การเลี้ยวเบนแฟรแนล (Fresnel diffraction) เป็นปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนที่อธิบายโดยวิธีการคำนวณที่เสนอโดยออกุสแต็ง-ฌ็อง แฟรแนล ถือเป็นการประมาณของที่สามารถใช้ได้สำหรับการเลี้ยวเบนสนามใกล้ สำหรับกรณีการเลี้ยวเบนสนามไกลจะสามารถอธิบายได้โดยการเลี้ยวเบนเฟราน์โฮเฟอร์
คำนิยาม
การเลี้ยวเบนถูกสันนิษฐานว่าเป็นส่วนหนึ่งของเส้นห่อหุ้มตามหลักการของเฮยเคินส์ อย่างไรก็ตาม หลักการนี้เพียงอย่างเดียวไม่สามารถหาการแจกแจงความเข้มของแสงที่เลี้ยวเบนได้ แฟรแนลได้แสดงให้เห็นว่าเราสามารถคำนวณได้โดยการพิจารณาให้การเลี้ยวเบนเป็นส่วนหนึ่งของการแทรกสอด
เมื่อคลื่นระนาบของแสงผ่านรูรับแสงด้วยฟังก์ชันรูรับแสง (1 สำหรับรูรับแสงและ 0 สำหรับส่วนที่ถูกบัง) f(x,y) และส่องใส่หน้าจอที่อยู่ห่างไประยะ R การแจกแจงแอมพลิจูดบนหน้าจอ u(x′,y′) จะคำนวณได้จากปริพันธ์ของคลื่นแสงที่ผ่านรูรับแสง ได้เป็น
f(x,y) | : | ฟังก์ชันรูรับแสง |
A | : | แอมพลิจูด |
i | : | หน่วยจำนวนจินตภาพ |
k | : | |
R | : | ระยะห่างระหว่างรูรับแสงกับหน้าจอ |
λ | : | ความยาวคลื่น |
x, y | : | ตำแหน่งบนรูรับแสง |
x′, y′ | : | ตำแหน่งบนหน้าจอ |
การเลี้ยวเบนแฟรแนลจะเกิดขึ้นเมื่อขนาดรูรับแสงเล็กเพียงพอเมื่อเทียบกับระยะห่างจากหน้าจอ นั่นคือเมื่อ
การแจกแจงแอมพลิจูด u(x′,y′) บนหน้าจอจะเขียนได้เป็น
นี่คือสูตรสำหรับการเลี้ยวเบนแฟรแนล
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- M. Born & , , 1999, Cambridge University Press, Cambridge.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kareliywebnaefraenl Fresnel diffraction epnpraktkarnkareliywebnthixthibayodywithikarkhanwnthiesnxodyxxkusaetng chxng aefraenl thuxepnkarpramankhxngthisamarthichidsahrbkareliywebnsnamikl sahrbkrnikareliywebnsnamiklcasamarthxthibayidodykareliywebnefranohefxrkhaniyamkareliywebnthuksnnisthanwaepnswnhnungkhxngesnhxhumtamhlkkarkhxngehyekhins xyangirktam hlkkarniephiyngxyangediywimsamarthhakaraeckaecngkhwamekhmkhxngaesngthieliywebnid aefraenlidaesdngihehnwaerasamarthkhanwnidodykarphicarnaihkareliywebnepnswnhnungkhxngkaraethrksxd emuxkhlunranabkhxngaesngphanrurbaesngdwyfngkchnrurbaesng 1 sahrbrurbaesngaela 0 sahrbswnthithukbng f x y aelasxngishnacxthixyuhangipraya R karaeckaecngaexmphlicudbnhnacx u x y cakhanwnidcakpriphnthkhxngkhlunaesngthiphanrurbaesng idepn u x y Ail f x y Rexp ikR2 x x 2 y y 2 dxdy displaystyle u x y frac A i lambda iint frac f x y R exp left ik sqrt R 2 x x 2 y y 2 right mathrm d x mathrm d y f x y fngkchnrurbaesngA aexmphlicudi hnwycanwncintphaphk R rayahangrahwangrurbaesngkbhnacxl khwamyawkhlunx y taaehnngbnrurbaesngx y taaehnngbnhnacx kareliywebnaefraenlcaekidkhunemuxkhnadrurbaesngelkephiyngphxemuxethiybkbrayahangcakhnacx nnkhuxemux R3 18l x x 2 y y 2 2 displaystyle R 3 gg frac 1 8 lambda left x x 2 y y 2 right 2 karaeckaecngaexmphlicud u x y bnhnacxcaekhiynidepn u x y AilRexp ikR f x y exp ik x x 2 y y 22R dxdy displaystyle u x y frac A i lambda R exp ikR iint f x y exp left ik frac x x 2 y y 2 2R right mathrm d x mathrm d y nikhuxsutrsahrbkareliywebnaefraenlduephimkareliywebn kareliywebnefranohefxr xxkusaetng chxng aefraenl priphnthaefraenlxangxingM Born amp 1999 Cambridge University Press Cambridge