อะมิกาซิน (อังกฤษ: Amikacin) เป็นยาปฏิชีวนะในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ มีข้อบ่งใช้สำหรับการรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ การติดเชื้อในข้อ, , เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, ปอดบวม, ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ, และการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ นอกจากนี้ยังมีการใช้ยานี้ในผู้ป่วยวัณโรคที่อีกด้วย ยานี้มีทั้งในรูปแบบฉีดเข้ากล้ามเนื้อและ ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Amikin, Amiglyde-V, Arikayce, อื่น ๆ |
/ | โมโนกราฟ |
a682661 | |
ข้อมูลทะเบียนยา |
|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | >90% |
0–11% | |
การเปลี่ยนแปลงยา | ส่วนใหญ่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลง |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 2–3 ชั่วโมง |
การขับออก | ไต |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS |
|
(PubChem) CID |
|
DrugBank |
|
ChemSpider |
|
| |
| |
| |
| |
100.048.653 | |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C22H43N5O13 |
585.608 g·mol−1 | |
แบบจำลอง 3D () |
|
| |
| |
(verify) | |
อะมิกาซินออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนของเชื้อแบคทีเรีย โดยจะเข้าจับกับหน่วยย่อยที่ 30 เอสของไรโบโซมแบคทีเรีย ทำให้แบคทีเรียนั้น ๆ ไม่สามารถสังเคราะห์โปรตีนที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตและเจริญเติบโตได้ ซึ่งจะส่งผลให้เซลล์แบคทีเรียนั้นตายไปในที่สุด ทั้งนี้ อะมิกาซินมีอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาเช่นเดียวกันกับยาอื่นในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ คือ สามารถทำให้เกิดการสูญเสียการได้ยิน, การทรงตัวผิดปกติ, และเกิดปัญหาเกี่ยวกับไตได้ ส่วนอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้ แต่พบอุบัติการณ์การเกิดค่อนข้างน้อย ได้แก่ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาเกี่ยวกับระบบการหายใจตามมาได้ นอกจากนี้ การใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์อาจทำให้เด็กที่คลอดออกมามีภาวะหูหนวกแบบถาวรได้
อะมิกาซินเป็นยาที่พัฒนาขึ้นมาจากกานามัยซิน ได้รับการจดสิทธิบัตรเมื่อ ค.ศ. 1971 และถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายเป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1976 โดยได้ถูกจัดเป็นหนึ่งใน (World Health Organization's List of Essential Medicines) ซึ่งเป็นรายการยาที่มีความสำคัญเป็นลำดับแรกของระบบสุขภาพพื้นฐานของประชาชนในประเทศต่าง ๆ สำหรับการขายส่งของยานี้ในประเทศกำลังพัฒนามีราคาประมาณ 11 – 106 ยูโรต่อการรักษาด้วยยานี้หนึ่งเดือน ในสหรัฐอเมริกา ค่าใช้จ่ายเฉพาะค่ายาสำหรับการรักษาด้วยอะมิกาซินหนึ่งรอบการรักษาอยู่ที่ประมาณ 25 – 50 ดอลลาร์สหรัฐ
การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์
ในปัจจุบันมีการใช้อะมิกาซินบ่อยครั้งขึ้นในการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียที่มีอาการรุนแรง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การติดเชื้อ, แบคทีเรียแกรมลบที่ไม่ใช้ออกซิเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง , Acinetobacter, , E. coli, Proteus, , และ มีเพียงเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก 2 สกุลเท่านั้นที่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยอะมิกาซิน ได้แก่ Staphylococcus และ นอกจากนี้อะมิกาซินยังถูกใช้ในการรักษาโรคที่เกิดจากการติดที่ไม่ใช่วัณโรค (non-tubercular Mycobacterium infections) และวัณโรค (ในสายพันธุ์ที่ไวต่อยานี้) ในกรณีที่การรักษาทางเลือกแรกไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ ทั้งนี้ ในปัจจุบันมีการใช้อะมิกาซินเป็นยาปฏิชีวนะเดี่ยวในการรักษาโรคใดโรคหนึ่งน้อยมาก ส่วนใหญ่มักใช้ร่วมกับยาปฏิชีวนะอื่น เพื่อเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน
ภาวะหรือโรคที่มักใช้อะมิกาซินเป็นยาในการรักษาอยู่บ่อยครั้ง ได้แก่:
- โรคหลอดลมพอง (Bronchiectasis)
- (Granulocytopenia) ในผู้ป่วยมะเร็ง โดยมักใช้ร่วมกับไทคาร์ซิลลิน
- เช่น ภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ เป็นยาที่ใช้เสริมฤทธิ์ยาปฏิชีวนะอื่น เช่น , , ปิปเปอราซิลลิน/ทาโซแบคแตม, หรือ แอมพิซิลลิน/ซัลแบคแตม
- เยื่อหุ้มสมองอักเสบ:
- กรณีเชื้อสาเหตุ คือ E. coli จะใช้อะมิกาซินเสริมฤทธิ์กับ
- กรณีเชื้อสาเหตุ คือ Pseudomonas จะใช้อะมิกาซินเสริมฤทธิ์กับ
- กรณีเชื้อสาเหตุ คือ Acetobacter จะใช้อะมิกาซินเสริมฤทธิ์กับ หรือ
- กรณี ที่มีสาเหตุมาจาก หรือ จะใช้อะมิกาซินเสริมฤทธิ์กับแอมพิซิลลิน
- กรณี ที่มีสาเหตุมาจากแบคทีเรียแกรมลบ เช่น E. coli จะใช้อะมิกาซินเสริมฤทธิ์กับ
- รวมไปถึงการใช้เป็นยาทางเลือกรองสำหรับวัณโรคระยะแสดงอาการ รวมไปถึงโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ , , , และ
- การติดเชื้อ ซึ่งจะมีอาการคล้ายคลึงกับวัณโรค
- การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ รวมไปถึงการใช้เสริมฤทธิ์กับ หรือ ในการรักษาโรคปอดอักเสบจากโรงพยาบาล
- ภาวะพิษเหตุติดเชื้อ รวมถึงในเด็กแรกเกิด โดยใช้เสริมฤทธิ์กับ หรือ
- การติดเชื้อที่ผิวหนังและแผลเย็บ
- การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ กรณีที่เชื้อสาเหตุเป็นเชื้อที่ดื้อต่อยาปฏิชีวนะอื่น (ส่วนใหญ่มักเป็น หรือ P. aeruginosa)
นอกจากข้อบ่งใช้ดังข้างต้นแล้ว อะมิกาซินยังสามารถให้ร่วมกับยาปฏิชีวนะเพื่อเป็นการให้ยาปฏิชีวนะแบบครอบคลุมเชื้ออย่างกว้าง (empiric therapy) ในผู้ป่วยที่มีภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำรวมกับมีไข้ (Febrile Neutropenia)
ในปัจจุบันมีการพัฒนาอะมิกาซินให้บรรจุอยู่ในไลโปโซมสำหรับเตรียมเป็นตำรับสำหรับสูตรพ่นเข้าทางจมูก เพื่อรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น ซิสติก ไฟโบรซิส, การติดเชื้อ Pseudomonas aeruginosa, การติดเชื้อไมโคแบคทีเรียที่ไม่ใช่วัณโรค, และโรคหลอดลมพอง เป็นต้น ซึ่งยารูปแบบดังกล่าวตอนนี้กำลังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาทางคลินิกในระยะสุดท้าย
รูปแบบเภสัชภัณฑ์
ปัจจุบัน อะมิกาซินมีในรูปแบบยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำและยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ซึ่งต้องบริหารยาวันละ 1–2 ครั้ง อย่างไรก็ตาม นอกจากนี้ ปัจจุบันจะมีการพัฒนายานี้ให้อยู่ในรูปแบบยาพ่นได้ แต่กำลังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาประสิทธิภาพทางคลินิก อะมิกาซินไม่มีในรูปแบบยารับประทาน เนื่องจากยาถูกดูดซึมได้น้อยมากในทางเดินอาหาร ทั้งนี้ การใช้ยาอะมิกาซินในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตลดน้อยลงกว่าปกติ จำเป็นต้องมีการปรับขนาดยาตามค่าการขับครีอะตินีนของร่างกาย (creatinine clearance) ซึ่งโดยทั่วไปจะนิยมใช้วิธีการลดความถี่ในการบริหารยา ในผู้ป่วยที่มีติดเชื้อในระบบประสาทส่วนกลาง เช่น เยื่อหุ้มสมองอักเสบ สามารถบริหารยาอะมิกาซินโดยการฉีดเข้าทางน้ำไขสันหลัง (intrathecal injection) หรือฉีดเข้าทางโพรงสมอง (Intracerebroventricular injection) ได้เลย
กลุ่มประชากรพิเศษ
ในผู้ป่วยสูงอายุที่มีความจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยอะมิกาซิน ควรพิจารณาปรับลดขนาดยาลงจากขนาดปกติ ทั้งนี้เนื่องมาจากการทำงานของไตนั้นจะลดลงตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ความเสี่ยงที่จะเกิดอาการข้างเคียงหรือเกิดพิษจากยามีมากขึ้นได้หากใช้ยาในขนาดปกติ เช่นเดียวกับในเด็ก ซึ่งไตยังพัฒนาไม่เต็มที่ ก็ควรที่จะลดขนาดอะมิกาซินลงจากปกติเช่นกัน ในกรณีหญิงตั้งครรภ์นั้น ระดับความเสี่ยงต่อการเกิดพิษต่อทารกในครรภ์ของอะมิกาซินอยู่ในระดับ D ซึ่งหมายความว่า อะมิกาซินอาจทำให้เกิดอันตรายแก่ทารกในครรภ์ได้ จึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ โดยร้อยละ 16 ของขนาดยาอะมิกาซินที่ได้รับการบริหารเข้าสู่ร่างกายจะสามารถผ่านรกเข้าไปสู่ตัวอ่อนในครรภ์ได้ โดยยามีค่าครึ่งชีวิต 2 และ 3.7 ชั่วโมง ในแม่และตัวอ่อนในครรภ์ ตามลำดับ หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับอะมิกาซินร่วมกับยาในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ชนิดอื่น อาจทำให้เกิดของทารกได้ ส่วนกรณีหญิงให้นมบุตรนั้น พบว่า อะมิกาซินถูกขับออกมาทางน้ำนมได้ในเพียงปริมาณเล็กน้อยเท่านั้น
โดยทั่วไปแล้ว ควรหลีกเลี่ยงการใช้อะมิกาซินในเด็กทารก เนื่องจากทารกมีปริมาตรกระจายตัวที่ค่อนข้างสูง ทำให้ที่มีความเข้มข้นของอะมิกาซินในสารน้ำนอกเซลล์ (extracellular fluid) สูงกว่าผู้ใหญ่
สำหรับผู้สูงอายุนั้น พบว่าอะมิกาซินจะมีค่าครึ่งชีวิตที่สูงกว่าปกติ ทั้งเป็นผลเนื่องมาจากการกำจัดออกที่ลดน้อยลงของวัยนี้ โดยเมื่อเปรียบเทียบอัตราการกำจัดอะมิกาซินออกจากร่างกายโดยเฉลี่ยของคนที่มีอายุ 20 ปี กับ 80 ปี จะพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมาก คือ 6 ลิตรต่อชั่วโมง และ 3 ลิตรต่อชั่วโมง ตามลำดับ ในทางตรงกันข้าม ผู้ป่วยซิสติก ไฟโบรซิส กลับมีอัตราการกำจัดอะมิกาซินที่เร็วกว่ากลุ่มประชากรข้างต้นที่กล่าว นอกจากนี้แล้ว การใช้อะมิกาซินในผู้ป่วยที่มีโรคที่เกิดจากความผิดปกติของกล้ามเนื้อเช่น โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้าย หรือโรคพาร์คินสัน อาจทำให้ผู้ป่วยมีอาการทางกล้ามเนื้อที่แย่ลงมากกว่าเดิมได้ เนื่องจากอะมิกาซินมีผลทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงลงได้เช่นกัน
อาการไม่พึงประสงค์
อะมิกาซินมีอาการไม่พึงประสงค์ที่คล้ายคลึงกันกับยาอื่นในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ โดยอาการไม่พึงประสงค์ที่สำคัญและมีความรุนแรงมากจนต้องได้รับการเฝ้าระวังและติดตามการเกิดอาการดังกล่าวอย่างใกล้ชิดคือ และ ซึ่งอาจเกิดขึ้นอย่างรุนแรงจนทำให้หูหนวกถาวรได้ โดยอาการไม่พึงประสงค์ดังข้างต้นมีอุบัติการณ์การเกิดประมาณร้อยละ 1–10% ของผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาใด ๆ ในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ทั้งหมด โดยกลไกการเกิดคาดว่าเป็นผลมาจากการที่มียาดังกล่าวสะสมในไตและหูชั้นในมากเกินไป จนทำให้เกิดพยาธิสภาพในอวัยวะดังกล่าว
การใช้ยาอะมิกาซินในขนาดที่สูงหรือใช้ในระยะเวลาที่ยาวนานเกินกว่าที่กำหนดไว้ในแนวทางการรักษาอาจทำให้เกิด โดยอาการแสดงที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติดังกล่าว ได้แก่ อาการรู้สึกหมุน, , ตามผิวหนัง, , และชัก. หากเกิดพิษต่อเส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 (vestibulocochlear nerve) จะทำให้เกิด ซึ่งจะมีอาการแสดงที่สำคัญ คือ สูญเสียการทรงตัว และสูญเสียการได้ยิน ความเสียหายที่เกิดต่อคอเคลียนั้นมีสาเหตุมาจากการที่ยาเหนี่ยวนำให้เกิดการอะพอพโทซิสของเซลล์ขน ทำให้หูสูญเสียความสามารถในการรับรู้เสี่ยงคลื่นความถี่สูงไป และความผิดปกตินี้มักจะเกิดขึ้นก่อนที่จะมีอาการแสดงอื่น ๆ ที่บ่งบอกถึงการสูญเสียการได้ยิน ส่วนความเสียหายที่เกิดต่อนั้น คาดว่าน่าจะมาจากมีอนุมูลอิสระถูกสร้างขึ้นมามากเกินไป ทั้งนี้ ความผิดปกติข้างต้นที่กล่าวนั้นพบว่ามีความสัมพันธ์กับการได้รับการรักษาด้วยยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์เป็นระยะเวลานานเกินไปมากกว่าการได้รับยาเกินขนาด ดังนั้น การลดระยะเวลาในการใช้ยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์จึงสามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดพิษหรืออาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงดังข้างต้นได้
อะมิกาซินสามารถก่อให้เกิดพิษต่อไตได้ โดยการสร้างความเสียหายให้เกิดกับ (proximal tubule) เนื่องจากอะมิกาซินสามารถถูกทำให้เป็นได้ง่าย และอะมิกาซินที่เป็นประจุบวกนี้จะเข้าจับกับส่วนที่เป็นประจุลบของเซลล์เยื่อบุ และถูกนำเข้าสู่เซลล์กระบวนการพิโนไซโตซิส ทั้งนี้ ความเข้มข้นของอะมิกาซินใน (renal cortex) นั้นจะมีค่าสูงกว่าความเข้มข้นของยาดังกล่าวในกระแสเลือดสูงถึง 10 เท่า โดยยานี้จะเข้าไปรบกวนการเปลี่ยนแปลงฟอสโฟลิพิดในไลโซโซม ซึ่งจะทำให้เอนไซม์ไลติคชนิดต่าง ๆ ถูกปล่อยจากไลโซโซมเข้าสู่ไซโทพลาซึม จนทำให้เกิดความเสียกับเซลล์นั้นทั้งเซลล์ ภาวะการเกิดพิษต่อไตของอะมิกาซินนี้จะทำให้ระดับครีอะตินีนในเลือด, , เซลล์เม็ดเลือดแดง, และ เซลล์เม็ดเลือดขาว เพิ่มสูงขึ้น รวมไปถึงทำให้เกิดความผิดปกติเหล่านี้ได้ อาทิ (albuminuria), (glycosuria), ความถ่วงจำเพาะของปัสสาวะลดลง, (oliguria) เป็นต้น ในบางครั้งอาจเกิด (Urinary cast) ได้เช่นกัน การเปลี่ยนแปลงของการทำงานของ (renal tubular) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับอิเล็กโทรไลต์ และของร่างกาย นำไปสู่การเกิด (hypokalemia) และเลือดเป็นกรด หรือเลือดเป็นด่างได้ การเกิดพิษต่อไตจากอะมิกาซินมักจะเกิดขึ้นได้ง่ายในผู้ที่มี, , , เลือดเป็นกรด, อัตราการกรองของไตต่ำ, เบาหวาน, ภาวะที่ร่างกายขาดน้ำ, ไข้, และภาวะพิษเหตุติดเชื้อ อยู่ก่อนหน้าแล้ว รวมไปถึงผู้อยู่ระหว่างการรับประทานยาที่มียับยั้งการสร้างโพรสตาแกลนดินด้วย โดยปกติแล้ว อาการพิษนี้มักหายเป็นปกติหลังจากการสิ้นสุดการรักษาด้วยอะมิกาซิน และสามารถหลีกเลี่ยงการเกิดพิษดังกล่าวได้ด้วยการไม่บริหารยาให้กับผู้ป่วยบ่อยครั้งเกินไป (เช่น บริหารยาให้แค่วันละ 1 ครั้ง หรือทุก 24 ชั่วโมง แทนที่จะใช้การบริหารยาแบบทุก ๆ 8 ชั่วโมง)
นอกจากนี้อะมิกาซินยังสามารถทำให้ภาวะหย่อนของกล้ามเนื้อ (neuromuscular blockade) ได้ รวมไปถึงการทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน (acute muscular paralysis) ซึ่งอาจรุนแรงจนทำให้เกิดการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ควบคุมระบบทางเดินหาย จนอาจทำให้เกิดการหยุดหายใจได้ (apnea) ส่วนอาการไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดได้จากการได้รับการรักษาด้วยอะมิกาซิน ได้แก่ ภาวะภูมิไวเกิน, เกิดผื่นบนผิวหนัง, , ปวดศีรษะ, , คลื่นไส้และอาเจียน, , [ปวดในข้อ]], โลหิตจาง, ความดันโลหิตต่ำ, และ ซึ่งอาการไม่พึงประสงค์ดังข้างต้นนั้นสามารถเกิดขึ้นได้น้อยกว่าร้อยละ 1 ของผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยอะมิกาซิน ส่วนการบริหารยาอะมิกาซินด้วยการฉีดเข้าดวงตานั้น สามารถทำให้เกิดการสูญเสียการมองเห็นอย่างถาวรได้
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
ในกลุ่มที่มีประวัติการแพ้ต่อยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ชนิดใด ๆ ควรหลีกเลี่ยงการใช้อะมิกาซินในการรักษา เนื่องจากอาจเกิดปฏิกิริยาการแพ้ยาข้ามชนิดได้ นอกจากนี้ ผู้ที่มีความไวต่อมากกว่าปกติ ซึ่งส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยโรคหอบหืด ซึ่งก็ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยานี้เช่นกัน เนื่องจากในส่วนผสมของเภสัชภัณฑ์ของอะมิกาซินส่วนใหญ่นั้นมักมีส่วนผสมของรวมอยู่ด้วย
โดยปกติแล้ว ไม่ควรบริหารยาอะมิกาซิน ร่วมกับ หรือก่อน หรือหลัง ยาอื่นที่ทำให้เกิดพิษต่อไต ระบบประสาท และหู เช่นเดียวกับอะมิกาซิน ซึ่งยาเหล่านั้นได้แก่ ยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ทุกชนิด, อะไซโคลเวียร์, แอมโฟเทอริซินบี, , , , , แวนโคมัยซิน, และซิสพลาติน รวมถึงการห้ามใช้ร่วมกับ (Neuromuscular Blocking Agents) เนื่องจากจะทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรง และเป็นอัมพาตได้
อันตรกิริยา
เป็นที่คาดการณ์กันไว้ว่าอะมิกาซินสามารถถูกทำให้หมดฤทธิ์ได้โดยยาอื่นใน แต่ยาอื่นในกลุ่มนี้กลับไม่ได้รับผลดังกล่าวจากยาใน และยังมีการใช้ร่วมกับเพนิซิลลินอยู่บ่อยครั้ง เพื่อเสริมฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรีย รวมไปถึงการใช้ร่วมกับเพื่อเสริมฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกบางสายพันธุ์ ส่วนเซฟาโลสปอรินซึ่งเป็นอีกกลุ่มย่อยหนึ่ง สามารถเพิ่มความเป็นพิษต่อไตของยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ได้ รวมถึงการเพิ่มขึ้นของระดับครีอะตินีนในกระแสเลือดได้ ส่วนยาปฏิชีวนะอื่นอย่างคลอแรมเฟนิคอล, , และเตตราไซคลีน นั้นจะมีผลทำให้ยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์หมดฤทธิ์ไป โดยการออกฤทธิ์ต้านกันทางเภสัชวิทยา
ทั้งนี้ ฤทธิ์ของอะมิกาซินจะเพิ่มขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับยาที่ได้มากจากชีวพิษโบทูลินัม,ยาชา, , หรือการได้รับเลือดที่มีส่วนผสมของในขนาดสูง ซึ่งนิยมใช้เป็นสารที่ป้องกันการแข็งตัวของเลือด
นอกจากนี้ ยาขับปัสสาวะที่ออกฤทธิ์ซึ่งโดยปกติก็อาจทำให้เกิดพิษต่อหูได้โดยปกติอยู่แล้ว หากนำมาใช้ร่วมกับอะมิกาซินจะทำให้ระดับความเข้มข้นของอะมิกาซินในเลือดและเนื้อเยื่อเพิ่มสูงขึ้น ทำให้เกิดการเป็นพิษต่อหูมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้น ก็เป็นยาอีกชนิดหนึ่งที่สามารถเพิ่มความเข้มข้นของอะมิกาซินในร่างกายได้ยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตอรอยด์บางชนิดอย่าง อินโดเมตทาซิน สามารถเพิ่มความเข้มข้นของยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ในกระแสเลือดของทารกที่คลอดก่อนกำหนดได้อย่าง สามารถเพิ่มความเป็นพิษต่อไตและหูของอะมิกาซินได้ ในทางตรงกันข้าม อะมิกาซินสามารถลดผลของวัคซีนบางชนิดได้ เช่น วัคซีนบาซิลลัสกาลแม็ต-เกแร็ง (สำหรับวัณโรค), วัคซีนอหิวาตกโรค, และ โดยการต้านฤทธิ์กันทางเภสัชวิทยา
เภสัชวิทยา
กลไกการออกฤทธิ์
อะมิกาซินออกฤทธิ์จับกับของของไรโบโซมในเซลล์โพรคาริโอตแบบไม่ผันกลับ และยับยั้งการสังเคราะห์โปรตีนโดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของไรโบโซม ทำให้ไม่สามารถอ่านรหัสพันธุกรรมของเอ็มอาร์เอ็นเอได้อย่างถูกต้องได้ นอกจากนี้ยังแทรกแซงบริเวณที่มีปฏิกิริยาการจับคู่เบสแบบวอบเบิลของแอนไทโคดอนของ tRNA โดยประสิทธิภาพของอะมิกาซินนั้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้น (concentration-dependent antibiotic) และทำงานได้ดีในสภาพที่เป็นด่าง
โดยปกติแล้ว การรักษาโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ไวต่ออะมิกาซินด้วยยานี้จะตอบสนองต่อการรักษาภายใน 24–48 ชั่วโมง
การดื้อยา
อะมิกาซินไม่สามารถถูกทำลายได้ด้วยเอนไซม์ที่ทำหน้าที่ยับยั้งการออกฤทธิ์ของยาปฏิชีวนะ (antibiotic-inactivating enzyme) ได้เกือบทุกชนิด ซึ่งเป็นกลไกที่ทำให้แบคทีเรียเกิดการดื้อต่อยาปฏิชีวนะ ยกเว้นเอนไซม์อะมิโนอะซีติลทรานส์เฟอเรส (aminoacetyltransferase) และ (nucleotidyltransferase) ทั้งนี้ เป็นผลมาจากการที่อะมิกาซินมี L-hydroxyaminobuteroyl amide (L-HABA) moiety ที่จับอยู่กับอะตอมไนโตรเจนในตำแหน่งที่ 1 (N-1) ซึ่งตำแหน่งนี้ในกานามัยซินจะเป็นแค่อะตอมไฮโดรเจนธรรมดา ซึ่งส่วนของโมเลกุลส่วนนี้จะช่วยขัดขวางการเข้าทำปฏิกิริยาและลดความสามารถในการเข้าจับของเอนไซม์จากแบคทีเรียที่ทำหน้าที่ทำลายยากลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ ทั้งนี้ อะมิกาซินนั้นมีตำแหน่งในโมเลกุลเพียงตำแหน่งเดียวเท่านั้นที่เอนไซม์จากแบคทีเรียสามารถเข้าทำปฏิกิริยาเพื่อหมดฤทธิ์ได้ ขณะที่เจนตามัยซินและโทบรามัยซินนั้นมีมากถึง 6 ตำแหน่ง ทั้งนี้ เชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อสเตรปโตมัยซินและนั้นจะยังคงมีความไวต่ออะมิกาซินอยู่ ส่วนเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อต่อกานามัยซินจะมีบางส่วนที่ยังคงตอบสนองต่ออะมิกาซิน ในทางตรงกันข้าม หากเชื้อใดที่ดื้อต่ออะมิกาซินนั้นมักจะดื้อต่อกานามัยซินและด้วยเช่นกัน
การดื้อต่อยาอะมิกาซินและกานามัยซินของซึ่งเป็นเสื้อสาเหตุในวัณโรคนั้น เป็นผลมาจากการกลายพันธุ์ของยีน rrs ซึ่งอยู่บนของไรโบโซม การกลายพันธุ์นี้จะทำให้อะมิกาซินและกานามัยซินมีลดความจำเพาะต่อการจับกับไรโบโซมของแบคทีเรียลดน้อยลง มีเอนไซม์ aminoglycoside (AAC) และ aminoglycoside (AAD) หลากหลายชนิดที่ทำให้เชื้อแบคทีเรียดื้อต่อยาเหล่านี้ อาทิ การดื้อต่อยาของเชื้อ Pseudomonas aeruginosa มีสาเหตุมาจากการสร้างเอนไซม์ AAC (6') -IV ซึ่งส่งผลให้เชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ดื้อต่อกานามัยซิน, เจนตามัยซิน, และโทบรามัยซิน, กรณีการดื้อยาในเชื้อ Staphylococcus aureus และ มาสาเหตุมาจากการสร้างเอนไซม์ AAD (4',4) ส่งผลให้เชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ดื้อต่อกานามัยซิน, โทบรามัยซิน, และอาปรามัยซิน และในบางครั้ง S. aureus ก็สมารถทำให้อะมิกาซินหมดฤทธิ์ได้ด้วยการเกิดปฏิกิริยาฟอสโฟรีเลชัน
เภสัชจลนศาสตร์
อะมิกาซินไม่สามารถดูดซึมได้จากทางเดินอาหาร ดังนั้นการบริหารยาจึงจำเป็นต้องใช้วิธีการฉีด โดยหลังการบริหารยาโดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ระดับความเข้มข้นของยาในกระแสเลือดจะขึ้นถึงระดับสูงสุดใน 0.5–2 ชั่วโมง โดยร้อยละ 11 ของตัวยาทั้งหมดจะเข้าจับกับโปรตีนในกระแสเลือด ส่วนยาที่เหลือจะกระจายไปยังหัวใจ, ถุงน้ำดี, ปอด, และกระดูก รวมไปถึงในน้ำดี, เสมหะ, , , และ ส่วนในน้ำหล่อสมองไขสันหลังพบว่ามีความเข้มข้นของยานี้น้อยมาก (แต่ในกรณีการฉีดเข้าโพรงสมองจะมีความเข้มข้นสูง) ในทารก พบว่าความเข้มข้นของอะมิกาซินในน้ำหล่อสมองไขสันหลังจะมีค่าประมาณร้อยละ 10–20 ของความเข้มข้นในกระแสเลือด ในแต่กรณีที่มีภาวะเยื่อหุ้มสมองอักเสบร่วมด้วย ความเข้มข้นของยานี้ในน้ำหล่อสมองไขสันหลังอาจสูงถึงร้อยละ 50 ของความเข้มข้นในกระแสเลือด, ทั้งนี้ อะมิกาซินนั้นแพร่ผ่านตัวกรองกั้นระหว่างเลือดและสมอง (blood-brain barrier) และผ่านเข้าสู่เนื้อเยื่อของดวงตาได้น้อยมาก
ส่วนการขับยาออกจากร่างกายนั้น พบว่าอะมิกาซินมีค่าครึ่งชีวิตประมาณ 2 ชั่วโมงในคนปกติ และประมาณ 50 ชั่วโมงในผู้ที่เป็นโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย โดยร้อยละ 95 ของยานี้ที่ให้ในรูปแบบการฉีดเข้าหลอดเลือดดำและการฉีดเข้ากล้ามเนื้อจะถูกขับออกในรูปที่ไม่เปลี่ยนแปลงผ่านการกรองของไต แล้วออกมากับปัสสาวะภายใน 24 ชั่วโมง ปัจจัยที่ทำให้อะมิกาซินถูกขับออกมาทางปัสสาวะ ได้แก่ การมีมวลโมเลกุลขนาดเล็ก, ละลายน้ำได้ดี, และอยู่ในสถานะที่ไม่ถูกเปลี่ยนรูป.
เภสัชเคมี
อะมิกาซินสามารถสังเคราะห์ได้จาก ดังแสดงในแผนภาพ:
การใช้ในการปศุสัตว์
อะมิกาซินเป็นยาปฏิชีวนะเพียงชนิดเดียวในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์ที่ได้รับการรับรองจากองค์การและยาของสหรัฐอเมริกาให้ใช้ในสุนัขและการติดเชื้อแบคทีเรียในมดลูกของม้า ทำให้อะมิกาซินเป็นยาปฏิชีวนะที่นิยมใช้กันเป็นอย่างมากในการสัตวแพทย์ นอกจากนี้ยังมีการใช้ยานี้ในแมว, หนูตะเภา, , แฮมสเตอร์, หนูแรท, หนูไมซ์, แพรรีด็อก, วัว, นก, งู, เต่าและเต่าบก, สัตว์ในอันดับจระเข้, กบอเมริกันบูลฟร็อก, และปลา นอกจากนี้ยังมีการใช้อะมิกาซินในการรักษาการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินหายใจของงู, bacterial shell disease ในเต่า, และโพรงอากาศอักเสบในมาคอว์ แต่ห้ามใช้ในกระต่ายและกระต่ายแจ็ก เนื่องจากจะทำให้เกิดความผิดปกติของเชื้อจุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ของสัตว์เหล่านี้
สำหรับสุนัขและแมวนั้น มีการใช้อะมิกาซินในรูปแบบยาใช้ภายนอกสำหรับการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณหูและกระจกตาเป็นแผลกันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากความเจ็บป่วยเหล่านั้นมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ Pseudomonas aeruginosa โดยจำเป็นต้องมีการทำความสะอาดบริเวณหูก่อนที่จะมีการบริหารยา เนื่องจากหนองและเศษซากของเซลล์ที่ตายแล้วนั้นจะทำให้ได้รับผลการรักษาจากอะมิกาซินน้อยลง ในกรณีการติดเชื้อแบคทีเรียที่ตาของสัตว์เหล่านี้นั้น จะใช้อะมิกาซินในรูปแบบยาขี้ผึ้ง หรือยาหยอด หรือการฉีดเข้าใต้เยื่อบุตา (Subconjunctival injection) ทั้งนี้ การใช้อะมิกาซินสำหรับดวงตานั้นสามารถทดแทนได้ด้วย เนื่องจากอะมิกาซิน (รวมถึงยาอื่นในกลุ่มอะมิโนไกลโคไซด์) นั้นเป็นพิษต่ออวัยวะในดวงตา
การใช้อะมิกาซินในม้านั้น องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาได้รับรองให้ใช้ยานี้สำหรับการติดเชื้อแบคทีเรียในมดลูก (เช่น และ) ในกรณีที่เชื้อสาเหตุยังมีความไวต่อยานี้เท่านั้น นอกจากนี้ยังมีการใช้ยานี้ในรูปแบบยาใช้ภายนอกหรือยาใช้เฉพาะที่สำหรับการติดเชื้อแบคทีเรียที่ดวงตาและ (arthroscopic lavage) และอาจมีการใช้ร่วมกับยากลุ่มเซฟาโลสปอรินในการรักษาการติดเชื้อที่ผิวหนังที่มีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียสกุลสแตฟฟิโลคอคคัส ในกรณีการติดเชื้อที่แขน–ขา หรือข้อ มักมีการใช้อะมิกาซินร่วมกับยากลุ่มเซฟาโลสปอรินในรูปแบบการฉีดเข้าบริเวณที่มีการติดเชื้อโดยตรง นอกจากนี้แล้ว ยังมีการใช้อะมิกาซินฉีดเข้าสู่ข้อพร้อมกับยาต้านการอักเสบของข้อที่มีชื่อว่า (Polysulfated glycosaminoglycan – ชื่อการค้า คือ Adequan) เพื่อเป็นการป้องกันการติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
อาการไม่พึงประสงค์จากอะมิกาซินที่อาจเกิดขึ้นได้กับสัตว์ ได้แก่ การเกิดพิษต่อไต, การเกิดพิษต่อหู, และเกิดปฏิกิริยาการแพ้บริเวณที่ฉีด เป็นต้น โดยในแมวจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดพิษต่อระบบการทรงตัวเป็นอย่างมาก อาการไม่พึงประสงค์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้บ้าง ได้แก่ กล้ามเนื้ออ่อนแรง, ภาวะบวมน้ำที่หน้า, และปลายประสาทอักเสบ ทั้งนี้ ค่าครึ่งชีวิตของอะมิกาซินในสัตว์นั้นมีค่าประมาณ 1–2 ชั่วโมง
การรักษาในกรณีที่ได้รับยานี้เกินขนาดสามารถทำได้โดยการชำระเลือดผ่านเยื่อ หรือ ซึ่งจะช่วยลดระดับความเข้มข้นของอะมิกาซิน และ/หรือเพนิซิลลิน ซึ่งเพนิซิลลินบางส่วนจะจับกับอะมิกาซินเป็นสารประกอบเชิงซ้อนและทำให้อะมิกาซินไม่สามารถออกฤทธิ์ได้
อ้างอิง
- "Amikacin Use During Pregnancy". Drugs.com. 2 December 2019. สืบค้นเมื่อ 13 March 2020.
- "Amikacin 250 mg/ml Injection - Summary of Product Characteristics (SmPC)". (emc). 16 September 2015. สืบค้นเมื่อ 13 March 2020.
- อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อplumb
- "Amikacin Sulfate". The American Society of Health-System Pharmacists. จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 ธันวาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2016.
- World Health Organization (2009). Stuart MC, Kouimtzi M, Hill SR (บ.ก.). WHO Model Formulary 2008. World Health Organization. p. 137. :10665/44053. ISBN .
- Fischer, Janos; Ganellin, C. Robin (2006). Analogue-based Drug Discovery. John Wiley & Sons. p. 507. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 20 ธันวาคม 2016.
- Oxford Handbook of Infectious Diseases and Microbiology. OUP Oxford. 2009. p. 56. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2015.
- (PDF). World Health Organization. เมษายน 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 13 ธันวาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2016.
- . International Drug Price Indicator Guide (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 กันยายน 2022. สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2016.
- Hamilton, Richart (2015). Tarascon Pocket Pharmacopoeia 2015 Deluxe Lab-Coat Edition. Jones & Bartlett Learning. p. 35. ISBN .
- US National Library of Medicine (17 สิงหาคม 2016). "AMIKACIN SULFATE- amikacin sulfate injection". DailyMed. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2017.
- Scholar, Eric M.; Pratt, William B. (22 พฤษภาคม 2000). (2nd ed.). Oxford University Press, USA. pp. 15–19. ISBN . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Cunha, Burke A. (1 พฤศจิกายน 2006). "New Uses for Older Antibiotics: Nitrofurantoin, Amikacin, Colistin, Polymyxin B, Doxycycline, and Minocycline Revisited". Medical Clinics of North America. Antimicrobial Therapy. 90 (6): 1089–1107. doi:10.1016/j.mcna.2006.07.006. ISSN 0025-7125.
- "amikacin (Rx)". Medscape. WebMD. จากแหล่งเดิมเมื่อ 9 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 9 สิงหาคม 2017.
- Aronson J. K., บ.ก. (2016). "Amikacin". Meyler's Side Effects of Drugs (16th ed.). Oxford: Elsevier. pp. 207–209. ISBN .
- Vardanyan, Ruben; Hruby, Victor (2016). "Chapter 32: Antimicobacterial Drugs". Synthesis of Best-Seller Drugs. Boston: Academic Press. pp. 669–675. ISBN .
- . EU Clinical Trials Register. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มีนาคม 2016.
- "Study to Evaluate Arikayce™ in CF Patients With Chronic Pseudomonas Aeruginosa Infections". ClinicalTrials.gov. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017.
- "Arikayce for Nontuberculous Mycobacteria". ClinicalTrials.gov. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017.
- Ettinger, Stephen J.; Feldman, Edward C. (24 ธันวาคม 2009). Textbook of Veterinary Internal Medicine. Elsevier Health Sciences. pp. 1976, 523. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Maire, P.; Bourguignon, L.; Goutelle, S.; Ducher, M.; Jelliffe, R. (2017). "Chapter 20 - Individualizing Drug Therapy in the Elderly". Individualized Drug Therapy for Patients. Boston: Academic Press. pp. 373–382. ISBN .
- Eghianruwa, Kingsley (2014). Essential Drug Data for Rational Therapy in Veterinary Practice. Author House. p. 16. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Morris, Daniel O.; Kennis, Robert A. (11 ตุลาคม 2012). Clinical Dermatology, An Issue of Veterinary Clinics: Small Animal Practice, E-Book. Elsevier Health Sciences. p. 29. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Corti, Natascia; Taegtmeyer, Anne; Imhof, Alexander (1 มกราคม 2011). "Miscellaneous antibacterial drugs". Side Effects of Drugs Annual. A worldwide yearly survey of new data in adverse drug reactions. 33: 509–540. doi:10.1016/B978-0-444-53741-6.00026-X. ISBN . ISSN 0378-6080.
- Bauman, Robert W. (2015). Microbiology: with diseases by body system (4th ed.). Boston: Pearson. ISBN .
- "Amikacin". DrugBank. 2 สิงหาคม 2017. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2017.
- Mudd, Efrain (7 สิงหาคม 2017). "O Aminoglycosides". Pharmacological Sciences. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2017.
- Kondo, Shinichi; Hotta, Kunimoto (1 มกราคม 1999). "Semisynthetic aminoglycoside antibiotics: Development and enzymatic modifications". Journal of Infection and Chemotherapy. 5 (1): 1–9. doi:10.1007/s101560050001. ISSN 1341-321X. PMID 11810483.
- Park, Je Won; Ban, Yeon Hee; Nam, Sang-Jip; Cha, Sun-Shin; Yoon, Yeo Joon (1 ธันวาคม 2017). "Biosynthetic pathways of aminoglycosides and their engineering". Current Opinion in Biotechnology. Chemical biotechnology: Pharmaceutical biotechnology. 48: 33–41. doi:10.1016/j.copbio.2017.03.019. ISSN 0958-1669. PMID 28365471.
- Caminero, José A; Sotgiu, Giovanni; Zumla, Alimuddin; Migliori, Giovanni Battista (1 กันยายน 2010). "Best drug treatment for multidrug-resistant and extensively drug-resistant tuberculosis". The Lancet Infectious Diseases. 10 (9): 621–629. doi:10.1016/S1473-3099(10)70139-0. ISSN 1473-3099. PMID 20797644.
- Ahmad, Suhail; Mokaddas, Eiman (1 มีนาคม 2014). "Current status and future trends in the diagnosis and treatment of drug-susceptible and multidrug-resistant tuberculosis". Journal of Infection and Public Health. 7 (2): 75–91. doi:10.1016/j.jiph.2013.09.001. ISSN 1876-0341. PMID 24216518.
- Kawaguchi, H.; Naito, T.; Nakagawa, S.; Fujisawa, K. I. (ธันวาคม 1972). "BB-K 8, a new semisynthetic aminoglycoside antibiotic". The Journal of Antibiotics. 25 (12): 695–708. doi:10.7164/antibiotics.25.695. ISSN 0021-8820. PMID 4568692. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017.
- Monteleone, Peter M.; Muhammad, Naseem; Brown, Robert D.; McGrory, John P.; Hanna, Samir A. (1 มกราคม 1983). Amikacin Sulfate. Analytical Profiles of Drug Substances. Vol. 12. pp. 37–71. doi:10.1016/S0099-5428(08)60163-X. ISBN . ISSN 0099-5428.
- Forney, Barbara. "Amikacin for Veterinary Use". Wedgewood Pharmacy. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 9 สิงหาคม 2017.
- Riviere, Jim E.; Papich, Mark G. (13 พฤษภาคม 2013). Veterinary Pharmacology and Therapeutics. John Wiley & Sons. p. 931. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Mader, Douglas R.; Divers, Stephen J. (12 ธันวาคม 2013). Current Therapy in Reptile Medicine and Surgery - E-Book. Elsevier Health Sciences. p. 382. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Maggs, David; Miller, Paul; Ofri, Ron (7 สิงหาคม 2013). Slatter's Fundamentals of Veterinary Ophthalmology - E-Book. Elsevier Health Sciences. p. 37. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
- Hsu, Walter H. (25 เมษายน 2013). Handbook of Veterinary Pharmacology. John Wiley & Sons. p. 486. ISBN .
- US National Library of Medicine (9 มีนาคม 2017). "Amiglyde-V- amikacin sulfate injection". DailyMed. จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2017.
- Orsini, James A. (1 สิงหาคม 2017). "Update on Managing Serious Wound Infections in Horses: Wounds Involving Joints and Other Synovial Structures". Journal of Equine Veterinary Science. 55: 115–122. doi:10.1016/j.jevs.2017.01.016. ISSN 0737-0806.
- Wanamaker, Boyce P.; Massey, Kathy (25 มีนาคม 2014). Applied Pharmacology for Veterinary Technicians - E-Book. Elsevier Health Sciences. p. 392. ISBN .
- Papich, Mark G. (ตุลาคม 2015). "Amikacin". Saunders Handbook of Veterinary Drugs: Small and Large Animal (4th ed.). Elsevier Health Sciences. pp. 25–27. ISBN . จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 กันยายน 2017.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "Amikacin". Drug Information Portal. หอสมุดแห่งชาติการแพทย์สหรัฐ.
- "Amikacin sulfate". Drug Information Portal. หอสมุดแห่งชาติการแพทย์สหรัฐ.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xamikasin xngkvs Amikacin epnyaptichiwnainklumxamioniklokhisd mikhxbngichsahrbkarrksaorkhthiekidcakkartidechuxaebkhthieriy idaek kartidechuxinkhx eyuxhumsmxngxkesb pxdbwm phawaphisehtutidechux aelakartidechuxinrabbthangedinpssawa nxkcakniyngmikarichyaniinphupwywnorkhthixikdwy yanimithnginrupaebbchidekhaklamenuxaela chidekhahlxdeluxddaxamikasinkhxmulthangkhlinikchuxthangkarkhaAmikin Amiglyde V Arikayce xun omonkrafa682661khxmulthaebiynyaUS AmikacinradbkhwamesiyngtxtharkinkhrrphAU D US D mikhwamesiyng kthmaysthanatamkthmayAU txngichibsngya UK Prescription only US EU Rx onlykhxmulephschclnsastrchiwprasiththiphl gt 90 0 11 karepliynaeplngyaswnihyimthukepliynaeplngkhrungchiwitthangchiwphaph2 3 chwomngkarkhbxxkittwbngchichuxtamrabb IUPAC 2S 4 Amino N 2S 3S 4R 5S 5 amino 2 2S 3R 4S 5S 6R 4 amino 3 5 dihydroxy 6 hydroxymethyl oxan 2 yl oxy 4 2R 3R 4S 5R 6R 6 aminomethyl 3 4 5 trihydroxy oxan 2 yl oxy 3 hydroxy cyclohexyl 2 hydroxybutanamideelkhthaebiyn CAS37517 28 5 YPubChem CID37768DrugBankDB00479 YChemSpider34635 Y84319SGC3CD02543 Yinthanaeklux D00865 YCHEBI 2637 YCHEMBL177 Y100 048 653khxmulthangkayphaphaelaekhmisutrC 22H 43N 5O 13585 608 g mol 1aebbcalxng 3D Interactive imageO C N C H 3 C H O C H 1O C H C H O C H N C H 1O CO C H O C H O C H 2O C H CN C H O C H O C H 2O C H N C3 C H O CCNInChI 1S C22H43N5O13 c23 2 1 8 29 20 36 27 7 3 6 25 18 39 22 16 34 15 33 13 31 9 4 24 37 22 17 35 19 7 40 21 14 32 11 26 12 30 10 5 28 38 21 h6 19 21 22 28 35H 1 5 23 26H2 H 27 36 t6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 21 22 m0 s1 YKey LKCWBDHBTVXHDL RMDFUYIESA N Y verify saranukrmephschkrrm xamikasinxxkvththiybyngkarsngekhraahoprtinkhxngechuxaebkhthieriy odycaekhacbkbhnwyyxythi 30 exskhxngirobosmaebkhthieriy thaihaebkhthieriynn imsamarthsngekhraahoprtinthicaepntxkardarngchiwitaelaecriyetibotid sungcasngphlihesllaebkhthieriynntayipinthisud thngni xamikasinmixakarimphungprasngkhcakkarichyaechnediywknkbyaxuninklumxamioniklokhisd khux samarththaihekidkarsuyesiykaridyin karthrngtwphidpkti aelaekidpyhaekiywkbitid swnxakarkhangekhiyngthixacekidkhunid aetphbxubtikarnkarekidkhxnkhangnxy idaek klamenuxxxnaerng sungcathaihphupwymipyhaekiywkbrabbkarhayictammaid nxkcakni karichyaniinhyingtngkhrrphxacthaihedkthikhlxdxxkmamiphawahuhnwkaebbthawrid xamikasinepnyathiphthnakhunmacakkanamysin idrbkarcdsiththibtremux kh s 1971 aelathuknamaichxyangaephrhlayepnkhrngaerkinpi kh s 1976 odyidthukcdepnhnungin World Health Organization s List of Essential Medicines sungepnraykaryathimikhwamsakhyepnladbaerkkhxngrabbsukhphaphphunthankhxngprachachninpraethstang sahrbkarkhaysngkhxngyaniinpraethskalngphthnamirakhapraman 11 106 yuortxkarrksadwyyanihnungeduxn inshrthxemrika khaichcayechphaakhayasahrbkarrksadwyxamikasinhnungrxbkarrksaxyuthipraman 25 50 dxllarshrthkarichpraoychnthangkaraephthyinpccubnmikarichxamikasinbxykhrngkhuninkarrksaorkhtidechuxaebkhthieriythimixakarrunaerng odyechphaaxyangying kartidechux aebkhthieriyaekrmlbthiimichxxksiecn odyechphaaxyangying Acinetobacter E coli Proteus aela miephiyngechuxaebkhthieriyaekrmbwk 2 skulethannthitxbsnxngtxkarrksadwyxamikasin idaek Staphylococcus aela nxkcaknixamikasinyngthukichinkarrksaorkhthiekidcakkartidthiimichwnorkh non tubercular Mycobacterium infections aelawnorkh insayphnthuthiiwtxyani inkrnithikarrksathangeluxkaerkimsamarthkhwbkhumxakarkhxngorkhid thngni inpccubnmikarichxamikasinepnyaptichiwnaediywinkarrksaorkhidorkhhnungnxymak swnihymkichrwmkbyaptichiwnaxun ephuxesrimvththisungknaelakn phawahruxorkhthimkichxamikasinepnyainkarrksaxyubxykhrng idaek orkhhlxdlmphxng Bronchiectasis Granulocytopenia inphupwymaerng odymkichrwmkbithkharsillin echn phawaeyuxbuchxngthxngxkesb epnyathiichesrimvththiyaptichiwnaxun echn pipepxrasillin thaosaebkhaetm hrux aexmphisillin slaebkhaetm eyuxhumsmxngxkesb krniechuxsaehtu khux E coli caichxamikasinesrimvththikb krniechuxsaehtu khux Pseudomonas caichxamikasinesrimvththikb krniechuxsaehtu khux Acetobacter caichxamikasinesrimvththikb hrux krni thimisaehtumacak hrux caichxamikasinesrimvththikbaexmphisillin krni thimisaehtumacakaebkhthieriyaekrmlb echn E coli caichxamikasinesrimvththikb rwmipthungkarichepnyathangeluxkrxngsahrbwnorkhrayaaesdngxakar rwmipthungorkhthiekidcakkartidechux aela kartidechux sungcamixakarkhlaykhlungkbwnorkh kartidechuxinrabbthangedinhayic rwmipthungkarichesrimvththikb hrux inkarrksaorkhpxdxkesbcakorngphyabal phawaphisehtutidechux rwmthunginedkaerkekid odyichesrimvththikb hrux kartidechuxthiphiwhnngaelaaephleyb kartidechuxinrabbthangedinpssawa krnithiechuxsaehtuepnechuxthiduxtxyaptichiwnaxun swnihymkepn hrux P aeruginosa nxkcakkhxbngichdngkhangtnaelw xamikasinyngsamarthihrwmkbyaptichiwnaephuxepnkarihyaptichiwnaaebbkhrxbkhlumechuxxyangkwang empiric therapy inphupwythimiphawaemdeluxdkhawtarwmkbmiikh Febrile Neutropenia inpccubnmikarphthnaxamikasinihbrrcuxyuiniloposmsahrbetriymepntarbsahrbsutrphnekhathangcmuk ephuxrksaorkhthiekidcakkartidechuxinrabbthangedinhayic echn sistik ifobrsis kartidechux Pseudomonas aeruginosa kartidechuximokhaebkhthieriythiimichwnorkh aelaorkhhlxdlmphxng epntn sungyarupaebbdngklawtxnnikalngxyuinkhntxnkarsuksathangkhlinikinrayasudthay rupaebbephschphnth pccubn xamikasinmiinrupaebbyachidekhahlxdeluxddaaelayachidekhaklamenux sungtxngbriharyawnla 1 2 khrng xyangirktam nxkcakni pccubncamikarphthnayaniihxyuinrupaebbyaphnid aetkalngxyuinkhntxnkarsuksaprasiththiphaphthangkhlinik xamikasinimmiinrupaebbyarbprathan enuxngcakyathukdudsumidnxymakinthangedinxahar thngni karichyaxamikasininphupwythimikarthangankhxngitldnxylngkwapkti caepntxngmikarprbkhnadyatamkhakarkhbkhrixatininkhxngrangkay creatinine clearance sungodythwipcaniymichwithikarldkhwamthiinkarbriharya inphupwythimitidechuxinrabbprasathswnklang echn eyuxhumsmxngxkesb samarthbriharyaxamikasinodykarchidekhathangnaikhsnhlng intrathecal injection hruxchidekhathangophrngsmxng Intracerebroventricular injection idely klumprachakrphiess inphupwysungxayuthimikhwamcaepntxngidrbkarrksadwyxamikasin khwrphicarnaprbldkhnadyalngcakkhnadpkti thngnienuxngmacakkarthangankhxngitnncaldlngtamxayuthiephimmakkhun sngphlihkhwamesiyngthicaekidxakarkhangekhiynghruxekidphiscakyamimakkhunidhakichyainkhnadpkti echnediywkbinedk sungityngphthnaimetmthi kkhwrthicaldkhnadxamikasinlngcakpktiechnkn inkrnihyingtngkhrrphnn radbkhwamesiyngtxkarekidphistxtharkinkhrrphkhxngxamikasinxyuinradb D sunghmaykhwamwa xamikasinxacthaihekidxntrayaektharkinkhrrphid cungkhwrhlikeliyngkarichyaniinhyingtngkhrrph odyrxyla 16 khxngkhnadyaxamikasinthiidrbkarbriharekhasurangkaycasamarthphanrkekhaipsutwxxninkhrrphid odyyamikhakhrungchiwit 2 aela 3 7 chwomng inaemaelatwxxninkhrrph tamladb hyingtngkhrrphthiidrbxamikasinrwmkbyainklumxamioniklokhisdchnidxun xacthaihekidkhxngtharkid swnkrnihyingihnmbutrnn phbwa xamikasinthukkhbxxkmathangnanmidinephiyngprimanelknxyethann odythwipaelw khwrhlikeliyngkarichxamikasininedkthark enuxngcaktharkmiprimatrkracaytwthikhxnkhangsung thaihthimikhwamekhmkhnkhxngxamikasininsarnanxkesll extracellular fluid sungkwaphuihy sahrbphusungxayunn phbwaxamikasincamikhakhrungchiwitthisungkwapkti thngepnphlenuxngmacakkarkacdxxkthildnxylngkhxngwyni odyemuxepriybethiybxtrakarkacdxamikasinxxkcakrangkayodyechliykhxngkhnthimixayu 20 pi kb 80 pi caphbwamikhwamaetktangknxyangmak khux 6 litrtxchwomng aela 3 litrtxchwomng tamladb inthangtrngknkham phupwysistik ifobrsis klbmixtrakarkacdxamikasinthierwkwaklumprachakrkhangtnthiklaw nxkcakniaelw karichxamikasininphupwythimiorkhthiekidcakkhwamphidpktikhxngklamenuxechn orkhklamenuxxxnaerngchnidray hruxorkhpharkhinsn xacthaihphupwymixakarthangklamenuxthiaeylngmakkwaedimid enuxngcakxamikasinmiphlthaihekidphawaklamenuxxxnaernglngidechnknxakarimphungprasngkhxamikasinmixakarimphungprasngkhthikhlaykhlungknkbyaxuninklumxamioniklokhisd odyxakarimphungprasngkhthisakhyaelamikhwamrunaerngmakcntxngidrbkarefarawngaelatidtamkarekidxakardngklawxyangiklchidkhux aela sungxacekidkhunxyangrunaerngcnthaihhuhnwkthawrid odyxakarimphungprasngkhdngkhangtnmixubtikarnkarekidpramanrxyla 1 10 khxngphuthiidrbkarrksadwyyaid inklumxamioniklokhisdthnghmd odyklikkarekidkhadwaepnphlmacakkarthimiyadngklawsasminitaelahuchninmakekinip cnthaihekidphyathisphaphinxwywadngklaw rupphaphaesdngokhrngsrangphayinhuchnin sungkarekidphiscakxamikasinnncathaihekidphyathisphaphinswnkhxekhliy aela karichyaxamikasininkhnadthisunghruxichinrayaewlathiyawnanekinkwathikahndiwinaenwthangkarrksaxacthaihekid odyxakaraesdngthiekidkhuncakkhwamphidpktidngklaw idaek xakarrusukhmun tamphiwhnng aelachk hakekidphistxesnprasathsmxngkhuthi 8 vestibulocochlear nerve cathaihekid sungcamixakaraesdngthisakhy khux suyesiykarthrngtw aelasuyesiykaridyin khwamesiyhaythiekidtxkhxekhliynnmisaehtumacakkarthiyaehniywnaihekidkarxaphxphothsiskhxngesllkhn thaihhusuyesiykhwamsamarthinkarrbruesiyngkhlunkhwamthisungip aelakhwamphidpktinimkcaekidkhunkxnthicamixakaraesdngxun thibngbxkthungkarsuyesiykaridyin swnkhwamesiyhaythiekidtxnn khadwanacamacakmixnumulxisrathuksrangkhunmamakekinip thngni khwamphidpktikhangtnthiklawnnphbwamikhwamsmphnthkbkaridrbkarrksadwyyaklumxamioniklokhisdepnrayaewlananekinipmakkwakaridrbyaekinkhnad dngnn karldrayaewlainkarichyaklumxamioniklokhisdcungsamarthchwyldkhwamesiynginkarekidphishruxxakarimphungprasngkhthirunaerngdngkhangtnid xamikasinsamarthkxihekidphistxitid odykarsrangkhwamesiyhayihekidkb proximal tubule enuxngcakxamikasinsamarththukthaihepnidngay aelaxamikasinthiepnpracubwknicaekhacbkbswnthiepnpraculbkhxngeslleyuxbu aelathuknaekhasuesllkrabwnkarphionisotsis thngni khwamekhmkhnkhxngxamikasinin renal cortex nncamikhasungkwakhwamekhmkhnkhxngyadngklawinkraaeseluxdsungthung 10 etha odyyanicaekhaiprbkwnkarepliynaeplngfxsofliphidinilososm sungcathaihexnismiltikhchnidtang thukplxycakilososmekhasuisothphlasum cnthaihekidkhwamesiykbesllnnthngesll phawakarekidphistxitkhxngxamikasinnicathaihradbkhrixatininineluxd esllemdeluxdaedng aela esllemdeluxdkhaw ephimsungkhun rwmipthungthaihekidkhwamphidpktiehlaniid xathi albuminuria glycosuria khwamthwngcaephaakhxngpssawaldlng oliguria epntn inbangkhrngxacekid Urinary cast idechnkn karepliynaeplngkhxngkarthangankhxng renal tubular thaihekidkarepliynaeplngkhxngradbxielkothrilt aelakhxngrangkay naipsukarekid hypokalemia aelaeluxdepnkrd hruxeluxdepndangid karekidphistxitcakxamikasinmkcaekidkhunidngayinphuthimi eluxdepnkrd xtrakarkrxngkhxngitta ebahwan phawathirangkaykhadna ikh aelaphawaphisehtutidechux xyukxnhnaaelw rwmipthungphuxyurahwangkarrbprathanyathimiybyngkarsrangophrstaaeklndindwy odypktiaelw xakarphisnimkhayepnpktihlngcakkarsinsudkarrksadwyxamikasin aelasamarthhlikeliyngkarekidphisdngklawiddwykarimbriharyaihkbphupwybxykhrngekinip echn briharyaihaekhwnla 1 khrng hruxthuk 24 chwomng aethnthicaichkarbriharyaaebbthuk 8 chwomng nxkcaknixamikasinyngsamarththaihphawahyxnkhxngklamenux neuromuscular blockade id rwmipthungkarthaihekidphawaklamenuxxxnaerngechiybphln acute muscular paralysis sungxacrunaerngcnthaihekidkarxxnaerngkhxngklamenuxthikhwbkhumrabbthangedinhay cnxacthaihekidkarhyudhayicid apnea swnxakarimphungprasngkhxunthixacekididcakkaridrbkarrksadwyxamikasin idaek phawaphumiiwekin ekidphunbnphiwhnng pwdsirsa khlunisaelaxaeciyn pwdinkhx olhitcang khwamdnolhitta aela sungxakarimphungprasngkhdngkhangtnnnsamarthekidkhunidnxykwarxyla 1 khxngphuthiidrbkarrksadwyxamikasin swnkarbriharyaxamikasindwykarchidekhadwngtann samarththaihekidkarsuyesiykarmxngehnxyangthawridkhxhamichaelakhxkhwrrawnginklumthimiprawtikaraephtxyaklumxamioniklokhisdchnidid khwrhlikeliyngkarichxamikasininkarrksa enuxngcakxacekidptikiriyakaraephyakhamchnidid nxkcakni phuthimikhwamiwtxmakkwapkti sungswnihyphbinphupwyorkhhxbhud sungkkhwrhlikeliyngkarichyaniechnkn enuxngcakinswnphsmkhxngephschphnthkhxngxamikasinswnihynnmkmiswnphsmkhxngrwmxyudwy odypktiaelw imkhwrbriharyaxamikasin rwmkb hruxkxn hruxhlng yaxunthithaihekidphistxit rabbprasath aelahu echnediywkbxamikasin sungyaehlannidaek yaklumxamioniklokhisdthukchnid xaisokhlewiyr aexmofethxrisinbi aewnokhmysin aelasisphlatin rwmthungkarhamichrwmkb Neuromuscular Blocking Agents enuxngcakcathaihekidphawaklamenuxxxnaerng aelaepnxmphatidxntrkiriyaepnthikhadkarnkniwwaxamikasinsamarththukthaihhmdvththiidodyyaxunin aetyaxuninklumniklbimidrbphldngklawcakyain aelayngmikarichrwmkbephnisillinxyubxykhrng ephuxesrimvththiinkartanechuxaebkhthieriy rwmipthungkarichrwmkbephuxesrimvththiinkartanechuxaebkhthieriyaekrmbwkbangsayphnthu swnesfaolspxrinsungepnxikklumyxyhnung samarthephimkhwamepnphistxitkhxngyaklumxamioniklokhisdid rwmthungkarephimkhunkhxngradbkhrixatinininkraaeseluxdid swnyaptichiwnaxunxyangkhlxaermefnikhxl aelaettraiskhlin nncamiphlthaihyaklumxamioniklokhisdhmdvththiip odykarxxkvththitanknthangephschwithya thngni vththikhxngxamikasincaephimkhunemuxichrwmkbyathiidmakcakchiwphisobthulinm yacha hruxkaridrbeluxdthimiswnphsmkhxnginkhnadsung sungniymichepnsarthipxngknkaraekhngtwkhxngeluxd nxkcakni yakhbpssawathixxkvththisungodypktikxacthaihekidphistxhuidodypktixyuaelw haknamaichrwmkbxamikasincathaihradbkhwamekhmkhnkhxngxamikasinineluxdaelaenuxeyuxephimsungkhun thaihekidkarepnphistxhumakyingkhun nxkcaknn kepnyaxikchnidhnungthisamarthephimkhwamekhmkhnkhxngxamikasininrangkayidyaaekxkesbchnidimichsetxrxydbangchnidxyang xinodemtthasin samarthephimkhwamekhmkhnkhxngyaklumxamioniklokhisdinkraaeseluxdkhxngtharkthikhlxdkxnkahndidxyang samarthephimkhwamepnphistxitaelahukhxngxamikasinid inthangtrngknkham xamikasinsamarthldphlkhxngwkhsinbangchnidid echn wkhsinbasillskalaemt ekaerng sahrbwnorkh wkhsinxhiwatkorkh aela odykartanvththiknthangephschwithyaephschwithyaklikkarxxkvththi khxngirobosmkhxngesllophrkharioxt odyswnsismaesdngthunghnwyyxy 16 exs swnthinaenginaesdngklumkhxngoprtinthiepnswnprakxbkhxng 30 exsirobosm xamikasinxxkvththicbkbkhxngkhxngirobosminesllophrkharioxtaebbimphnklb aelaybyngkarsngekhraahoprtinodykarepliynaeplngruprangkhxngirobosm thaihimsamarthxanrhsphnthukrrmkhxngexmxarexnexidxyangthuktxngid nxkcakniyngaethrkaesngbriewnthimiptikiriyakarcbkhuebsaebbwxbebilkhxngaexnithokhdxnkhxng tRNA odyprasiththiphaphkhxngxamikasinnnkhunxyukbkhwamekhmkhn concentration dependent antibiotic aelathanganiddiinsphaphthiepndang odypktiaelw karrksaorkhthiekidcakechuxaebkhthieriythiiwtxxamikasindwyyanicatxbsnxngtxkarrksaphayin 24 48 chwomng karduxya xamikasinimsamarththukthalayiddwyexnismthithahnathiybyngkarxxkvththikhxngyaptichiwna antibiotic inactivating enzyme idekuxbthukchnid sungepnklikthithaihaebkhthieriyekidkarduxtxyaptichiwna ykewnexnismxamionxasitilthransefxers aminoacetyltransferase aela nucleotidyltransferase thngni epnphlmacakkarthixamikasinmi L hydroxyaminobuteroyl amide L HABA moiety thicbxyukbxatxminotrecnintaaehnngthi 1 N 1 sungtaaehnngniinkanamysincaepnaekhxatxmihodrecnthrrmda sungswnkhxngomelkulswnnicachwykhdkhwangkarekhathaptikiriyaaelaldkhwamsamarthinkarekhacbkhxngexnismcakaebkhthieriythithahnathithalayyaklumxamioniklokhisd thngni xamikasinnnmitaaehnnginomelkulephiyngtaaehnngediywethannthiexnismcakaebkhthieriysamarthekhathaptikiriyaephuxhmdvththiid khnathiecntamysinaelaothbramysinnnmimakthung 6 taaehnng thngni echuxaebkhthieriythiduxtxsetrpotmysinaelanncayngkhngmikhwamiwtxxamikasinxyu swnechuxaebkhthieriythiduxtxkanamysincamibangswnthiyngkhngtxbsnxngtxxamikasin inthangtrngknkham hakechuxidthiduxtxxamikasinnnmkcaduxtxkanamysinaeladwyechnkn karduxtxyaxamikasinaelakanamysinkhxngsungepnesuxsaehtuinwnorkhnn epnphlmacakkarklayphnthukhxngyin rrs sungxyubnkhxngirobosm karklayphnthunicathaihxamikasinaelakanamysinmildkhwamcaephaatxkarcbkbirobosmkhxngaebkhthieriyldnxylng miexnism aminoglycoside AAC aela aminoglycoside AAD hlakhlaychnidthithaihechuxaebkhthieriyduxtxyaehlani xathi karduxtxyakhxngechux Pseudomonas aeruginosa misaehtumacakkarsrangexnism AAC 6 IV sungsngphlihechuxaebkhthieriychnidniduxtxkanamysin ecntamysin aelaothbramysin krnikarduxyainechux Staphylococcus aureus aela masaehtumacakkarsrangexnism AAD 4 4 sngphlihechuxaebkhthieriychnidniduxtxkanamysin othbramysin aelaxapramysin aelainbangkhrng S aureus ksmarththaihxamikasinhmdvththiiddwykarekidptikiriyafxsofrielchn ephschclnsastr xamikasinimsamarthdudsumidcakthangedinxahar dngnnkarbriharyacungcaepntxngichwithikarchid odyhlngkarbriharyaodykarchidekhaklamenux radbkhwamekhmkhnkhxngyainkraaeseluxdcakhunthungradbsungsudin 0 5 2 chwomng odyrxyla 11 khxngtwyathnghmdcaekhacbkboprtininkraaeseluxd swnyathiehluxcakracayipynghwic thungnadi pxd aelakraduk rwmipthunginnadi esmha aela swninnahlxsmxngikhsnhlngphbwamikhwamekhmkhnkhxngyaninxymak aetinkrnikarchidekhaophrngsmxngcamikhwamekhmkhnsung inthark phbwakhwamekhmkhnkhxngxamikasininnahlxsmxngikhsnhlngcamikhapramanrxyla 10 20 khxngkhwamekhmkhninkraaeseluxd inaetkrnithimiphawaeyuxhumsmxngxkesbrwmdwy khwamekhmkhnkhxngyaniinnahlxsmxngikhsnhlngxacsungthungrxyla 50 khxngkhwamekhmkhninkraaeseluxd thngni xamikasinnnaephrphantwkrxngknrahwangeluxdaelasmxng blood brain barrier aelaphanekhasuenuxeyuxkhxngdwngtaidnxymak swnkarkhbyaxxkcakrangkaynn phbwaxamikasinmikhakhrungchiwitpraman 2 chwomnginkhnpkti aelapraman 50 chwomnginphuthiepnorkhiteruxrngrayasudthay odyrxyla 95 khxngyanithiihinrupaebbkarchidekhahlxdeluxddaaelakarchidekhaklamenuxcathukkhbxxkinrupthiimepliynaeplngphankarkrxngkhxngit aelwxxkmakbpssawaphayin 24 chwomng pccythithaihxamikasinthukkhbxxkmathangpssawa idaek karmimwlomelkulkhnadelk lalaynaiddi aelaxyuinsthanathiimthukepliynrup ephschekhmixamikasinsamarthsngekhraahidcak dngaesdnginaephnphaph The synthesis of amikacinkarichinkarpsustwxamikasinepnyaptichiwnaephiyngchnidediywinklumxamioniklokhisdthiidrbkarrbrxngcakxngkhkaraelayakhxngshrthxemrikaihichinsunkhaelakartidechuxaebkhthieriyinmdlukkhxngma thaihxamikasinepnyaptichiwnathiniymichknepnxyangmakinkarstwaephthy nxkcakniyngmikarichyaniinaemw hnutaepha aehmsetxr hnuaerth hnuims aephrridxk ww nk ngu etaaelaetabk stwinxndbcraekh kbxemriknbulfrxk aelapla nxkcakniyngmikarichxamikasininkarrksakartidechuxaebkhthieriyinthangedinhayickhxngngu bacterial shell disease ineta aelaophrngxakasxkesbinmakhxw aethamichinkratayaelakratayaeck enuxngcakcathaihekidkhwamphidpktikhxngechuxculinthriypracathininlaiskhxngstwehlani sahrbsunkhaelaaemwnn mikarichxamikasininrupaebbyaichphaynxksahrbkartidechuxaebkhthieriybriewnhuaelakracktaepnaephlknxyangaephrhlay odyechphaaxyangying hakkhwamecbpwyehlannmisaehtumacakkartidechux Pseudomonas aeruginosa odycaepntxngmikarthakhwamsaxadbriewnhukxnthicamikarbriharya enuxngcakhnxngaelaesssakkhxngesllthitayaelwnncathaihidrbphlkarrksacakxamikasinnxylng inkrnikartidechuxaebkhthieriythitakhxngstwehlaninn caichxamikasininrupaebbyakhiphung hruxyahyxd hruxkarchidekhaiteyuxbuta Subconjunctival injection thngni karichxamikasinsahrbdwngtannsamarththdaethniddwy enuxngcakxamikasin rwmthungyaxuninklumxamioniklokhisd nnepnphistxxwywaindwngta karichxamikasininmann xngkhkarxaharaelayakhxngshrthxemrikaidrbrxngihichyanisahrbkartidechuxaebkhthieriyinmdluk echn aela inkrnithiechuxsaehtuyngmikhwamiwtxyaniethann nxkcakniyngmikarichyaniinrupaebbyaichphaynxkhruxyaichechphaathisahrbkartidechuxaebkhthieriythidwngtaaela arthroscopic lavage aelaxacmikarichrwmkbyaklumesfaolspxrininkarrksakartidechuxthiphiwhnngthimisaehtumacakechuxaebkhthieriyskulsaetffiolkhxkhkhs inkrnikartidechuxthiaekhn kha hruxkhx mkmikarichxamikasinrwmkbyaklumesfaolspxrininrupaebbkarchidekhabriewnthimikartidechuxodytrng nxkcakniaelw yngmikarichxamikasinchidekhasukhxphrxmkbyatankarxkesbkhxngkhxthimichuxwa Polysulfated glycosaminoglycan chuxkarkha khux Adequan ephuxepnkarpxngknkartidechuxaebkhthieriyaethrksxn xakarimphungprasngkhcakxamikasinthixacekidkhunidkbstw idaek karekidphistxit karekidphistxhu aelaekidptikiriyakaraephbriewnthichid epntn odyinaemwcamikhwamesiyngtxkarekidphistxrabbkarthrngtwepnxyangmak xakarimphungprasngkhxunthixacekidkhunidbang idaek klamenuxxxnaerng phawabwmnathihna aelaplayprasathxkesb thngni khakhrungchiwitkhxngxamikasininstwnnmikhapraman 1 2 chwomng karrksainkrnithiidrbyaniekinkhnadsamarththaidodykarcharaeluxdphaneyux hrux sungcachwyldradbkhwamekhmkhnkhxngxamikasin aela hruxephnisillin sungephnisillinbangswncacbkbxamikasinepnsarprakxbechingsxnaelathaihxamikasinimsamarthxxkvththiidxangxing Amikacin Use During Pregnancy Drugs com 2 December 2019 subkhnemux 13 March 2020 Amikacin 250 mg ml Injection Summary of Product Characteristics SmPC emc 16 September 2015 subkhnemux 13 March 2020 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux plumb Amikacin Sulfate The American Society of Health System Pharmacists cakaehlngedimemux 20 thnwakhm 2016 subkhnemux 8 thnwakhm 2016 World Health Organization 2009 Stuart MC Kouimtzi M Hill SR b k WHO Model Formulary 2008 World Health Organization p 137 10665 44053 ISBN 978 92 4 154765 9 Fischer Janos Ganellin C Robin 2006 Analogue based Drug Discovery John Wiley amp Sons p 507 ISBN 978 3 527 60749 5 cakaehlngedimemux 20 thnwakhm 2016 Oxford Handbook of Infectious Diseases and Microbiology OUP Oxford 2009 p 56 ISBN 978 0 19 103962 1 cakaehlngedimemux 24 phvscikayn 2015 PDF World Health Organization emsayn 2015 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 13 thnwakhm 2016 subkhnemux 8 thnwakhm 2016 International Drug Price Indicator Guide phasaxngkvs khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 26 knyayn 2022 subkhnemux 8 thnwakhm 2016 Hamilton Richart 2015 Tarascon Pocket Pharmacopoeia 2015 Deluxe Lab Coat Edition Jones amp Bartlett Learning p 35 ISBN 978 1 284 05756 0 US National Library of Medicine 17 singhakhm 2016 AMIKACIN SULFATE amikacin sulfate injection DailyMed cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 subkhnemux 8 singhakhm 2017 Scholar Eric M Pratt William B 22 phvsphakhm 2000 2nd ed Oxford University Press USA pp 15 19 ISBN 978 0 19 975971 2 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Cunha Burke A 1 phvscikayn 2006 New Uses for Older Antibiotics Nitrofurantoin Amikacin Colistin Polymyxin B Doxycycline and Minocycline Revisited Medical Clinics of North America Antimicrobial Therapy 90 6 1089 1107 doi 10 1016 j mcna 2006 07 006 ISSN 0025 7125 amikacin Rx Medscape WebMD cakaehlngedimemux 9 singhakhm 2017 subkhnemux 9 singhakhm 2017 Aronson J K b k 2016 Amikacin Meyler s Side Effects of Drugs 16th ed Oxford Elsevier pp 207 209 ISBN 978 0 444 53716 4 Vardanyan Ruben Hruby Victor 2016 Chapter 32 Antimicobacterial Drugs Synthesis of Best Seller Drugs Boston Academic Press pp 669 675 ISBN 978 0 12 411492 0 EU Clinical Trials Register khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 3 minakhm 2016 Study to Evaluate Arikayce in CF Patients With Chronic Pseudomonas Aeruginosa Infections ClinicalTrials gov cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 Arikayce for Nontuberculous Mycobacteria ClinicalTrials gov cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 Ettinger Stephen J Feldman Edward C 24 thnwakhm 2009 Textbook of Veterinary Internal Medicine Elsevier Health Sciences pp 1976 523 ISBN 978 1 4377 0282 8 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Maire P Bourguignon L Goutelle S Ducher M Jelliffe R 2017 Chapter 20 Individualizing Drug Therapy in the Elderly Individualized Drug Therapy for Patients Boston Academic Press pp 373 382 ISBN 978 0 12 803348 7 Eghianruwa Kingsley 2014 Essential Drug Data for Rational Therapy in Veterinary Practice Author House p 16 ISBN 978 1 4918 0000 3 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Morris Daniel O Kennis Robert A 11 tulakhm 2012 Clinical Dermatology An Issue of Veterinary Clinics Small Animal Practice E Book Elsevier Health Sciences p 29 ISBN 978 1 4557 7377 0 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Corti Natascia Taegtmeyer Anne Imhof Alexander 1 mkrakhm 2011 Miscellaneous antibacterial drugs Side Effects of Drugs Annual A worldwide yearly survey of new data in adverse drug reactions 33 509 540 doi 10 1016 B978 0 444 53741 6 00026 X ISBN 978 0 444 53741 6 ISSN 0378 6080 Bauman Robert W 2015 Microbiology with diseases by body system 4th ed Boston Pearson ISBN 978 0 321 91855 0 Amikacin DrugBank 2 singhakhm 2017 cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 subkhnemux 10 singhakhm 2017 Mudd Efrain 7 singhakhm 2017 O Aminoglycosides Pharmacological Sciences cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 subkhnemux 14 singhakhm 2017 Kondo Shinichi Hotta Kunimoto 1 mkrakhm 1999 Semisynthetic aminoglycoside antibiotics Development and enzymatic modifications Journal of Infection and Chemotherapy 5 1 1 9 doi 10 1007 s101560050001 ISSN 1341 321X PMID 11810483 Park Je Won Ban Yeon Hee Nam Sang Jip Cha Sun Shin Yoon Yeo Joon 1 thnwakhm 2017 Biosynthetic pathways of aminoglycosides and their engineering Current Opinion in Biotechnology Chemical biotechnology Pharmaceutical biotechnology 48 33 41 doi 10 1016 j copbio 2017 03 019 ISSN 0958 1669 PMID 28365471 Caminero Jose A Sotgiu Giovanni Zumla Alimuddin Migliori Giovanni Battista 1 knyayn 2010 Best drug treatment for multidrug resistant and extensively drug resistant tuberculosis The Lancet Infectious Diseases 10 9 621 629 doi 10 1016 S1473 3099 10 70139 0 ISSN 1473 3099 PMID 20797644 Ahmad Suhail Mokaddas Eiman 1 minakhm 2014 Current status and future trends in the diagnosis and treatment of drug susceptible and multidrug resistant tuberculosis Journal of Infection and Public Health 7 2 75 91 doi 10 1016 j jiph 2013 09 001 ISSN 1876 0341 PMID 24216518 Kawaguchi H Naito T Nakagawa S Fujisawa K I thnwakhm 1972 BB K 8 a new semisynthetic aminoglycoside antibiotic The Journal of Antibiotics 25 12 695 708 doi 10 7164 antibiotics 25 695 ISSN 0021 8820 PMID 4568692 cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 Monteleone Peter M Muhammad Naseem Brown Robert D McGrory John P Hanna Samir A 1 mkrakhm 1983 Amikacin Sulfate Analytical Profiles of Drug Substances Vol 12 pp 37 71 doi 10 1016 S0099 5428 08 60163 X ISBN 978 0 12 260812 4 ISSN 0099 5428 Forney Barbara Amikacin for Veterinary Use Wedgewood Pharmacy cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 subkhnemux 9 singhakhm 2017 Riviere Jim E Papich Mark G 13 phvsphakhm 2013 Veterinary Pharmacology and Therapeutics John Wiley amp Sons p 931 ISBN 978 1 118 68590 7 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Mader Douglas R Divers Stephen J 12 thnwakhm 2013 Current Therapy in Reptile Medicine and Surgery E Book Elsevier Health Sciences p 382 ISBN 978 0 323 24293 6 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Maggs David Miller Paul Ofri Ron 7 singhakhm 2013 Slatter s Fundamentals of Veterinary Ophthalmology E Book Elsevier Health Sciences p 37 ISBN 978 0 323 24196 0 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 Hsu Walter H 25 emsayn 2013 Handbook of Veterinary Pharmacology John Wiley amp Sons p 486 ISBN 978 1 118 71416 4 US National Library of Medicine 9 minakhm 2017 Amiglyde V amikacin sulfate injection DailyMed cakaehlngedimemux 16 singhakhm 2017 subkhnemux 8 singhakhm 2017 Orsini James A 1 singhakhm 2017 Update on Managing Serious Wound Infections in Horses Wounds Involving Joints and Other Synovial Structures Journal of Equine Veterinary Science 55 115 122 doi 10 1016 j jevs 2017 01 016 ISSN 0737 0806 Wanamaker Boyce P Massey Kathy 25 minakhm 2014 Applied Pharmacology for Veterinary Technicians E Book Elsevier Health Sciences p 392 ISBN 978 0 323 29170 5 Papich Mark G tulakhm 2015 Amikacin Saunders Handbook of Veterinary Drugs Small and Large Animal 4th ed Elsevier Health Sciences pp 25 27 ISBN 978 0 323 24485 5 cakaehlngedimemux 10 knyayn 2017 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xamikasin Amikacin Drug Information Portal hxsmudaehngchatikaraephthyshrth Amikacin sulfate Drug Information Portal hxsmudaehngchatikaraephthyshrth