บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
ขรัวอินโข่ง มีชีวิตอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3-4 ศิลปินผู้ได้รับการยกย่องเป็นจิตรกรเอกประจำรัชกาลที่ 4 แห่งสมัยรัตนโกสินทร์ เป็นศิลปินใน ศิลปินไทยคนแรกที่ใช้เทคนิคการเขียนแบบตะวันตกที่แสดงปริมาตรใกล้ไกล นับเป็นศิลปินก้าวหน้าแห่งยุคที่ผสมผสานแนวดำเนินชีวิตแบบไทยกับตะวันตกเข้าด้วยกัน ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงยกย่องว่า ขรัวอินโข่งเป็นช่างเขียนไม่มีตัวสู้ในสมัยนั้น
ในระยะแรกขรัวอินโข่งยังยึดแนวความคิดแบบเดิม คือวาด ภาพเกี่ยวกับพุทธศาสนาตามคตินิยม ภายหลังจึงเปลี่ยนเป็นเขียนภาพเรื่องราวเกี่ยวเนื่องในพระพุทธศาสนา จนกระทั่งหลุดพ้นมาเป็นงานในรูปแบบ ความสามารถพิเศษเฉพาะตัวคือการ วาดภาพธรรมชาติโดยเฉพาะต้นไม้ และการควบคุมอารมณ์ของสีในภาพให้มีความกลมกลืนและ เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ผลงานที่สร้างชื่อเสียงคือภาพปริศนาธรรมที่ฝาผนังภายในพระอุโบสถ วัดบวรนิเวศและวัดบรมนิวาส
ชีวิตวัยเยาว์และการศึกษา
ชีวิตในวัยเด็กของขรัวอินโข่งไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชัด รวมทั้งปีที่เกิด ทราบเพียงว่าขรัวอินโข่งเกิดที่ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรีในสมัยรัชกาลที่ 3 มีชื่อเดิมว่า "อิน" เดินทางเข้ามาบวชเป็นสามเณรที่กรุงเทพฯ แม้อายุเกินมากแล้วก็ยังไม่ยอมบวชพระจนถูกล้อเป็นเณรโค่ง แต่ในที่สุดสามเณรอินจึงได้ยอมบวชเป็นพระที่วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) ชื่อจึงสันนิษฐานกันว่ามาจากการถูกเรียกล้อว่า “อินโค่ง” ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงอธิบายว่า “โค่ง” กับ “โข่ง” แปลว่า “ใหญ่” ต่อมาโค่งเพี้ยนเป็น “โข่ง” จึงเรียกกันว่า “อินโข่ง” ส่วนคำว่า “” ได้มาหลังจาก “พระอินโข่ง” มีพรรษาและทรงความรู้มากขึ้นจึงได้รับการเคารพนับถือเป็นพระอาจารย์ซึ่งเจ้านายสมัยนั้นนิยมเรียกว่า “ขรัว” คนทั่วไปจึงเรียกพระภิกษุอินว่า “ขรัวอินโข่ง” ถึงปัจจุบัน
การศึกษาด้านจิตรกรรม
ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าขรัวอินโข่งเรียนการเขียนภาพอย่างเป็นงานเป็นการจากที่ใดและเมื่อใด โดยเฉพาะในวัยเด็กและวัยหนุ่ม เข้าใจกันว่าอาศัยการมีและได้อาจได้หัดเขียนภาพแบบไทยกับช่างเขียนบางคนในสมัยนั้นจนเกิดความชำนาญขึ้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดติวงศ์ทรงเล่าว่า ขรัวอินโข่งเป็นพระที่ชอบเก็บตัวไม่ค่อยยอมรับแขก มักชอบปิดกุฏิใส่กุญแจให้คนเห็นว่าไม่อยู่เพื่อใช้เวลาที่สงบทำสมาธิวางแนวเรื่องเพื่อใช้สำหรับเขียนโบสถ์วิหารซึ่งในสมัยแรกๆ ยังคงเป็นแบบไทย
การพัฒนาเทคนิคการเขียนภาพแบบตะวันตก
จากการสันนิษฐานเช่นเดียวกันว่า อิทธิพลของตะวันตกที่เริ่มหลั่งไหลเข้ามามากตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3 จึงมีการเร่งรัดพัฒนาประเทศเป็นแบบตะวันตกมากขึ้นทั้งด้านวัฒนธรรมและวิทยาการ ซึ่งรวมถึงรูปแบบศิลปะแบบตะวันตกจากทั้งยุโรปและอเมริกา เชื่อกันว่าขรัวอินโข่งเป็นศิลปินที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่แหวกแนวจากรูปแบบประเพณีเดิมอยู่แล้ว จึงกล้ารับเทคนิคแบบตะวันตกมาประยุกต์ด้วยตนเอง อย่างไรก็ดี ในระยะแรก ขรัวอินโข่งยังคงเขียนภาพจิตรกรรมไทยเป็นแบบดั้งเดิม โดยเขียนภาพเกี่ยวกับชาดกและพระพุทธศาสนาเป็นภาพแบบ 2 มิติ เช่น ภาพยักษ์ หน้าลิง ภาพวาดที่วัดมหาสมณารามและ
สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตรัสเล่าประทานหม่อมราชวงศ์ว่า
- "…เป็นช่างเขียนไทยคนแรกที่มีความรู้ไม่แต่เขียนได้ตามแบบโบราณเท่านั้น ยังเขียนได้ตามแบบฝรั่งสมัยใหม่ได้ด้วย เป็นการแสดงความก้าวหน้าในทางเขียนรูปของไทย รูปภาพต่าง ๆ ที่ขรัวอินโข่งเขียนนั้นมีเงา เป็นการเขียนที่มีชีวิตจิตใจผิดกับนักเขียนไทยคนอื่นๆ เคยโปรดฯ ให้เขียนรูปต่างๆ เป็นฝรั่งๆ ไว้ที่พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหารรูปพวกนี้เป็นพวกแรกๆ ของขรัวอินโข่ง ต่อมาเขียนรูปพระนเรศวรชนช้างไว้ในหอราชกรมานุสรหลังพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามฝีมือดีนัก ในพระอุโบสถเขียนไว้ที่ห้องพระยาช้างเผือก กับเขียนรูปภาพประกอบต่างๆ ภาพเหล่านี้เขียนเมื่อตอนแก่ ได้เคยพบเห็นด้วยตนเอง ผมแกขาวเป็นดอกเลา ภาพเหล่านี้อยู่ตามหน้าต่าง และประตูในพระอุโบถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ฝีมือพระอาจารย์อินโข่งในพิพิธภัณฑสถานยังมีอีกหลายรูป มีพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่เขียนจากพระองค์เอง เป็นต้น" (จากบทวรรณคดี ฉบับพฤศจิกายน 2495)
นอกจากนี้พระองค์ยังได้กล่าวถึงเทคนิคการเขียนภาพของขรัวอินโข่งว่า
- "...ท่านเป็นช่างเขียนไทยที่คิดค้นหาวิธีเขียนภาพให้มีชีวิตจิตใจ เขียนได้เหมือนของจริงและนิยมใช้สีหม่น ๆ เช่น สีน้ำเงินปนเขียวเขียน ซึ่งถ้ามิได้เป็นช่างฝีมือดีจริงแล้วก็หาอาจทำให้ภาพงดงามได้ด้วยสี 2 สีนี้ไม่และเป็นคนแรกที่ได้เริ่มนำคตินิยมอันนี้มาเป็นศิลปะของไทย สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศฯ ตรัสไว้ว่า "ความนิยมเขียนอย่างฝรั่งนั้น พระอาจารย์อินโข่งเป็นผู้นำขึ้นในรัชกาลที่ 4" (จากวารสารศิลปากรปีที่ 6 เล่ม 7 หน้า 55) เพราะฉะนั้นจึงนับว่าพระอาจารย์อินโข่งเป็นจิตรกรเอกผู้หนึ่ง
น. ณ ปากน้ำ กล่าวถึงงานของขรัวอินโข่งว่า
- "....ภาพต่าง ๆ ของขรัวอินโข่งเขียนไว้นุ่นนวล มีระยะใกล้ไกลถูกหลักเกณฑ์ทุกอย่างทั้งๆ ที่ขรัวอินโข่งไม่เคยเห็นภาพตัวจริงของฝรั่งเลย นอกจากมโนภาพที่ฝันไปเท่านั้น เป็นประจักษ์พยานว่า แม้คนไทยจะหันมาเขียนภาพเรียลลิสม์ (Realism) แบบฝรั่งก็สามารถเขียนได้ดีอย่างไม่มีที่ติ และไม่แพ้เขาเลย...."
เว็บไซต์ทางการเกี่ยวกับพระราชประวัติพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวของ ในหัวข้อ “จิตรกรรม” กล่าวถึงอืทธิพลของภาพเขียนตะวันตกที่เริ่มเข้ามาในประเทศไทยในขณะนั้นไว้ว่า
- “....ชาวตะวันตก ได้นำความรู้วิทยาการ ศิลปะ และวัฒนธรรมเข้ามาเผยแพร่ ทำให้ชีวิตและความนิยมในสังคมปรับตัวเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัย จิตรกรรมไทยได้นำวิธีเขียนภาพแบบตะวันตกมาผสมผสาน โดยใช้กฎเกณฑ์ทัศนียวิทยา มีระยะใกล้-ไกล แสดงความลึกในแบบ 3 มิติ ตลอดจนการจัดองค์ประกอบให้บรรยากาศและสีสันประสานสัมพันธ์กับรูปแบบตัวภาพปราสาทราชวัง และเรื่องที่เกี่ยวกับคติทางพุทธศาสนา จึงนับว่าจิตรกรรมไทยแบบประเพณีแนวใหม่แสดงลักษณะศิลปะแบบอุดมคติ และ ที่ประสานกลมกลืนเป็นเอกภาพขึ้นมีความสวยงาม...”
อิทธิพลสำคัญอีกประการหนึ่งอาจเกิดจากความคุ้นเคยของขรัวอินโข่งที่มีอยู่กับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎระหว่างผนวชที่ สืบเนื่องจากการที่ได้ทรงศึกษาพระพุทธศาสนาอย่างจริงจังจนได้ทรงตั้งธรรมยุตินิกายขึ้น ได้ทรงคิดแนวเรื่องปริศนาธรรมขึ้นแล้วโปรดเกล้าให้ขรัวอินโข่งเป็นผู้เขียนภาพประกอบ
อิทธิพลภาพเขียนแบบตะวันตกเชื่อกันว่าได้มาจากที่หมอสอนศาสนาหรือมิชชันนารีนำมาจากต่างประเทศ รวมทั้งภาพของยุโรปที่ส่งมาจำหน่ายแพร่หลายในเมืองไทยในสมัยนั้น ขรัวอินโข่งได้นำมาพัฒนาและประยุกต์ในงานจิตรกรรมไทยเป็นแบบตะวันตกโดยใช้ตัวละครและสถานที่แบบตะวันตก เช่น ภาพปริศนาธรรมที่วัดบวรนิเวศวิหารและวัดบรมนิวาส
ลักษณะเฉพาะของภาพเขียนของขรัวอินโข่ง
งานจิตรกรรมไทยของขรัวอินโข่งในช่วงแรกยังคงเป็นแบบไทยดั้งเดิมดังได้กล่าวมาแล้ว ในระยะหลังแม้จะได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมและศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะด้านการเขียนภาพหรือจิตรกรรม ซึ่งใช้วิธีการเขียนภาพแบบตะวันตกที่ใช้แสงและเงาสร้างเป็นภาพ 3 มิติทำให้เห็นภาพมีความลึกได้รับแสงไม่เท่ากันตามจริง แต่ภาพไทยที่เขียนแบบตะวันตกของขรัวอินโข่งก็ยังคงลักษณะไทยไว้ได้โดยยังคงแสดงลักษณะท่าทางและความอ่อนช้อยที่เน้นท่าพิเศษแบบไทยดังปรากฏในภาพเขียนแบบไทยทั่วไป นอกจากนี้ขรัวอินโข่งยังแสดงความอัจฉริยะในการสร้างจินตนาการจากความคิดและความเชื่อของไทยที่ยังคงมีอยู่ในสมัยนั้น
นอกจากนั้น น. ณ ปากน้ำก็ยังได้อธิบายเปรียบเทียบงานของขรัวอินโข่งกับช่างเขียนมีชื่อชาวตะวันตกไว้อย่างน่า สนใจว่า
- "....ภาพหนึ่งเป็นภาพชีวิตในหมู่บ้าน ผู้คนกำลังตักบาตรในตอนเช้า ไกลออกไปมีกระท่อม ซึ่งปลูกบนเนินใต้ต้นไม้ กลางทุ่งที่เจิ่งไปด้วยน้ำ แสดงถึงชีวิตที่สงบสันติ ชาวนาที่ขยันขันแข็งกำลังไถนาอยู่ นับว่าเป็นชีวิตที่ผาสุกน่าชื่นชม ถัดหมู่บ้านนี้ไปไม่ไกลนักมีอีกหมู่บ้านหนึ่ง ซึ่งในภาพแสดงให้เห็นความชุลมุนวุ่นวาย มีคนกลุ่มหนึ่งกำลังรุมตีกัน และบางคนก็ไล่ตีพระซึ่งวิ่งหนีทิ้งตาลปัตร ล้มลุกคลุกคลาน การเขียนด้วยวิธีนี้ทำให้นึกถึง ยอชโต ศิลปินของอิตาลี ซึ่งเน้นถึงปรัชญาของชีวิต เปรียบให้เห็นความดี ความเลว ให้เป็นคติธรรมที่ดีแก่คน ทั่ว ๆ ไป..."
กล่าวถึงคุณค่าของผลงานของขรัวอินโข่งไว้ว่า
- "....ขรัวอินโข่ง วาดภาพเหมือนจริง และด้วยวิธีวาดแบบทัศนียวิสัย 3 มิติ ทำให้ภาพเกิดความลึก การใช้สีแบบเอกรงค์ (monochrome) ที่ประสานกลมกลืนกัน ทำให้ภาพของขรัวอินโข่งมีบรรยากาศที่ชวนฝัน ทำให้ผู้ดูเกิดจินตนาการฝันเฟื่องตามไปด้วยไม่ว่าจะเป็นภาพวาดรูปต้นไม้ในป่า รูปต้นไม้และโขดเขาที่เพิงผาทางด้านผนังทิศเหนือ ด้านล่างที่มณฑป พระพุทธบาทวัดพระงามนั้นถึงจะไม่มีรูปบุคคลปรากฏอยู่ด้วยเลย แต่ภาพทั้งสองนี้ก็แลดูสวยด้วยธรรมชาติเพียงอย่างเดียว หรือภาพต้นสนที่เอนลู่ตามลมด้วยแรงพายุที่พัดอย่างแรงกล้านั้น ก็แลดูน่ากลัวสมจริงสมจังสัมพันธ์กับความน่ากลัวของภูตผีปีศาจที่มาขอส่วนบุญกับพระเจ้าพิมพิสาร… ภาพวาดทุกภาพของขรัวอินโข่ง แสดงให้เห็นถึงความประสานกลมกลืนของสีและบรรยากาศที่สลัว ๆ เสมือนกับทำให้ความคิดฝันที่ค่อนข้างเลือนลางนั้น ค่อย ๆ กระจ่างชัดในอารมณ์ รวมทั้งบรรยากาศที่อยู่ท่ามกลางขุนเขาและแมกไม้ที่ร่มครึ้ม ทำให้จิตใจเกิดจินตนาการคล้อยไปตามภาพที่ได้เห็น…เมื่อวาดภาพชีวิตทางยุโรป ขรัวอินโข่งจึงพยายามสร้างอารมณ์และบรรยากาศเป็นประเทศเมืองหนาว โดยใช้วิธีแบบทึมๆ”
เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี เรื่องเดียวกันกล่าวถึงลักษณะเฉพาะในการเขียนภาพของขรัวอินโข่งไว้เช่นเดียวกันว่า
- “......ขรัวอินโข่งเป็นจิตรกรหัวก้าวหน้า ผู้พัฒนาแนวทางจิตรกรรมไทยแบบประเพณี สร้างสรรค์งานจิตรกรรมฝาผนังในแนวความคิดใหม่ โดยนำเอารูปแบบจิตรกรรมตะวันตกที่เกี่ยวกับการจัดองค์ประกอบ ผู้คน การแต่งกาย ตึกรามบ้านเมือง ทิวทัศน์ การใช้สี แสงเงา บรรยากาศที่ให้ความรู้สึกในระยะและความลึกมาใช้อย่างสอดคล้องกับเรื่องที่ได้แสดงออกเกี่ยวกับคติและปริศนาธรรม...”
ขรัวอินโข่งเป็นจิตรกรไทยคนแรกที่เขียนภาพคนเหมือนแบบตะวันตก (Portrait) เป็นคนแรก โดยเขียนภาพเหมือนพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จากการศึกษาหลักฐานด้านประวัติศาสตร์จิตรกรรมของไทย ยังคงถือกันว่างานชิ้นนี้นับเป็นงานภาพคนเหมือนที่มีชื่อเสียงชิ้นแรกของประเทศไทย ปัจจุบันภาพเหมือนพระบรมสาทิสลักษณ์ฯ ดังกล่าวประดิษฐานอยู่ใน
ภาพปริศนาธรรม
กล่าวกันว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อครั้งผนวชที่วัดราชาธิวาสวรวิหาร ได้ทรงคิดแนวเรื่องปริศนาธรรมขึ้นแล้วโปรดเกล้าให้ขรัวอินโข่งเป็นผู้เขียนภาพประกอบดังกล่าว กล่าวถึงภาพปริศนาธรรมของขรัวอินโข่งไว้ในสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทยเล่ม 2 ของราชบัณฑิตยสถาน (2545) ไว้ว่า
- “ภาพปริศนาธรรมเป็นภาพที่คนชมต้องใช้ความคิดแปลความหมายให้ออก ไม่เหมือนภาพพุทธประวัติหรือชาดกต่างๆ ที่พุทธศาสนิกชนส่วนมากเข้าใจเรื่องอยู่แล้ว ตัวอย่างเช่น ภาพวาดบนผนังเหนือประตูหน้าต่างในพระอุโบสถวัดวัดบวรนิเวศวิหารทั้ง 16 ตอน ตอนแข่งม้าซึ่งแสดงอาคารในสนามแบบตะวันตก รวมทั้งผู้ชมและผู้ขี่เป็นชาวตะวันตก หมายถึงพระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นสารถีที่สามารถ เปรียบพระธรรมดังอุบายที่ใชฝึกม้า และพระสงฆ์เป็นเสมือนมาที่ฝึกมาดีแล้ว หรืออีกภาพหนึ่งเป็นภาพหมอรักษาคนดวงตาฝ้ามัว หมายถึงพระพุทธเจ้าเป็นหมอ ฝ้าคือโมหะและพระธรรมคืออุบายที่จะรักษาฝ้านั้นให้หายไป เพื่อให้ดวงตามองเห็นได้ชัดเจนแจ่มใส ภาพวาดตอนนี้ผสมกันระหว่างไทยกับตะวันตก กล่าวคือผู้คนและหมอเป็นฝรั่ง ข้างหลังเป็นอาคารแบบยุโรปเหมือนจริง แต่มีเทวดาซึ่งเป็นรูปแบบอย่างศิลปะไทยแบบความคิดหรืออุดมคตินิยมเหาะอยู่ข้างบน”
ผลงานของขรัวอินโข่ง
ขรัวอินโข่งมีผลงานมากมาย แต่ยังไม่ปรากฏโดยชัดเจนว่ามีผู้ใด้จัดรวมรวมเป็นเอกสารไว้อย่างเป็นระบบมีหมายเลขกำกับเฉพาะและครบถ้วน พิสิฐ (2545) กล่าวไว้ว่ามีบันทึกผลงานเท่าที่ปรากฏเป็นหลักฐานได้แก่
- ภาพที่เก็บรักษาไว้ที่ที่หอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพฯ
- ในพระที่นั่งศิวโมกข์พิมาน
- ต้นร่างสมุดภาพ เป็นสมุดไทยสีขาว 2 เล่มเก็บรักษาไว้
- ในห้องเลขที่ 15 (มุขท้ายพระที่นั่งพรหเมศรธาดา)
- ภาพเขียนคือพระบรมรูปรัชกาลที่ 4 หนึ่งภาพ
- ภาพ (เขียนค้าง) 5 ภาพ
- ภาพเรื่องพระอภัยมณีตอนชมสวน 1 ภาพ
- ในพระที่นั่งศิวโมกข์พิมาน
- พิพิธภัณฑ์หอศิลปแห่งชาติ
- 5 ภาพ
- ภาพวาดในพระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร
- ภาพวาดที่เสาและภาพวาดเหนือช่องหน้าต่าง เป็นภาพปริศนาธรรม ส่วนภาพวาดระหว่างช่องหน้าต่างเป็นเรื่องเกี่ยวกับกิจวัตรของพระสงฆ์ หรือเนื่องในพุทธศาสนา ที่เสาพระอุโบสถซึ่งระบายพื้นเสาเป็นสีต่าง ๆ แสดงปริศนาธรรม อันเปรียบด้วยน้ำใจคน 6 ประเภทที่เรียก
- วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
- ภาพเขียนประกอบสุภาษิตคำพังเพยในพระอุโบสถ ทางซ้ายมือเป็นภาพเขียนเรื่อง (เรื่องพระยาเผือก) และภาพต่าง ๆ ที่บานหน้าต่างพระอุโบสถ
- ภาพวาด ในหอราชกรมานุสรและหอราชพงศานุสร (สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นหอพระขนาบพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม) ข้างละห้อง หอพระหลังนี้เป็นหลังข้างเหนือ เป็นที่ไว้พระพุทธรูปปางต่าง ๆ ซึ่งทรงพระราชอุทิศถวายพระเจ้าแผ่นดินครั้งกรุงเก่า
- ภาพวาดในพระอุโบสถวัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
- ภาพวาดในพระอุโบสถวัดมหาสมณาราม เพชรบุรีเมื่อรัชกาลที่ 4 โปรดฯ ให้ปฏิสังขรณ์วัดมหาสมณารามแล้ว ก็โปรดฯ ให้ขรัวอินโข่ง วาดภาพจิตรกรรมฝาผนัง นับเป็นภาพวาดแห่งเดียวในเมืองเพชรบุรี ประกอบด้วย
- ภาพการไปนมัสการพระพุทธบาท
- ภาพการไปนมัสการสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อื่น ๆ ทางพุทธศาสนา เช่น
- ภาพนมัสการพระปฐมเจดีย์
- ภาพนมัสการพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช
- ภาพพระนครคีรี เพชรบุรี
- ภาพพระพุทธโฆษาจารย์แปลคัมภีร์ที่ลังกาและ
- ภาพทวารบาล
- ในพระอุโบสถวัดบรมนิวาส กรุงเทพฯ
- ภาพผนังและภาพเหนือช่องหน้าต่างเป็นภาพปริศนาธรรม
- ภาพวาดระหว่างช่องหน้าต่างเป็นภาพประเพณีทางพุทธศาสนาของคนไทย
- ภาพวาดที่มณฑปพระพุทธบาท ภาพส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นภาพไทยผสมเทคนิคการเขียนธรรมชาติแบบยุโรปซึ่งเป็นภาพอันให้อารมณ์ประทับใจ (งานชิ้นเยี่ยมที่สุดชิ้นหนึ่งของขรัวอินโข่ง)
- เพุทธประวัติบนผนังภายในมณฑปเหนือซุ้มโค้ง
ศิษย์ของขรัวอินโข่ง
โดยปกติแล้ว ขรัวอินโข่งผู้เป็นจิตกรคนสำคัญแห่งยุคย่อมต้องมีลูกศิษย์ที่เป็นลูกมือช่วยวาดภาพเป็นจำนวนไม่น้อย จึงสันนิษฐานว่าขรัวอินโข่งน่าจะมีศิษย์จำนวนมาก แต่ที่ได้เป็นจิตรกรมีชื่อเสียงเด่นได้รับการบันทึกไว้มีคนเดียว คือ วัดทองนพคุณ
ชีวิตบั้นปลายและมรณกรรม
ไม่มีผู้ใดทราบว่าชีวิตในบั้นปลายของขรัวอินโข่งเป็นอย่างไร และวันมรณภาพเป็นวันเดือนปีใด เมื่ออายุเท่าใดและโดยสาเหตุใด แต่เชื่อกันว่าครองตลอดชีวิต แต่เชื่อแน่ว่ามรณภาพในสมัยรัชกาลที่ 4 เนื่องจากไม่ปรากฏหลักฐานใดๆ เกี่ยวกับชีวิตและงานของขรัวอินโข่งเลยในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นที่หวังว่างานค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับศิลปินคนสำคัญยิ่งท่านหนึ่งของชาติในภายหน้าอาจให้ความกระจ่างในเรื่องนี้ได้
อ้างอิง
- ยิ้ม ปัณฑยางกูร ขรัวอินโข่ง สารานุกรมไทยเล่ม 3 ราชบัณฑิตยสถาน 2499
- น. ณ ปากน้ำ (ประยูร อุลุชาฎะ) พจนานุกรมศิลป. พระนคร : . 2515
- วนิดา ทองมิตร จิตรกรรมแบบสากล สกุลช่างขรัวอินโข่ง. กรุงเทพฯ : อักษรสัมพันธ์ 2522.
- พิสิฐ เจริญวงศ์ ขรัวอินโข่ง สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทยเล่ม 2. ราชบัณฑิตยสถาน 2545
- วิยะดา ทองมิตร. จิตรกรรมแบบสากล สกุลช่างขรัวอินโข่ง. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมและค้นคว้า ศิลปวัฒนธรรมไทย, 2522. (ND1023.ข42ว66)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasmbthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul khrwxinokhng khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khrwxinokhng michiwitxyuinsmyrchkalthi 3 4 silpinphuidrbkarykyxngepncitrkrexkpracarchkalthi 4 aehngsmyrtnoksinthr epnsilpinin silpinithykhnaerkthiichethkhnikhkarekhiynaebbtawntkthiaesdngprimatriklikl nbepnsilpinkawhnaaehngyukhthiphsmphsanaenwdaeninchiwitaebbithykbtawntkekhadwykn sungsmedcphraecabrmwngsethx phraxngkhecadiswrkumar krmphrayadarngrachanuphaphthrngykyxngwa khrwxinokhngepnchangekhiynimmitwsuinsmynn inrayaaerkkhrwxinokhngyngyudaenwkhwamkhidaebbedim khuxwad phaphekiywkbphuththsasnatamkhtiniym phayhlngcungepliynepnekhiynphapheruxngrawekiywenuxnginphraphuththsasna cnkrathnghludphnmaepnnganinrupaebb khwamsamarthphiessechphaatwkhuxkar wadphaphthrrmchatiodyechphaatnim aelakarkhwbkhumxarmnkhxngsiinphaphihmikhwamklmklunaela ekiywenuxngknodytlxd phlnganthisrangchuxesiyngkhuxphaphprisnathrrmthifaphnngphayinphraxuobsth wdbwrniewsaelawdbrmniwaschiwitwyeyawaelakarsuksachiwitinwyedkkhxngkhrwxinokhngimprakthlkthanthiaenchd rwmthngpithiekid thrabephiyngwakhrwxinokhngekidthi xaephxemuxng cnghwdephchrburiinsmyrchkalthi 3 michuxedimwa xin edinthangekhamabwchepnsamenrthikrungethph aemxayuekinmakaelwkyngimyxmbwchphracnthuklxepnenrokhng aetinthisudsamenrxincungidyxmbwchepnphrathiwdrachburna wdeliyb chuxcungsnnisthanknwamacakkarthukeriyklxwa xinokhng sungsmedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwdtiwngsthrngxthibaywa okhng kb okhng aeplwa ihy txmaokhngephiynepn okhng cungeriykknwa xinokhng swnkhawa idmahlngcak phraxinokhng miphrrsaaelathrngkhwamrumakkhuncungidrbkarekharphnbthuxepnphraxacarysungecanaysmynnniymeriykwa khrw khnthwipcungeriykphraphiksuxinwa khrwxinokhng thungpccubnkarsuksadancitrkrrmimprakthlkthanaenchdwakhrwxinokhngeriynkarekhiynphaphxyangepnnganepnkarcakthiidaelaemuxid odyechphaainwyedkaelawyhnum ekhaicknwaxasykarmiaelaidxacidhdekhiynphaphaebbithykbchangekhiynbangkhninsmynncnekidkhwamchanaykhun smedcphraecabrmwngsethx ecafakrmphrayanrisranuwdtiwngsthrngelawa khrwxinokhngepnphrathichxbekbtwimkhxyyxmrbaekhk mkchxbpidkutiiskuyaecihkhnehnwaimxyuephuxichewlathisngbthasmathiwangaenweruxngephuxichsahrbekhiynobsthwiharsunginsmyaerk yngkhngepnaebbithykarphthnaethkhnikhkarekhiynphaphaebbtawntkcakkarsnnisthanechnediywknwa xiththiphlkhxngtawntkthierimhlngihlekhamamaktngaetsmyrchkalthi 3 cungmikarerngrdphthnapraethsepnaebbtawntkmakkhunthngdanwthnthrrmaelawithyakar sungrwmthungrupaebbsilpaaebbtawntkcakthngyuorpaelaxemrika echuxknwakhrwxinokhngepnsilpinthimikhwamkhidsrangsrrkhthiaehwkaenwcakrupaebbpraephniedimxyuaelw cungklarbethkhnikhaebbtawntkmaprayuktdwytnexng xyangirkdi inrayaaerk khrwxinokhngyngkhngekhiynphaphcitrkrrmithyepnaebbdngedim odyekhiynphaphekiywkbchadkaelaphraphuththsasnaepnphaphaebb 2 miti echn phaphyks hnaling phaphwadthiwdmhasmnaramaela smedckrmphrayadarngrachanuphaph trselaprathanhmxmrachwngswa epnchangekhiynithykhnaerkthimikhwamruimaetekhiynidtamaebbobranethann yngekhiynidtamaebbfrngsmyihmiddwy epnkaraesdngkhwamkawhnainthangekhiynrupkhxngithy rupphaphtang thikhrwxinokhngekhiynnnmienga epnkarekhiynthimichiwitciticphidkbnkekhiynithykhnxun ekhyoprd ihekhiynruptang epnfrng iwthiphraxuobsthwdbwrniewswiharrupphwkniepnphwkaerk khxngkhrwxinokhng txmaekhiynrupphranerswrchnchangiwinhxrachkrmanusrhlngphraxuobsthwdphrasrirtnsasdaramfimuxdink inphraxuobsthekhiyniwthihxngphrayachangephuxk kbekhiynrupphaphprakxbtang phaphehlaniekhiynemuxtxnaek idekhyphbehndwytnexng phmaekkhawepndxkela phaphehlanixyutamhnatang aelapratuinphraxuobthwdphrasrirtnsasdaram fimuxphraxacaryxinokhnginphiphithphnthsthanyngmixikhlayrup miphrabrmrupphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwthiekhiyncakphraxngkhexng epntn cakbthwrrnkhdi chbbphvscikayn 2495 nxkcakniphraxngkhyngidklawthungethkhnikhkarekhiynphaphkhxngkhrwxinokhngwa thanepnchangekhiynithythikhidkhnhawithiekhiynphaphihmichiwitcitic ekhiynidehmuxnkhxngcringaelaniymichsihmn echn sinaenginpnekhiywekhiyn sungthamiidepnchangfimuxdicringaelwkhaxacthaihphaphngdngamiddwysi 2 siniimaelaepnkhnaerkthiiderimnakhtiniymxnnimaepnsilpakhxngithy smedcecafakrmphrayanris trsiwwa khwamniymekhiynxyangfrngnn phraxacaryxinokhngepnphunakhuninrchkalthi 4 cakwarsarsilpakrpithi 6 elm 7 hna 55 ephraachanncungnbwaphraxacaryxinokhngepncitrkrexkphuhnung n n pakna klawthungngankhxngkhrwxinokhngwa phaphtang khxngkhrwxinokhngekhiyniwnunnwl mirayaikliklthukhlkeknththukxyangthng thikhrwxinokhngimekhyehnphaphtwcringkhxngfrngely nxkcakmonphaphthifnipethann epnpracksphyanwa aemkhnithycahnmaekhiynphapheriyllism Realism aebbfrngksamarthekhiyniddixyangimmithiti aelaimaephekhaely ewbistthangkarekiywkbphrarachprawtiphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwkhxng inhwkhx citrkrrm klawthungxuththiphlkhxngphaphekhiyntawntkthierimekhamainpraethsithyinkhnanniwwa chawtawntk idnakhwamruwithyakar silpa aelawthnthrrmekhamaephyaephr thaihchiwitaelakhwamniyminsngkhmprbtwepliynaeplngiptamkalsmy citrkrrmithyidnawithiekhiynphaphaebbtawntkmaphsmphsan odyichkdeknththsniywithya mirayaikl ikl aesdngkhwamlukinaebb 3 miti tlxdcnkarcdxngkhprakxbihbrryakasaelasisnprasansmphnthkbrupaebbtwphaphprasathrachwng aelaeruxngthiekiywkbkhtithangphuththsasna cungnbwacitrkrrmithyaebbpraephniaenwihmaesdnglksnasilpaaebbxudmkhti aela thiprasanklmklunepnexkphaphkhunmikhwamswyngam xiththiphlsakhyxikprakarhnungxacekidcakkhwamkhunekhykhxngkhrwxinokhngthimixyukbphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwemuxkhrngdarngphraysepnsmedcphraecanxngyaethxecafamngkudrahwangphnwchthi subenuxngcakkarthiidthrngsuksaphraphuththsasnaxyangcringcngcnidthrngtngthrrmyutinikaykhun idthrngkhidaenweruxngprisnathrrmkhunaelwoprdeklaihkhrwxinokhngepnphuekhiynphaphprakxb xiththiphlphaphekhiynaebbtawntkechuxknwaidmacakthihmxsxnsasnahruxmichchnnarinamacaktangpraeths rwmthngphaphkhxngyuorpthisngmacahnayaephrhlayinemuxngithyinsmynn khrwxinokhngidnamaphthnaaelaprayuktinngancitrkrrmithyepnaebbtawntkodyichtwlakhraelasthanthiaebbtawntk echn phaphprisnathrrmthiwdbwrniewswiharaelawdbrmniwaslksnaechphaakhxngphaphekhiynkhxngkhrwxinokhngkarekhiynphaphaebbtawntkthiichaesngaelaengasrangepnphaph 3 miti ngancitrkrrmithykhxngkhrwxinokhnginchwngaerkyngkhngepnaebbithydngedimdngidklawmaaelw inrayahlngaemcaidrbxiththiphlwthnthrrmaelasilpatawntkodyechphaadankarekhiynphaphhruxcitrkrrm sungichwithikarekhiynphaphaebbtawntkthiichaesngaelaengasrangepnphaph 3 mitithaihehnphaphmikhwamlukidrbaesngimethakntamcring aetphaphithythiekhiynaebbtawntkkhxngkhrwxinokhngkyngkhnglksnaithyiwidodyyngkhngaesdnglksnathathangaelakhwamxxnchxythiennthaphiessaebbithydngpraktinphaphekhiynaebbithythwip nxkcaknikhrwxinokhngyngaesdngkhwamxcchriyainkarsrangcintnakarcakkhwamkhidaelakhwamechuxkhxngithythiyngkhngmixyuinsmynn nxkcaknn n n paknakyngidxthibayepriybethiybngankhxngkhrwxinokhngkbchangekhiynmichuxchawtawntkiwxyangna snicwa phaphhnungepnphaphchiwitinhmuban phukhnkalngtkbatrintxnecha iklxxkipmikrathxm sungplukbneninittnim klangthungthiecingipdwyna aesdngthungchiwitthisngbsnti chawnathikhynkhnaekhngkalngithnaxyu nbwaepnchiwitthiphasuknachunchm thdhmubanniipimiklnkmixikhmubanhnung sunginphaphaesdngihehnkhwamchulmunwunway mikhnklumhnungkalngrumtikn aelabangkhnkiltiphrasungwinghnithingtalptr lmlukkhlukkhlan karekhiyndwywithinithaihnukthung yxchot silpinkhxngxitali sungennthungprchyakhxngchiwit epriybihehnkhwamdi khwamelw ihepnkhtithrrmthidiaekkhn thw ip klawthungkhunkhakhxngphlngankhxngkhrwxinokhngiwwa khrwxinokhng wadphaphehmuxncring aeladwywithiwadaebbthsniywisy 3 miti thaihphaphekidkhwamluk karichsiaebbexkrngkh monochrome thiprasanklmklunkn thaihphaphkhxngkhrwxinokhngmibrryakasthichwnfn thaihphuduekidcintnakarfnefuxngtamipdwyimwacaepnphaphwadruptniminpa ruptnimaelaokhdekhathiephingphathangdanphnngthisehnux danlangthimnthp phraphuththbathwdphrangamnnthungcaimmirupbukhkhlpraktxyudwyely aetphaphthngsxngnikaelduswydwythrrmchatiephiyngxyangediyw hruxphaphtnsnthiexnlutamlmdwyaerngphayuthiphdxyangaerngklann kaeldunaklwsmcringsmcngsmphnthkbkhwamnaklwkhxngphutphipisacthimakhxswnbuykbphraecaphimphisar phaphwadthukphaphkhxngkhrwxinokhng aesdngihehnthungkhwamprasanklmklunkhxngsiaelabrryakasthislw esmuxnkbthaihkhwamkhidfnthikhxnkhangeluxnlangnn khxy kracangchdinxarmn rwmthngbrryakasthixyuthamklangkhunekhaaelaaemkimthirmkhrum thaihciticekidcintnakarkhlxyiptamphaphthiidehn emuxwadphaphchiwitthangyuorp khrwxinokhngcungphyayamsrangxarmnaelabrryakasepnpraethsemuxnghnaw odyichwithiaebbthum ewbistkhxngmhawithyalyethkhonolyiphracxmekla thnburi eruxngediywknklawthunglksnaechphaainkarekhiynphaphkhxngkhrwxinokhngiwechnediywknwa khrwxinokhngepncitrkrhwkawhna phuphthnaaenwthangcitrkrrmithyaebbpraephni srangsrrkhngancitrkrrmfaphnnginaenwkhwamkhidihm odynaexarupaebbcitrkrrmtawntkthiekiywkbkarcdxngkhprakxb phukhn karaetngkay tukrambanemuxng thiwthsn karichsi aesngenga brryakasthiihkhwamrusukinrayaaelakhwamlukmaichxyangsxdkhlxngkberuxngthiidaesdngxxkekiywkbkhtiaelaprisnathrrm khrwxinokhngepncitrkrithykhnaerkthiekhiynphaphkhnehmuxnaebbtawntk Portrait epnkhnaerk odyekhiynphaphehmuxnphrabrmsathislksnkhxngphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw cakkarsuksahlkthandanprawtisastrcitrkrrmkhxngithy yngkhngthuxknwanganchinninbepnnganphaphkhnehmuxnthimichuxesiyngchinaerkkhxngpraethsithy pccubnphaphehmuxnphrabrmsathislksn dngklawpradisthanxyuinphaphprisnathrrmklawknwaphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhwemuxkhrngphnwchthiwdrachathiwaswrwihar idthrngkhidaenweruxngprisnathrrmkhunaelwoprdeklaihkhrwxinokhngepnphuekhiynphaphprakxbdngklaw klawthungphaphprisnathrrmkhxngkhrwxinokhngiwinsaranukrmprawtisastrithyelm 2 khxngrachbnthitysthan 2545 iwwa phaphprisnathrrmepnphaphthikhnchmtxngichkhwamkhidaeplkhwamhmayihxxk imehmuxnphaphphuththprawtihruxchadktang thiphuththsasnikchnswnmakekhaiceruxngxyuaelw twxyangechn phaphwadbnphnngehnuxpratuhnatanginphraxuobsthwdwdbwrniewswiharthng 16 txn txnaekhngmasungaesdngxakharinsnamaebbtawntk rwmthngphuchmaelaphukhiepnchawtawntk hmaythungphraphuththecaphuthrngepnsarthithisamarth epriybphrathrrmdngxubaythiichfukma aelaphrasngkhepnesmuxnmathifukmadiaelw hruxxikphaphhnungepnphaphhmxrksakhndwngtafamw hmaythungphraphuththecaepnhmx fakhuxomhaaelaphrathrrmkhuxxubaythicarksafannihhayip ephuxihdwngtamxngehnidchdecnaecmis phaphwadtxnniphsmknrahwangithykbtawntk klawkhuxphukhnaelahmxepnfrng khanghlngepnxakharaebbyuorpehmuxncring aetmiethwdasungepnrupaebbxyangsilpaithyaebbkhwamkhidhruxxudmkhtiniymehaaxyukhangbn phlngankhxngkhrwxinokhngphaphwadthiwdbrmniwasrachwrwihar khrwxinokhngmiphlnganmakmay aetyngimpraktodychdecnwamiphuidcdrwmrwmepnexksariwxyangepnrabbmihmayelkhkakbechphaaaelakhrbthwn phisith 2545 klawiwwamibnthukphlnganethathipraktepnhlkthanidaek phaphthiekbrksaiwthithihxsmudaehngchati krungethph inphrathinngsiwomkkhphiman tnrangsmudphaph epnsmudithysikhaw 2 elmekbrksaiw inhxngelkhthi 15 mukhthayphrathinngphrhemsrthada phaphekhiynkhuxphrabrmruprchkalthi 4 hnungphaph phaph ekhiynkhang 5 phaph phapheruxngphraxphymnitxnchmswn 1 phaph phiphithphnthhxsilpaehngchati 5 phaph phaphwadinphraxuobsthwdbwrniewswihar phaphwadthiesaaelaphaphwadehnuxchxnghnatang epnphaphprisnathrrm swnphaphwadrahwangchxnghnatangepneruxngekiywkbkicwtrkhxngphrasngkh hruxenuxnginphuththsasna thiesaphraxuobsthsungrabayphunesaepnsitang aesdngprisnathrrm xnepriybdwynaickhn 6 praephththieriyk wdphrasrirtnsasdaram phaphekhiynprakxbsuphasitkhaphngephyinphraxuobsth thangsaymuxepnphaphekhiyneruxng eruxngphrayaephuxk aelaphaphtang thibanhnatangphraxuobsth phaphwad inhxrachkrmanusraelahxrachphngsanusr srangkhuninsmyrchkalthi 4 epnhxphrakhnabphraxuobsthwdphrasrirtnsasdaram khanglahxng hxphrahlngniepnhlngkhangehnux epnthiiwphraphuththruppangtang sungthrngphrarachxuthisthwayphraecaaephndinkhrngkrungeka phaphwadinphraxuobsthwdbrmniwas krungethph phaphwadinphraxuobsthwdmhasmnaram ephchrburiemuxrchkalthi 4 oprd ihptisngkhrnwdmhasmnaramaelw koprd ihkhrwxinokhng wadphaphcitrkrrmfaphnng nbepnphaphwadaehngediywinemuxngephchrburi prakxbdwy phaphkaripnmskarphraphuththbath phaphkaripnmskarsthanthiskdisiththixun thangphuththsasna echn phaphnmskarphrapthmecdiy phaphnmskarphrabrmthatunkhrsrithrrmrach phaphphrankhrkhiri ephchrburi phaphphraphuththokhsacaryaeplkhmphirthilngkaaela phaphthwarbal inphraxuobsthwdbrmniwas krungethph phaphphnngaelaphaphehnuxchxnghnatangepnphaphprisnathrrm phaphwadrahwangchxnghnatangepnphaphpraephnithangphuththsasnakhxngkhnithy phaphwadthimnthpphraphuththbath phaphswnihymilksnaepnphaphithyphsmethkhnikhkarekhiynthrrmchatiaebbyuorpsungepnphaphxnihxarmnprathbic nganchineyiymthisudchinhnungkhxngkhrwxinokhng ephuththprawtibnphnngphayinmnthpehnuxsumokhngsisykhxngkhrwxinokhngodypktiaelw khrwxinokhngphuepncitkrkhnsakhyaehngyukhyxmtxngmiluksisythiepnlukmuxchwywadphaphepncanwnimnxy cungsnnisthanwakhrwxinokhngnacamisisycanwnmak aetthiidepncitrkrmichuxesiyngednidrbkarbnthukiwmikhnediyw khux wdthxngnphkhunchiwitbnplayaelamrnkrrmimmiphuidthrabwachiwitinbnplaykhxngkhrwxinokhngepnxyangir aelawnmrnphaphepnwneduxnpiid emuxxayuethaidaelaodysaehtuid aetechuxknwakhrxngtlxdchiwit aetechuxaenwamrnphaphinsmyrchkalthi 4 enuxngcakimprakthlkthanid ekiywkbchiwitaelangankhxngkhrwxinokhngelyinsmyrchkalthi 5 epnthihwngwangankhnkhwawicyekiywkbsilpinkhnsakhyyingthanhnungkhxngchatiinphayhnaxacihkhwamkracangineruxngniidxangxingyim pnthyangkur khrwxinokhng saranukrmithyelm 3 rachbnthitysthan 2499 n n pakna prayur xuluchada phcnanukrmsilp phrankhr 2515 wnida thxngmitr citrkrrmaebbsakl skulchangkhrwxinokhng krungethph xksrsmphnth 2522 phisith ecriywngs khrwxinokhng saranukrmprawtisastrithyelm 2 rachbnthitysthan 2545 wiyada thxngmitr citrkrrmaebbsakl skulchangkhrwxinokhng krungethph sunysngesrimaelakhnkhwa silpwthnthrrmithy 2522 ND1023 kh42w66 bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk