การเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์ (Fraunhofer diffraction) เป็นรูปแบบ การเลี้ยวเบนที่เกิดขึ้นในระยะห่างที่เพียงพอจากวัตถุ (เช่น รูรับแสง) ที่ทำให้ลำแสงเลี้ยวเบน ตั้งชื่อตาม โยเซ็ฟ ฟ็อน เฟราน์โฮเฟอร์
ในขณะเดียวกัน ในกรณีที่จุดสังเกตอยู่ในระยะที่ใกล้จะเรียกว่าการเลี้ยวเบนแฟรแนล
การคำนวณ
พิจารณาการแจกแจงแอมพลิจูด u (x′, y′) บนหน้าจอที่อยู่ห่างออกไปเป็นระยะทาง R เมื่อคลื่นระนาบของแสงเอกรงค์ที่มีเลขคลื่น k ผ่านรูรับแสงที่แสดงโดยฟังก์ชัน f (x, y) การพิจารณาให้แสงตกกระทบเป็นคลื่นระนาบแบบนี้จะเหมือนกับการพิจารณาจุดกำเนิดแสงที่ระยะอนันต์
การเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์เป็นการประมาณเมื่อระยะทาง r จากจุดศูนย์กลางของรูรับแสงถึงจุด (x′, y′) บนหน้าจอมากเพียงพอ นั่นคือสำหรับจุดใด ๆ (x, y) บนรูรับแสงแล้ว
โดยที่ λ คือความยาวคลื่นของแสง ในที่นี้ระยะห่างจากจุด (x, y) ในรูรับแสงถึงจุด (x′, y′) บน 1/r จะเป็น
แล้วแอมพลิจูดของสนามไฟฟ้าบนหน้าจอจะได้เป็น
ได้เป็นสูตรสำหรับการเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์
จากสมการจะได้ว่า แอมพลิจูด u (x′, y′) ของคลื่นที่ก่อให้เกิดการเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์โดยวัตถุซึ่งแสดงด้วยฟังก์ชัน f (x, y) นั้นจะสอดคล้องกับการแปลงฟูรีเยของฟังก์ชัน f (x, y)
อ้างอิง
- E. Hecht, Optics, 4th ed, San Francisco etc.: Addison Wesley, 2002.
- https://www.ritsumei.ac.jp/se/~ykido/pdf/Seminar1-4.pdf
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kareliywebnefranohefxr Fraunhofer diffraction epnrupaebb kareliywebnthiekidkhuninrayahangthiephiyngphxcakwtthu echn rurbaesng thithaihlaaesngeliywebn tngchuxtam oyesf fxn efranohefxrphaphaesdngkareliywebnefranohefxrkareliywebnefranohefxrsungekidcakrurbaesngwngklm inkhnaediywkn inkrnithicudsngektxyuinrayathiiklcaeriykwakareliywebnaefraenlkarkhanwnphicarnakaraeckaecngaexmphlicud u x y bnhnacxthixyuhangxxkipepnrayathang R emuxkhlunranabkhxngaesngexkrngkhthimielkhkhlun k phanrurbaesngthiaesdngodyfngkchn f x y karphicarnaihaesngtkkrathbepnkhlunranabaebbnicaehmuxnkbkarphicarnacudkaenidaesngthirayaxnnt kareliywebnefranohefxrepnkarpramanemuxrayathang r cakcudsunyklangkhxngrurbaesngthungcud x y bnhnacxmakephiyngphx nnkhuxsahrbcudid x y bnrurbaesngaelw x2 y2rl 1 displaystyle frac x 2 y 2 r lambda ll 1 odythi l khuxkhwamyawkhlunkhxngaesng inthinirayahangcakcud x y inrurbaesngthungcud x y bn 1 r caepn R2 x x 2 y y 2 r xx yy r displaystyle sqrt R 2 x x 2 y y 2 simeq r frac xx yy r aelwaexmphlicudkhxngsnamiffabnhnacxcaidepn u x y AilRexp ikr f x y exp ikxx yy r dxdy displaystyle u x y frac A i lambda R exp ikr iint f x y exp left ik frac xx yy r right mathrm d x mathrm d y idepnsutrsahrbkareliywebnefranohefxr caksmkarcaidwa aexmphlicud u x y khxngkhlunthikxihekidkareliywebnefranohefxrodywtthusungaesdngdwyfngkchn f x y nncasxdkhlxngkbkaraeplngfurieykhxngfngkchn f x y xangxingE Hecht Optics 4th ed San Francisco etc Addison Wesley 2002 https www ritsumei ac jp se ykido pdf Seminar1 4 pdf