จานแอรี (Airy disc) และ แบบรูปแอรี (Airy pattern) เป็นปรากฏการณ์ทางแสงอย่างหนึ่ง เนื่องจากโดยธรรมชาติเชิงคลื่นของแสงแล้ว แสงที่ผ่าน รูเปิดวงกลมจะเกิดการเลี้ยวเบน แล้วเกิดเป็นรูปล่างแถบมืดสว่างเหมือนแผ่นจานกลมที่มีวงแหวนล้อม
แสงที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิดแสงที่สม่ำเสมอผ่านรูรับแสงวงกลมทำให้เกิดแบบรูปการเลี้ยวเบนบนพื้นผิว และพื้นที่สว่างกลม ณ ใจกลางนั้นได้รับการตั้งชื่อเรียกว่า "จานแอรี" และจานแอรีนี้ถูกล้อมรอบด้วยวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางเดียวกันหลายวงซึ่งเรียกว่า "แบบรูปแอรี" ชื่อจานและวงแหวนนี้ได้รับการตั้งชื่อตาม จอร์จ บิดเดิล แอรี เส้นผ่านศูนย์กลางของจานนี้ขึ้นอยู่กับความยาวคลื่นของแสงที่ปล่อยออกมาจากแหล่งกำเนิดแสงและขนาดของรูรับแสงวงกลม
จานแอรีเป็นแนวคิดที่สำคัญในด้าน ฟิสิกส์ ทัศนศาสตร์ และ ดาราศาสตร์
สำหรับในกล้องถ่ายภาพและกล้องโทรทรรศน์แล้ว จานแอรีถือว่ามีนัยสำคัญ ภาพโฟกัสของลำแสงที่ส่องผ่านเลนส์ที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางจำกัดค่าหนึ่งนั้นจะไม่ใช่เป็นจุด แต่จะเป็นจานกลมที่มีขนาดเท่ากับจานแอรี เนื่องจากเกิดการเลี้ยวเบน แม้จะใช้เลนส์แบบไม่มีความคลาดทางทัศนศาสตร์ก็ตาม ความละเอียดเชิงแสงของภาพโฟกัสที่สร้างขึ้นได้โดยเลนส์นี้ก็ยังมีขีดจำกัด โดยอาจกล่าวได้ว่าความละเอียดเชิงแสงของระบบเชิงแสงจะถูกกำหนดโดยขีดจำกัดการเลี้ยวเบน การที่เวลาถ่ายภาพโดยใช้รูรับแสงขนาดเล็กเกินไปแล้วเกิดภาพเบลอก็สามารถอธิบายได้ด้วยจานและแบบรูปแอรีนั่นเอง
ขนาดของจานแอรี
รัศมีของจานแอรี นิยามโดยมุมระหว่างวงแหวนมืดด้านในสุดกับแกนเชิงแสงเมื่อมองจากจุดตัดของระนาบของรูรับแสงวงกลมและแกนเชิงแสง คำนวณได้โดยสมการต่อไปนี้
โดยที่ คือความยาวคลื่นของแสง และ คือเส้นผ่านศูนย์กลางของรูรับแสงวงกลม
ขีดจำกัดของความละเอียดเชิงแสงของภาพตาม(เกณฑ์ของเรย์ลี) พิจารณาจากสถานะที่จุดกึ่งกลางของจานแอรีของภาพที่โฟกัสจุดหนึ่ง ไปซ้อนทับกับวงแหวนมืดวงแรกของจานแอรี (วงแหวนมืดที่ล้อมรอบจานแอรี) ของอีกจุด เมื่อใช้เกณฑ์นี้ค่าความละเอียดเชิงมุมจะหาได้จากสูตรเดียวกันนี้
ตัวอย่าง
กล้องถ่ายภาพ
หากถ่ายภาพด้วยกล้องถ่ายภาพ ในขณะที่ค่อยลดระยะห่างระหว่างแหล่งกำเนิดแสงแบบจุด 2 จุด (ซึ่งก็จะทำให้มุมระหว่างแหล่งกำเนิดแสงแบบจุด 2 จุดเมื่อมองจากกล้องค่อย ๆ เล็กลงด้วย) จานแอรีของแหล่งกำเนิดแสงแบบจุด 2 จุดนั้นจะเริ่มซ้อนทับกันเมื่อเข้าใกล้กันมากจนถึงในระดับหนึ่ง และในที่สุดภาพจากจุดกำเนิดแสงทั้งสองที่ปรากฏจะซ้อนทับกันจนทำให้เริ่มเห็นภาพพร่ามัว ไม่สามารถเห็น 2 จุดนั้นแยกออกจากกันเป็น 2 จุดได้อย่างชัดเจน นั่นเพราะเมื่อจุดศูนย์กลาง (ส่วนที่สว่างที่สุด) ของแบบรูปแอรีของแหล่งกำเนิดแสงจุดหนึ่ง ซ้อนทับวงแหวนมืดวงแรกของแบบรูปแอรีของอีกจุด จะทำให้เริ่มไม่สามารถแยกแยะ 2 จุดนั้น ทำให้เห็นเหมือนเป็นจุดเดียว
ตามเกณฑ์ของเรย์ลี ขีดจำกัดของมุมที่จะพอมองแยกแหล่งกำเนิดแสงสองจุดดังกล่าว (ความละเอียดเชิงแสงของเลนส์) อาจคำนวณได้จากรัศมีของจานแอรีดังที่กล่าวมาข้างต้น
โดยที่ θ มีค่าน้อยพอที่จะให้ค่าประมาณได้ดังนี้
ในที่นี้ คือช่วงระยะห่างระหว่างจุดกำเนิดแสงบนฟิล์ม ระยะทางระหว่างเลนส์ถึงฟิล์ม คำนวณจากความยาวโฟกัสของเลนส์คือ
ในที่นี้ คือค่าเอฟของเลนส์ ตัวอย่างเช่น ในช่วงวันที่มีแดดจัดมักใช้ f/16 ส่วนค่าความยาวคลื่น ต่างไปตามสีของแสง เช่น ถ้าพิจารณาที่ค่าประมาณ 450 นาโนเมตร ในช่วงแสงที่มองเห็นได้ จะได้ว่า มีขนาดประมาณ 0.01 มิลลิเมตร เมื่อถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิทัลที่ f/16 ต่อให้เพิ่มความหนาแน่นพิกเซลของเซนเซอร์รูปภาพให้หนาแน่นขึ้น ความละเอียดเชิงแสงจริง ๆ ของกล้องนั้นก็จะไม่ได้มากขึ้นไปกว่านี้
ตาของมนุษย์
ค่าเอฟของดวงตามนุษย์อยู่ที่ประมาณ 2.1 เมื่อรูม่านตาขยายมากที่สุด กำลังการแยกบนจอตาอยู่ที่ประมาณ 1 ไมโครเมตร ซึ่งคำนวณจากระยะห่างของเซลล์รับแสงในจอตาของมนุษย์ โดยความหนาแน่นของเซลล์ที่รอยบุ๋มจอตาอยู่ที่ประมาณ 170,000 เซลล์ต่อตารางมิลลิเมตร นั่นคือระยะห่างระหว่างเซลล์อยู่ที่ประมาณ 2.5 ไมโครเมตร
ลำแสงเลเซอร์
เมื่อฉายลำแสงเลเซอร์วงกลมที่มีความเข้มสม่ำเสมอทั่วทั้งวงผ่านเลนส์รวมแสงจะก่อตัวเป็นจานแอรีที่จุดโฟกัส ความเข้มของลำแสงเลเซอร์ที่ตำแหน่งโฟกัสจะขึ้นอยู่กับขนาดของจานแอรี
เงื่อนไขในการสังเกตเห็นจานแอรี
แสง (หรือคลื่นราบสม่ำเสมอ) ที่ลอดผ่านรูรับแสงวงกลมที่ส่องสว่างสม่ำเสมอจะแสดงแบบรูปการเลี้ยวเบนแอรีบนระนาบที่ห่างจากรูรับแสงวงกลม กรณีที่แหล่งกำเนิดแสงและระนาบอยู่ที่ระยะอนันต์จากรูรับแสงวงกลมจะเรียกว่า การเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์ และกรณีที่แหล่งกำเนิดแสงหรือตัวระนาบอยู่ในระยะทางจำกัดเรียกว่าการเลี้ยวเบนแฟรแนล
ถ้าจะเห็นแบบรูปแอรีโดยไม่ใช้เลนส์จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขต่อไปนี้
1) แสงที่ส่องผ่านรูรับแสงวงกลมเป็นคลื่นราบ
2) ความเข้มของแสงที่กระทบรูรับแสงวงกลมสม่ำเสมอเท่ากันตลอดทั้งวง
3) ระยะห่าง R จากรูรับแสงวงกลมมากพอ และรัศมีของรูเปิด a ไม่ใหญ่มากเมื่อเทียบกับความยาวคลื่นของแสง นั่นคือ
คำอธิบายด้วยสมการ
ความเข้มของการเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์ที่เกิดจากรูรับแสงวงกลมคำนวณได้โดย
ในที่นี้ คือความเข้มของแสงที่จุดกึ่งกลางของแบบรูปการเลี้ยวเบน เป็น ประเภทที่หนึ่ง คือ คือรัศมีของรูรับแสงวงกลม คือมุมที่พิจารณา (มุมที่เส้นที่เชื่อมระหว่างจุดศูนย์กลางของรูรับแสงวงกลมกับจุดบนระนาบ ทำกับแกนเชิงแสง) และ
โดยที่ คือระยะห่างของระนาบที่สังเกตการณ์ (หรือระนาบโฟกัส) จากแกนลำแสง และ คือ ค่าเอฟของระบบเชิงแสง (โดย คือเส้นผ่านศูนย์กลางของรูรับแสงวงกลม และ คือระยะห่างระหว่างรูรับแสงวงกลมกับระนาบการสังเกต) การวางเลนส์ประกบหลังรูรับแสงวงกลมจะสร้างแบบรูปแอรีบนระนาบโฟกัสของเลนส์ โดยที่ (โดยที่ คือความยาวโฟกัสของเลนส์) ขีดจำกัดของ (หรือ ) คือ
จะมีค่าเป็น 0 เมื่อ วงแหวนมืดวงแรกของแบบรูปการเลี้ยวเบนแสดงด้วยสมการต่อไปนี้
- .
ความสัมพันธ์ระหว่างรัศมีของวงแหวนมืดดวงแรกบนระนาบ และมุม คือ
โดยที่ คือระยะห่างจากรูรับแสงวงกลม ระยะห่างจากจุดกึ่งกลาง ที่ความเข้มแสงของจานแอรีเหลือครึ่งนึง (คือที่ ) คือ ส่วนที่ความเข้มเหลือเป็น 1/e2 () คือ ส่วนที่สว่างที่สุดของวงแหวนสว่างวงแรกคือ
ความสัมพันธ์ของความเข้มของแสงที่จุดกึ่งกลางของแบบรูปการเลี้ยวเบน กับความเข้มของแสงที่ผ่านรูรับแสงวงกลม แสดงโดยสูตรต่อไปนี้
ในที่นี้ คือความเข้มของแสงต่อหน่วยพื้นที่ของรูรับแสงวงกลม A คือพื้นที่ของรูรับแสงวงกลม () R คือระยะห่างจากรูรับแสงวงกลม ความเข้มแสงบนระนาบโฟกัสของเลนส์เป็น ความเข้มสูงสุดของวงแหวนสว่างวงแรกคือประมาณ 1.75% ของค่าที่ตรงกลางของจานแอรี
ความเข้มแสงรวมทั้งหมดภายในวงที่อยู่ในบริเวณในมุม ที่กำหนดคำนวณได้เป็น
ซึ่งจะได้ว่าความเข้มแสงภายในวงแหวนมืดที่ 1, วงแหวนมืดที่ 2, วงแหวนมืดที่ 3 (ที่ซึ่ง ) เป็น 83.8%, 91.0% และ 93.8% ตามลำดับ
แบบรูปแอรีที่มีการบังแสงตรงกลาง
การเลี้ยวเบนในลักษณะเดียวกันนี้ยังเกิดขึ้นในกรณีที่รูรับแสงมีการบดบังเป็นวงกลมที่ส่วนใจกลางด้วย โดยแบบรูปการเลี้ยวเบนของแสงรูปวงแหวนที่เกิดจากรูรับแสงที่มีตัวบังแสงเป็นวงกลมที่ศูนย์กลางของรูรับแสงวงกลมจะแสดงได้ดังสูตรนี้
ในที่นี้ คืออัตราส่วนที่รูรับแสงวงกลมถูกบดบัง กล่าวคือ อัตราส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางของแผ่นบังต่อเส้นผ่านศูนย์กลางของรูรับแสงวงกลม และ นิยามเป็น โดยที่ คือเส้นผ่านศูนย์กลางบนแกนเชิงแสงของระนาบโฟกัส คือความยาวคลื่น และ คือค่าเอฟของระบบเชิงแสง พลังงานแสงที่โฟกัส (อัตราส่วนของพลังงานทั้งหมดที่รวบรวมได้ในวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง ที่มีจุดกึ่งกลางอยู่บนแกนเชิงแสงของระนาบโฟกัส) คำนวณโดย
เมื่อ จะได้สูตรออกมาเหมือนกับสูตรที่กล่าวไปข้างต้นในกรณีที่ไม่มีการบังตรงกลาง
อ้างอิง
- Hecht, Eugene (1987). Optics (2nd ed.). . ISBN . Sect. 5.7.1
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-04-30. สืบค้นเมื่อ 2008-09-20.
- E. Hecht, Optics, Addison Wesley (2001) 邦訳: ヘクト、ヘクト光学 1--3、原著第4版、丸善(2001年)
- M. Born and E. Wolf, Principles of Optics (Pergamon Press, New York, 1965) 邦訳: ボルンおよびウォルフ、光学の原理 1--3、原著第7版、東海大学出版会(2005年)
- Rivolta, Applied Optics, 25, 2404 (1986)
- V. N. Mahajan, "Uniform versus Gaussian beams: a comparison of the effects of diffraction, obscuration, and aberrations," J. Opt. Soc. Am. A 3, 470 (1986) (電子版、有償)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
canaexri Airy disc aela aebbrupaexri Airy pattern epnpraktkarnthangaesngxyanghnung enuxngcakodythrrmchatiechingkhlunkhxngaesngaelw aesngthiphan ruepidwngklmcaekidkareliywebn aelwekidepnruplangaethbmudswangehmuxnaephncanklmthimiwngaehwnlxmphaphekhluxnihwsammitiaesdngkhwamekhmaesngkhxngcanaexriemuxprbkhnadrurbaesngtangknipcanaexriaelaaebbrupaexrithiidcakkarkhanwndwykhxmphiwetxr sikhawdaaesdngkhakhwamekhmethiybkbicklangcanaexriaelaaebbrupaexrithiekidcakelesxrsiaedngcanaexrithiekidcakelnsthayphaph 2000 mm f 25 aesngthiplxyxxkmacakaehlngkaenidaesngthismaesmxphanrurbaesngwngklmthaihekidaebbrupkareliywebnbnphunphiw aelaphunthiswangklm n icklangnnidrbkartngchuxeriykwa canaexri aelacanaexrinithuklxmrxbdwywngklmthimicudsunyklangediywknhlaywngsungeriykwa aebbrupaexri chuxcanaelawngaehwnniidrbkartngchuxtam cxrc bidedil aexri esnphansunyklangkhxngcannikhunxyukbkhwamyawkhlunkhxngaesngthiplxyxxkmacakaehlngkaenidaesngaelakhnadkhxngrurbaesngwngklm canaexriepnaenwkhidthisakhyindan fisiks thsnsastr aela darasastr sahrbinklxngthayphaphaelaklxngothrthrrsnaelw canaexrithuxwaminysakhy phaphofkskhxnglaaesngthisxngphanelnsthimiesnphansunyklangcakdkhahnungnncaimichepncud aetcaepncanklmthimikhnadethakbcanaexri enuxngcakekidkareliywebn aemcaichelnsaebbimmikhwamkhladthangthsnsastrktam khwamlaexiydechingaesngkhxngphaphofksthisrangkhunidodyelnsnikyngmikhidcakd odyxacklawidwakhwamlaexiydechingaesngkhxngrabbechingaesngcathukkahndodykhidcakdkareliywebn karthiewlathayphaphodyichrurbaesngkhnadelkekinipaelwekidphapheblxksamarthxthibayiddwycanaelaaebbrupaexrinnexngkhnadkhxngcanaexrirsmikhxngcanaexri 8 displaystyle theta niyamodymumrahwangwngaehwnmuddaninsudkbaeknechingaesngemuxmxngcakcudtdkhxngranabkhxngrurbaesngwngklmaelaaeknechingaesng khanwnidodysmkartxipni sin 8 1 22ld displaystyle sin theta 1 22 frac lambda d odythi l displaystyle lambda khuxkhwamyawkhlunkhxngaesng aela d displaystyle d khuxesnphansunyklangkhxngrurbaesngwngklm khidcakdkhxngkhwamlaexiydechingaesngkhxngphaphtameknthkhxngeryli phicarnacaksthanathicudkungklangkhxngcanaexrikhxngphaphthiofkscudhnung ipsxnthbkbwngaehwnmudwngaerkkhxngcanaexri wngaehwnmudthilxmrxbcanaexri khxngxikcud emuxicheknthnikhakhwamlaexiydechingmumcahaidcaksutrediywknnitwxyangklxngthayphaph hakthayphaphdwyklxngthayphaph inkhnathikhxyldrayahangrahwangaehlngkaenidaesngaebbcud 2 cud sungkcathaihmumrahwangaehlngkaenidaesngaebbcud 2 cudemuxmxngcakklxngkhxy elklngdwy canaexrikhxngaehlngkaenidaesngaebbcud 2 cudnncaerimsxnthbknemuxekhaiklknmakcnthunginradbhnung aelainthisudphaphcakcudkaenidaesngthngsxngthipraktcasxnthbkncnthaiherimehnphaphphramw imsamarthehn 2 cudnnaeykxxkcakknepn 2 cudidxyangchdecn nnephraaemuxcudsunyklang swnthiswangthisud khxngaebbrupaexrikhxngaehlngkaenidaesngcudhnung sxnthbwngaehwnmudwngaerkkhxngaebbrupaexrikhxngxikcud cathaiherimimsamarthaeykaeya 2 cudnn thaihehnehmuxnepncudediyw tameknthkhxngeryli khidcakdkhxngmumthicaphxmxngaeykaehlngkaenidaesngsxngcuddngklaw khwamlaexiydechingaesngkhxngelns xackhanwnidcakrsmikhxngcanaexridngthiklawmakhangtn sin 8 1 22 ld displaystyle sin theta 1 22 frac lambda d odythi 8 mikhanxyphxthicaihkhapramaniddngni xf 1 22 ld displaystyle frac x f 1 22 frac lambda d inthini x displaystyle x khuxchwngrayahangrahwangcudkaenidaesngbnfilm f displaystyle f rayathangrahwangelnsthungfilm khanwncakkhwamyawofkskhxngelnskhux x 1 22 lfd displaystyle x 1 22 frac lambda f d inthini fd displaystyle frac f d khuxkhaexfkhxngelns twxyangechn inchwngwnthimiaeddcdmkich f 16 swnkhakhwamyawkhlun l displaystyle lambda tangiptamsikhxngaesng echn thaphicarnathikhapraman 450 naonemtr inchwngaesngthimxngehnid caidwa x displaystyle x mikhnadpraman 0 01 milliemtr emuxthayphaphdwyklxngdicithlthi f 16 txihephimkhwamhnaaennphikeslkhxngesnesxrrupphaphihhnaaennkhun khwamlaexiydechingaesngcring khxngklxngnnkcaimidmakkhunipkwani takhxngmnusy khaexfkhxngdwngtamnusyxyuthipraman 2 1 emuxrumantakhyaymakthisud kalngkaraeykbncxtaxyuthipraman 1 imokhremtr sungkhanwncakrayahangkhxngesllrbaesngincxtakhxngmnusy odykhwamhnaaennkhxngesllthirxybumcxtaxyuthipraman 170 000 eslltxtarangmilliemtr nnkhuxrayahangrahwangesllxyuthipraman 2 5 imokhremtr laaesngelesxr emuxchaylaaesngelesxrwngklmthimikhwamekhmsmaesmxthwthngwngphanelnsrwmaesngcakxtwepncanaexrithicudofks khwamekhmkhxnglaaesngelesxrthitaaehnngofkscakhunxyukbkhnadkhxngcanaexrienguxnikhinkarsngektehncanaexriaesng hruxkhlunrabsmaesmx thilxdphanrurbaesngwngklmthisxngswangsmaesmxcaaesdngaebbrupkareliywebnaexribnranabthihangcakrurbaesngwngklm krnithiaehlngkaenidaesngaelaranabxyuthirayaxnntcakrurbaesngwngklmcaeriykwa kareliywebnefranohefxr aelakrnithiaehlngkaenidaesnghruxtwranabxyuinrayathangcakderiykwakareliywebnaefraenl thacaehnaebbrupaexriodyimichelnscatxngepniptamenguxnikhtxipni 1 aesngthisxngphanrurbaesngwngklmepnkhlunrab 2 khwamekhmkhxngaesngthikrathbrurbaesngwngklmsmaesmxethakntlxdthngwng 3 rayahang R cakrurbaesngwngklmmakphx aelarsmikhxngruepid a imihymakemuxethiybkbkhwamyawkhlunkhxngaesng l displaystyle lambda nnkhux R gt a2 l displaystyle R gt a 2 lambda khaxthibaydwysmkarkareliywebncakrurbaesngwngklm aebbrupaexricaehnidemux R gt a2 l displaystyle R gt a 2 lambda kareliywebnodyichelnsthimirurbaesngepnwngklm phaphrayaiklcasngektidechphaabnranabkarofksthiraya R f odythi f khwamyawofks khwamekhmaesngbnaebbrupaexriinchwng kasin8 10 10 khwamekhmkhxngkareliywebnefranohefxrthiekidcakrurbaesngwngklmkhanwnidody I 8 I0 2J1 kasin 8 kasin 8 2 I0 2J1 x x 2 displaystyle I theta I 0 left frac 2J 1 ka sin theta ka sin theta right 2 I 0 left frac 2J 1 x x right 2 inthini I0 displaystyle I 0 khuxkhwamekhmkhxngaesngthicudkungklangkhxngaebbrupkareliywebn J1 displaystyle J 1 epn praephththihnung k 2p l displaystyle k 2 pi lambda khux a displaystyle a khuxrsmikhxngrurbaesngwngklm 8 displaystyle theta khuxmumthiphicarna mumthiesnthiechuxmrahwangcudsunyklangkhxngrurbaesngwngklmkbcudbnranab thakbaeknechingaesng aela x kasin 8 2palqR pqlN displaystyle x ka sin theta frac 2 pi a lambda frac q R frac pi q lambda N odythi q displaystyle q khuxrayahangkhxngranabthisngektkarn hruxranabofks cakaeknlaaesng aela N R d displaystyle N R d khux khaexfkhxngrabbechingaesng ody d 2a displaystyle d 2a khuxesnphansunyklangkhxngrurbaesngwngklm aela R displaystyle R khuxrayahangrahwangrurbaesngwngklmkbranabkarsngekt karwangelnsprakbhlngrurbaesngwngklmcasrangaebbrupaexribnranabofkskhxngelns odythi R f displaystyle R f odythi f displaystyle f khuxkhwamyawofkskhxngelns khidcakdkhxng 8 0 displaystyle theta rightarrow 0 hrux x 0 displaystyle x rightarrow 0 khux I 0 I0 displaystyle I 0 I 0 J1 x displaystyle J 1 x camikhaepn 0 emux x kasin 8 0 3 8317 7 0156 10 1735 13 3268 16 4706 displaystyle x ka sin theta approx 0 3 8317 7 0156 10 1735 13 3268 16 4706 wngaehwnmudwngaerkkhxngaebbrupkareliywebnaesdngdwysmkartxipni sin 8 3 83ka 3 83l2pa 1 22l2a 1 22ld displaystyle sin theta frac 3 83 ka frac 3 83 lambda 2 pi a 1 22 frac lambda 2a 1 22 frac lambda d khwamsmphnthrahwangrsmikhxngwngaehwnmuddwngaerkbnranab q1 displaystyle q 1 aelamum 8 displaystyle theta khux q1 Rsin 8 displaystyle q 1 R sin theta odythi R displaystyle R khuxrayahangcakrurbaesngwngklm rayahangcakcudkungklang x displaystyle x thikhwamekhmaesngkhxngcanaexriehluxkhrungnung khuxthi J1 x 1 2 displaystyle J 1 x 1 2 khux x 1 61633 displaystyle x 1 61633 swnthikhwamekhmehluxepn 1 e2 J1 x 1 e2 displaystyle J 1 x 1 e 2 khux x 2 58383 displaystyle x 2 58383 swnthiswangthisudkhxngwngaehwnswangwngaerkkhux x 5 13562 displaystyle x 5 13562 khwamsmphnthkhxngkhwamekhmkhxngaesngthicudkungklangkhxngaebbrupkareliywebn I0 displaystyle I 0 kbkhwamekhmkhxngaesngthiphanrurbaesngwngklm P0 displaystyle P 0 aesdngodysutrtxipni I0 EA2A22R2 P0Al2R2 displaystyle I 0 frac mathrm E A 2 A 2 2R 2 frac P 0 A lambda 2 R 2 inthini E displaystyle mathrm E khuxkhwamekhmkhxngaesngtxhnwyphunthikhxngrurbaesngwngklm A khuxphunthikhxngrurbaesngwngklm A pa2 displaystyle A pi a 2 R khuxrayahangcakrurbaesngwngklm khwamekhmaesngbnranabofkskhxngelnsepn I0 P0A l2f2 displaystyle I 0 P 0 A lambda 2 f 2 khwamekhmsungsudkhxngwngaehwnswangwngaerkkhuxpraman 1 75 khxngkhathitrngklangkhxngcanaexri khwamekhmaesngrwmthnghmdphayinwngthixyuinbriewninmum 8 displaystyle theta thikahndkhanwnidepn P 8 P0 1 J02 kasin 8 J12 kasin 8 displaystyle P theta P 0 1 J 0 2 ka sin theta J 1 2 ka sin theta sungcaidwakhwamekhmaesngphayinwngaehwnmudthi 1 wngaehwnmudthi 2 wngaehwnmudthi 3 thisung J1 kasin 8 0 displaystyle J 1 ka sin theta 0 epn 83 8 91 0 aela 93 8 tamladbaebbrupaexrithimikarbngaesngtrngklangkareliywebninlksnaediywknniyngekidkhuninkrnithirurbaesngmikarbdbngepnwngklmthiswnicklangdwy odyaebbrupkareliywebnkhxngaesngrupwngaehwnthiekidcakrurbaesngthimitwbngaesngepnwngklmthisunyklangkhxngrurbaesngwngklmcaaesdngiddngsutrni I 8 I0 1 ϵ2 2 2J1 x x 2ϵJ1 ϵx x 2 displaystyle I theta frac I 0 1 epsilon 2 2 left frac 2J 1 x x frac 2 epsilon J 1 epsilon x x right 2 inthini ϵ displaystyle epsilon khuxxtraswnthirurbaesngwngklmthukbdbng klawkhux xtraswnkhxngesnphansunyklangkhxngaephnbngtxesnphansunyklangkhxngrurbaesngwngklm 0 ϵ lt 1 displaystyle left 0 leq epsilon lt 1 right aela x displaystyle x niyamepn x kasin 8 pRlN displaystyle x kasin theta approx frac pi R lambda N odythi R displaystyle R khuxesnphansunyklangbnaeknechingaesngkhxngranabofks l displaystyle lambda khuxkhwamyawkhlun aela N displaystyle N khuxkhaexfkhxngrabbechingaesng phlngnganaesngthiofks xtraswnkhxngphlngnganthnghmdthirwbrwmidinwngklmthimiesnphansunyklang R displaystyle R thimicudkungklangxyubnaeknechingaesngkhxngranabofks khanwnody E R I0 1 ϵ2 2 1 J02 x J12 x ϵ2 1 J02 ϵx J12 ϵx 4ϵ 0xJ1 t J1 ϵt tdt displaystyle E R frac I 0 1 epsilon 2 2 left 1 J 0 2 x J 1 2 x epsilon 2 left 1 J 0 2 epsilon x J 1 2 epsilon x right 4 epsilon int 0 x frac J 1 t J 1 epsilon t t dt right emux ϵ 0 displaystyle epsilon rightarrow 0 caidsutrxxkmaehmuxnkbsutrthiklawipkhangtninkrnithiimmikarbngtrngklangxangxingHecht Eugene 1987 Optics 2nd ed ISBN 0 201 11609 X Sect 5 7 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 04 30 subkhnemux 2008 09 20 E Hecht Optics Addison Wesley 2001 邦訳 ヘクト ヘクト光学 1 3 原著第4版 丸善 2001年 ISBN 978 4621073483 M Born and E Wolf Principles of Optics Pergamon Press New York 1965 邦訳 ボルンおよびウォルフ 光学の原理 1 3 原著第7版 東海大学出版会 2005年 ISBN 978 4486016786 Rivolta Applied Optics 25 2404 1986 V N Mahajan Uniform versus Gaussian beams a comparison of the effects of diffraction obscuration and aberrations J Opt Soc Am A 3 470 1986 電子版 有償