而不至分割土域 有所損奪者 可隨宜節度 其五等體國經遠 實不成制度 然但虛名 其於實事 略與舊郡縣鄉亭無異 若造次改奪 恐不能不以為恨 今方了其大者 以為五等可須後裁度 凡事雖有久而益善者 若臨時或有不解 亦不可忽 帝以勖言為允 多從其意 cinchu elmthi 39 時又議省州郡縣半吏以赴農功 勖議以為 省吏不如省官 省官不如省事 省事不如清心 如其不爾 恐適惑人聽 比前行所省 皆須臾輒復 或激而滋繁 亦不可不重 勖論議損益多此類 cinchu elmthi 39 太康中詔曰 勖明哲聰達 經識天序 有佐命之功 兼博洽之才 久典內任 著勳弘茂 詢事考言 謀猷允誠 宜登大位 毗贊朝政 今以勖為光祿大夫 儀同三司 開府辟召 守中書監 侍中 侯如故 時太尉賈充 司徒李胤並薨 太子太傅又缺 勖表陳 三公保傅 宜得其人 若使楊珧參輔東宮 必當仰稱聖意 尚書令衛瓘 吏部尚書山濤皆可為司徒 若以瓘新為令未出者 濤即其人 帝並從之 cinchu elmthi 39 明年秋 諸州郡大水 兗土尤甚 勖陳宜立都水使者 cinchu elmthi 39 其後門下啟通事令史伊羨 趙咸為舍人 對掌文法 詔以問勖 勖曰 今天下幸賴陛下聖德 六合為一 望道化隆洽 垂之將來 而門下上稱程咸 張惲 下稱此等 欲以文法為政 皆愚臣所未達者 昔張釋之諫漢文 謂獸圈嗇夫不宜見用 邴吉住車 明調和陰陽之本 此二人豈不知小吏之惠 誠重惜大化也 昔魏武帝使中軍司荀攸典刑獄 明帝時猶以付內常侍 以臣所聞 明帝時唯有通事劉泰等官 不過與殿中同號耳 又頃言論者皆雲省官減事 而求益吏者相尋矣 多雲尚書郎太令史不親文書 乃委付書令史及幹 誠吏多則相倚也 增置文法之職 適恐更耗擾台閣 臣竊謂不可 cinchu elmthi 39 然性慎密 每有詔令大事 雖已宣佈 然終不言 不欲使人知己豫聞也 cinchu elm 39 族弟良曾勸勖曰 公大失物情 有所進益者自可語之 則懷恩多矣 cinchu elmthi 39 其婿武統亦說勖 宜有所營置 令有歸戴者 cinchu elmthi 39 勖並默然不應 退而語諸子曰 人臣不密則失身 樹私則背公 是大戒也 汝等亦當宦達人間 宜識吾此意 cinchu elmthi 39 久之 以勖守尚書令 cinchu elmthi 39 勖久在中書 專管機事 及失之 甚罔罔悵恨 或有賀之者 勖曰 奪我鳳皇池 諸君賀我邪 及在尚書 課試令史以下 核其才能 有暗於文法 不能決疑處事者 即時遣出 帝嘗謂曰 魏武帝言 荀文若之進善 不進不止 荀公達之退惡 不退不休 二令君之美 亦望於君也 居職月餘 以母憂上還印綬 帝不許 遣常侍周恢喻旨 勖乃奉詔視職 cinchu elmthi 39 充將鎮關右也 勖謂馮紞曰 賈公遠放 吾等失勢 太子婚尚未定 若使充女得為妃 則不留而自停矣 勖與紞伺帝間並稱 充女才色絕世 若納東宮 必能輔佐君子 有 關雎 后妃之德 遂成婚 當時甚為正直者所疾 而獲佞媚之譏焉 cinchu elmthi 39 時帝素知太子暗弱 恐後亂國 遣勖及和嶠往觀之 勖還盛稱太子之德 而嶠雲太子如初 於是天下貴嶠而賤勖 cinchu elmthi 39 帝將廢賈妃 勖與馮紞等諫請 故得不廢 時議以勖傾國害時 孫資 劉放之匹 cinchu elmthi 39 既掌樂事 又修律呂 並行於世 初 勖於路逢趙賈人牛鐸 識其聲 及掌樂 音韻未調 乃曰 得趙之牛鐸則諧矣 遂下郡國 悉送牛鐸 果得諧者 cinchu elmthi 39 俄領秘書監 與中書令張華依劉向 別錄 整理記籍 及得汲郡塚中古文竹書 詔勖撰次之 以為 中經 列在秘書 cinchu elmthi 39 又立書博士 置弟子教習 以鐘 胡為法 cinchu elmthi 39 又嘗在帝坐進飯 謂在坐人曰 此是勞薪所炊 咸未之信 帝遣問膳夫 乃云 實用故車腳 舉世伏其明識 cinchu elmthi 39 勖久管機密 有才思 探得人主微旨 不犯顏忤爭 故得始終全其寵祿 cinchu elmthi 39 勖有十子 其達者輯 籓 組 輯嗣 官至衛尉 卒 諡曰簡 子畯嗣 卒 諡曰烈 無嫡子 以弟息識為嗣 cinchu elmthi 39 輯子綽 綽字彥舒 博學有才能 撰 晉後書 十五篇 傳於世 永嘉末 為司空從事中郎 沒於石勒 為勒參軍 cinchu elmthi 39 brrnanukrm 648 cinchu suxhma kwang 1084 cuxcuxthngeciyn