บทความนี้ไม่มีจาก |
จิตรกรรมไทย หมายถึง ภาพเขียนที่มีลักษณะเป็นแบบอย่างของไทยที่แตกต่างจากศิลปะของชนชาติอื่นอย่างชัดเจน ถึงแม้จะมีอิทธิพลศิลปะของชาติอื่นอยู่บ้าง แต่ก็ดัดแปลง คลี่คลาย ตัดทอน หรือเพิ่มเติมจนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเองได้อย่างสวยงามลงตัว มีวิวัฒนาการทางด้านรูปแบบและวิธีการมาตลอดจนถึงปัจจุบัน ซึ่งสามารถพัฒนาต่อไปอีกในอนาคต จิตรกรรมไทยเป็นลักษณะอุดมคติ เป็นภาพ 2 มิติ โดยนำสิ่งใกล้ไว้ตอนล่างของภาพ สิ่งไกลไว้ตอนบนของภาพ ใช้สีแบบเอกรงค์ คือ ใช้หลายสี แต่มีสีที่โดดเด่นเพียงสีเดียว
ลายไทย เป็นส่วนประกอบของภาพเขียนไทยใช้ตกแต่งอาคาร สิ่งของ เครื่องใช้ ต่าง ๆ เครื่องประดับ ฯลฯ เป็นลวดลายที่มีชื่อเรียกต่าง ๆ กันซึ่งนำเอารูปร่างจาก ธรรมชาติมาประกอบ เช่น ลายกระหนก ลายกระจัง ลายประจำยาม ลายเครือเถา เป็นต้น หรือเป็นรูปที่มาจากความเชื่อและคตินิยม เช่น รูปคน รูปเทวดา รูปสัตว์ รูปยักษ์ เป็นต้น
จิตรกรรมไทย เป็นวิจิตรศิลป์อย่างหนึ่ง ซึ่งส่งผลสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมอันดีงามของชาติ มีคุณค่าทางศิลปะและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า มีเรื่องที่เกี่ยวกับ ศาสนา ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรมการแต่งกาย ตลอดจนการแสดงการเล่นพื้นเมืองต่าง ๆ ของแต่ละยุคสมัยและสาระอื่น ๆ ที่ประกอบกันเป็นภาพจิตรกรรมไทย วิวัฒนาการของงานจิตรกรรมไทย แบ่งออกตามลักษณะรูปแบบทางศิลปกรรมที่ปรากฏในปัจจุบันมีอยู่ 2 แบบ คือ
จิตรกรรมไทยแบบประเพณี
จิตรกรรมไทยแบบประเพณี เป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงความรู้สึกชีวิตจิตใจและความเป็นไทย ที่มีความอ่อนโยน ละมุนละไม สร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีตจนได้ลักษณะประจำชาติ มีลักษณะและรูปแบบพิเศษ นิยมเขียนบนฝาผนังภายในอาคารที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา และอาคารที่เกี่ยวกับบุคคลชั้นสูง เช่น โบสถ์ วิหาร พระที่นั่ง วัง บนผืนผ้า บนกระดาษ และบนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ โดยเขียนด้วย ตามกรรมวิธีของช่างเขียนไทยแต่โบราณ เนื้อหาที่เขียนมักเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอดีตพุทธ พุทธประวัติ ทศชาติชาดก ไตรภูมิ วรรณคดีและชีวิตไทย พงศาวดารต่าง ๆ ส่วนใหญ่นิยมเขียนประดับผนังพระอุโบสถ วิหารอันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ประกอบพิธีทางศาสนา ลักษณะจิตรกรรมไทยเป็นศิลปะแบบอุดมคติ (Idealistic) ผนวกเข้ากับเรื่องราวที่กึ่งลึกลับมหัศจรรย์ ซึ่งคล้ายกับงานจิตรกรรมในประเทศแถบตะวันออกหลาย ๆ ประเทศ เช่น อินเดีย ศรีลังกา จีนและญี่ปุ่น เป็นต้น เป็นภาพที่ระบายสีแบนเรียบ ด้วยสีค่อนข้างสดใส และมีการตัดเส้นเป็นภาพ 2 มิติ ให้ความรู้สึกเพียงด้านกว้างและยาว ไม่มีความลึก ไม่มีการใช้แสงและเงามาประกอบ จิตรกรรมไทยแบบประเพณีมีลักษณะพิเศษในการจัดวางภาพแบบเล่าเรื่องเป็นตอน ๆ ตามผนังช่องหน้าต่าง โดยรอบโบสถ์ วิหาร และผนังด้าน หน้าและหลังพระประธาน ภาพจิตรกรรมไทยมีการใช้สีแตกต่างกันออกไปตามยุคสมัย ทั้งเอกรงค์ และ โดยเฉพาะการใช้สีหลายๆ สีแบบพหุรงค์นิยมมากในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะได้สีจากต่างประเทศที่เข้ามาติดต่อค้าขายด้วย ทำให้ภาพจิตรกรรมไทยมีความสวยงามและสีสันที่หลากหลายมากขึ้น
รูปแบบลักษณะตัวภาพในจิตรกรรมไทยซึ่งจิตรกรไทยได้สร้างสรรค์ออกแบบไว้เป็นรูปแบบอุดมคติที่แสดงออกทางความคิดให้สัมพันธ์กับเนื้อเรื่องและความสำคัญ ของภาพ เช่น รูปเทวดา นางฟ้า กษัตริย์ นางพญา จะมีลักษณะเด่นงามสง่าด้วยลีลาอันชดช้อย แสดงอารมณ์ความรู้สึกปีติยินดี หรือเศร้าโศกเสียใจด้วยอากัปกิริยาท่าทาง ถ้าเป็นรูปยักษ์ มาร ก็แสดงออกด้วยท่าทางที่บึกบึน แข็งขัน ส่วนพวกวานรแสดงความลิงโลด คล่องแคล่วว่องไวด้วยลีลาท่วงท่าและหน้าตา สำหรับพวกชาวบ้านธรรมดาสามัญก็จะเน้นความตลกขบขัน สนุกสนานร่าเริงหรือเศร้าเสียใจออกทางใบหน้า ส่วนช้างม้าเหล่าสัตว์ทั้งหลายก็มีรูปแบบแสดงชีวิตเป็นธรรมชาติ ซึ่งจิตรกรไทยได้พยายามศึกษา ถ่ายทอดอารมณ์ สอดแทรกความรู้สึกในรูปแบบได้อย่างลึกซึ้ง เหมาะสม และสวยงาม
จิตรกรรมไทยแบบร่วมสมัย
จิตรกรรมไทยแบบร่วมสมัย (Thai Contemporary Painting) จิตรกรรมไทยร่วมสมัยเป็นผลมาจากความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการของโลก ความเจริญทางการศึกษา การคมนาคม การพาณิชย์ การปกครอง การรับรู้ข่าวสาร ความเป็นไปของโลกที่อยู่ห่างไกล ฯลฯ เหล่านี้ ล้วนมีผลต่อความรู้สึกนึกคิดและแนวทางการแสดงออกของศิลปินในยุคต่อๆ มาซึ่งได้พัฒนาไปตามสภาพแวดล้อม ความเปลี่ยนแปลงของชีวิต ความเป็นอยู่ ความรู้สึกนึกคิด และความนิยมในสังคม สะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ใหม่ของวัฒนธรรมไทยอีกรูปแบบหนึ่งอย่างมีคุณค่าเช่นเดียวกัน อนึ่งสำหรับลักษณะเกี่ยวกับจิตรกรรมไทยร่วมสมัยนั้น ส่วนใหญ่เป็นแนวทางเดียวกันกับลักษณะศิลปะแบบตะวันตกในลัทธิต่างๆ ตามความนิยมของศิลปินแต่ละคน
อ้างอิง
- คณะกรรมการเฉพาะกิจจัดทำหนังสือเมืองไทยของเรา เล่ม 2. (2535) เมืองไทยของเรา ฉบับที่สอง. สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. . หน้า 44.
- สายทิพย์, บันทึกวัฒนธรรม: “จิตรกรรมไทยประเพณี” มรดกศิลปสยาม 2007-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน นิตยสารหญิงไทย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir citrkrrmithy hmaythung phaphekhiynthimilksnaepnaebbxyangkhxngithythiaetktangcaksilpakhxngchnchatixunxyangchdecn thungaemcamixiththiphlsilpakhxngchatixunxyubang aetkddaeplng khlikhlay tdthxn hruxephimetimcnepnexklksnechphaakhxngtnexngidxyangswyngamlngtw miwiwthnakarthangdanrupaebbaelawithikarmatlxdcnthungpccubn sungsamarthphthnatxipxikinxnakht citrkrrmithyepnlksnaxudmkhti epnphaph 2 miti odynasingikliwtxnlangkhxngphaph singikliwtxnbnkhxngphaph ichsiaebbexkrngkh khux ichhlaysi aetmisithioddednephiyngsiediyw layithy epnswnprakxbkhxngphaphekhiynithyichtkaetngxakhar singkhxng ekhruxngich tang ekhruxngpradb l epnlwdlaythimichuxeriyktang knsungnaexaruprangcak thrrmchatimaprakxb echn laykrahnk laykracng laypracayam layekhruxetha epntn hruxepnrupthimacakkhwamechuxaelakhtiniym echn rupkhn rupethwda rupstw rupyks epntn citrkrrmithy epnwicitrsilpxyanghnung sungsngphlsathxnihehnwthnthrrmxndingamkhxngchati mikhunkhathangsilpaaelaepnpraoychntxkarsuksakhnkhwa mieruxngthiekiywkb sasna prawtisastr obrankhdi chiwitkhwamepnxyu wthnthrrmkaraetngkay tlxdcnkaraesdngkarelnphunemuxngtang khxngaetlayukhsmyaelasaraxun thiprakxbknepnphaphcitrkrrmithy wiwthnakarkhxngngancitrkrrmithy aebngxxktamlksnarupaebbthangsilpkrrmthipraktinpccubnmixyu 2 aebb khuxcitrkrrmithyaebbpraephnicitrkrrmfaphnng citrkrrmithyaebbpraephni epnsilpathimikhwampranitswyngam aesdngkhwamrusukchiwitciticaelakhwamepnithy thimikhwamxxnoyn lamunlaim srangsrrkhsubtxknmatngaetxditcnidlksnapracachati milksnaaelarupaebbphiess niymekhiynbnfaphnngphayinxakharthiekiywkbphuththsasna aelaxakharthiekiywkbbukhkhlchnsung echn obsth wihar phrathinng wng bnphunpha bnkradas aelabnsingkhxngekhruxngichtang odyekhiyndwy tamkrrmwithikhxngchangekhiynithyaetobran enuxhathiekhiynmkepneruxngrawekiywkbxditphuthth phuththprawti thschatichadk itrphumi wrrnkhdiaelachiwitithy phngsawdartang swnihyniymekhiynpradbphnngphraxuobsth wiharxnepnsthanthiskdisiththiprakxbphithithangsasna lksnacitrkrrmithyepnsilpaaebbxudmkhti Idealistic phnwkekhakberuxngrawthikungluklbmhscrry sungkhlaykbngancitrkrrminpraethsaethbtawnxxkhlay praeths echn xinediy srilngka cinaelayipun epntn epnphaphthirabaysiaebneriyb dwysikhxnkhangsdis aelamikartdesnepnphaph 2 miti ihkhwamrusukephiyngdankwangaelayaw immikhwamluk immikarichaesngaelaengamaprakxb citrkrrmithyaebbpraephnimilksnaphiessinkarcdwangphaphaebbelaeruxngepntxn tamphnngchxnghnatang odyrxbobsth wihar aelaphnngdan hnaaelahlngphraprathan phaphcitrkrrmithymikarichsiaetktangknxxkiptamyukhsmy thngexkrngkh aela odyechphaakarichsihlay siaebbphhurngkhniymmakinsmyrtnoksinthr ephraaidsicaktangpraethsthiekhamatidtxkhakhaydwy thaihphaphcitrkrrmithymikhwamswyngamaelasisnthihlakhlaymakkhun rupaebblksnatwphaphincitrkrrmithysungcitrkrithyidsrangsrrkhxxkaebbiwepnrupaebbxudmkhtithiaesdngxxkthangkhwamkhidihsmphnthkbenuxeruxngaelakhwamsakhy khxngphaph echn rupethwda nangfa kstriy nangphya camilksnaednngamsngadwylilaxnchdchxy aesdngxarmnkhwamrusukpitiyindi hruxesraoskesiyicdwyxakpkiriyathathang thaepnrupyks mar kaesdngxxkdwythathangthibukbun aekhngkhn swnphwkwanraesdngkhwamlingold khlxngaekhlwwxngiwdwylilathwngthaaelahnata sahrbphwkchawbanthrrmdasamykcaennkhwamtlkkhbkhn snuksnanraeringhruxesraesiyicxxkthangibhna swnchangmaehlastwthnghlaykmirupaebbaesdngchiwitepnthrrmchati sungcitrkrithyidphyayamsuksa thaythxdxarmn sxdaethrkkhwamrusukinrupaebbidxyangluksung ehmaasm aelaswyngamcitrkrrmithyaebbrwmsmycitrkrrmithyaebbrwmsmy Thai Contemporary Painting citrkrrmithyrwmsmyepnphlmacakkhwamecriykawhnathangwithyakarkhxngolk khwamecriythangkarsuksa karkhmnakhm karphanichy karpkkhrxng karrbrukhawsar khwamepnipkhxngolkthixyuhangikl l ehlani lwnmiphltxkhwamrusuknukkhidaelaaenwthangkaraesdngxxkkhxngsilpininyukhtx masungidphthnaiptamsphaphaewdlxm khwamepliynaeplngkhxngchiwit khwamepnxyu khwamrusuknukkhid aelakhwamniyminsngkhm sathxnihehnthungexklksnihmkhxngwthnthrrmithyxikrupaebbhnungxyangmikhunkhaechnediywkn xnungsahrblksnaekiywkbcitrkrrmithyrwmsmynn swnihyepnaenwthangediywknkblksnasilpaaebbtawntkinlththitang tamkhwamniymkhxngsilpinaetlakhnxangxingkhnakrrmkarechphaakiccdthahnngsuxemuxngithykhxngera elm 2 2535 emuxngithykhxngera chbbthisxng sanknganesrimsrangexklksnkhxngchati sankelkhathikarnaykrthmntri ISBN 974 7771 27 6 hna 44 saythiphy bnthukwthnthrrm citrkrrmithypraephni mrdksilpsyam 2007 09 26 thi ewyaebkaemchchin nitysarhyingithy