ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
แก๊สเรือนกระจก (อังกฤษ: greenhouse gas) หรือบางครั้งเรียกย่อๆว่า GHG คือแก๊สในบรรยากาศที่ดูดซับและปลดปล่อยรังสีภายในช่วงความถี่ (คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า) อินฟราเรดร้อน (อังกฤษ: thermal infrared range) ทำให้เกิดการสูญเสียความร้อนบางส่วนออกสู่ห้วงอวกาศภายนอกและปลดปล่อยความร้อนกลับสู่พื้นผิวโลก ขบวนการนี้จึงเป็นสาเหตุพื้นฐานของปรากฏการณ์เรือนกระจก (อังกฤษ: Greenhouse effect) แก๊สเรือนกระจกมีความจำเป็นและมีความสำคัญต่อการรักษาระดับอุณหภูมิของโลก หากปราศจากแก๊สเรือนกระจก โลกจะหนาวเย็นจนสิ่งมีชีวิตอยู่อาศัยไม่ได้ อุณหภูมิในโลกจะต่ำกว่าปัจจุบันที่ 14 °C (57 °F) ลงอีก 33 °C (59 °F) แต่การมีแก๊สเรือนกระจกมากเกินไปก็เป็นเหตุให้อุณหภูมิสูงขึ้นถึงระดับเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตดังที่เป็นอยู่กับบรรยากาศของดาวศุกร์ซึ่งมีบรรยากาศที่ประกอบด้วยคาร์บอนไดออกไซด์มากถึงร้อยละ 96.5 มีผลให้อุณหภูมิผิวพื้นร้อนมากถึง 467 °C (872 °F) คำว่า “แก๊สเรือนกระจก” บนโลกหมายถึงแก๊สต่าง ๆ เรียงตามลำดับความอุดมคือ ไอน้ำ คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และ (Chlorofluorocarbon) แก๊สเรือนกระจกเกิดเองตามธรรมชาติและจากกระบวนการอุตสาหกรรมซึ่งปัจจุบันทำให้ระดับคาร์บอนไดออกไซด์มีในบรรยากาศ 380 ppmv และที่ปรากฏใน (ดูแผนภูมิ) จะเห็นว่าระดับของคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปัจจุบันสูงกว่าระดับเมื่อก่อนยุคอุตสาหกรรมประมาณ 100 ppmv
ปรากฏการณ์เรือนกระจก
บทความหลัก: ปรากฏการณ์เรือนกระจก
เมื่อแสงอาทิตย์ส่องถึงผิวโลก บางส่วนจะถูกดูดกลืนไว้และทำให้ผิวพื้นโลกอุ่นขึ้น บางส่วนจะสะท้อนกลับ เนื่องจากผิวโลกเย็นกว่าผิวดวงอาทิตย์มากส่วนที่สะท้อนกลับจึงแผ่กระจายพลังงานที่มีช่วงคลื่นยาวกว่ารังสีจากดวงอาทิตย์ โดยมีช่วงยาวมากสุดที่แถบความถี่ในช่วงอินฟราเรดหรือที่ประมาณ 10 µm. แก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศจะดูดกลืนช่วงคลื่นที่ยาวกว่าได้ดีกว่าแสงช่วงคลื่นสั้นของแสงอาทิตย์ การดูดกลืนพลังงานช่วงคลื่นยาวนี้เองที่ทำให้บรรยากาศร้อนขึ้น แก๊สเรือนกระจกก็ปล่อยรังสีคลื่นยาว (อีกครั้ง) ทั้งขึ้นสู่ห้วงอวกาศและปล่อยลงสู่พื้นผิวโลก กระบวนการนี้เรียกว่า “ปรากฏการณ์เรือนกระจก
แก๊สเรือนกระจกส่วนใหญ่คือไอน้ำ ซึ่งมีผลต่อปรากฏการณ์เรือนกระจกบนโลกประมาณร้อยละ 36-70 (โปรดสังเกตว่าเมฆไม่ได้ประกอบด้วยไอน้ำและเมฆมีผลต่อภูมิอากาศในลักษณะอื่น) คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีผลร้อยละ 9-26, มีเทนมีผลร้อยละ 4-9, และโอโซนร้อยละ 3-7 เป็นการยากหรือเกือบเป็นไปไม่ได้ที่ชี้ลงไปให้ชัดว่าแก๊สใดมีผลต่อบรรยากาศแน่นอนเท่าใดเนื่องจากอิทธิพลของแก๊สเหล่านี้เป็นพวกที่นำไปรวมกันไม่ได้ (ด้านสูงของช่วงเป็นการบ่งถึงตัวแก๊สเพียงอย่างเดียว ในขณะที่ปลายของช่วงข้างต่ำใช้บ่งถึงการเหลื่อมที่เกิดในการแจงนับ) แก๊สเรือนกระจกอื่นๆ รวมถึงแต่ไม่จำกัดเฉพาะได้แก่ ไนตรัสออกไซด์ (nitrous oxide) ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูออไรด์ (sulfur hexafluoride) (hydrofluorocarbon) (perfluorocarbon) และคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (chlorofluorocarbons) (ดู รายชื่อแก๊สเรือนกระจกของ IPCC -IPCC list of greenhouse gases)
ส่วนประกอบหลักของบรรยากาศได้แก่ไนโตรเจน (N2) และออกซิเจน (O2) ซึ่งไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก ทั้งนี้เนื่องจากมันมีลักษณะเป็นชนิด (homonuclear diatomic molecules) ดังนั้น ไนโตรเจนและออกซิเจน จะไม่ดูดกลืนหรือปล่อยรังสีอินฟราเรดเพราะไม่มีการแลกเปลี่ยน (dipole moment) ของโมเลกุลเหล่านี้เมื่อมันสั่นตัว การสั่นของโมเลกุลเกิดขึ้นเมื่อขนาดพลังงานของมันเท่ากับขนาดของพลังงานโฟตอนของอินฟราเรด โมเลกุลอะตอมคู่ชนิด เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) หรือ ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) ดูดกลืนอินฟราเรด แต่โมเลกุลของเหล่านี้มีอายุสั้นในบรรยากาศเนื่องจากคุณสมบัติทางปฏิกิริยาและการถูกละลายได้ง่ายของมัน มันจึงมีผลต่อปรากฏการณ์เรือนกระจกน้อยมาก
ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 (ประมาณ พ.ศ. 2420) นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองและพบว่า ไนโตรเจน และ ออกซิเจน ไม่ดูดกลืนรังสีอินฟราเรด (กล่าวถึงกันในสมัยนั้นว่า “รังสีมืด” - dark radiation) และว่า คาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซอีกหลายชนิดก็ไม่ดูดกลืนอินฟราเรด เป็นที่ยอมรับกันเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณ พ.ศ. 2470) ว่าแก๊สเรือนกระจกที่ทราบเกือบทั้งหมดในบรรยากาศมีผลทำให้อุณหภูมิของบรรยากาศสูงขึ้นกว่าการไม่มีแก๊สเรือนกระจก
ธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์
แก๊สเรือนกระจกเกือบทั้งหมดมีที่มาจากทั้งธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ในระหว่างยุคโฮโลซีน (holocene) ซึ่งเป็นยุคก่อนอุตสาหกรรม การสะสมของแก๊สต่าง ๆ ในบรรยากาศค่อนข้างอยู่ตัว นับตั้งแต่ยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา การสะสมของแก๊สบางชนิดเพิ่มปริมาณขึ้น มีหลักฐานบ่งชัดว่าการเพิ่มเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์มากกว่าการเกิดตามธรรมชาติ
แก๊ส | ระดับก่อนอุตสาหกรรม | ระดับปัจจุบัน | การเพิมตั้งแต่ พ.ศ. 2300 | Radiative forcing (Wm2) |
---|---|---|---|---|
คาร์บอนไดออกไซด์ | 280 ppm | 384ppm | 87 ppm | 1.46 |
มีเทน | 700 ppb | 1,745 ppb | 1,045 ppb | 0.48 |
ไนตรัสออกไซด์ | 270 ppb | 314 ppb | 44 ppb | 0.15 |
(CFC-12) | 0 | 533 ppt | 533 ppt | 0.17 |
ตัวอย่างแกนน้ำแข็ง (Ice core) ได้ให้หลักฐานที่แสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงของการสะสมของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศของโลกในช่วง 800,000 ปี ที่ผ่านมาทั้ง CO
2 และ CH
4 ผันแปรระหว่างยุคน้ำแข็งและยุคระหว่างยุคน้ำแข็ง (interglacial phases) ซึ่งการสะสมของแก๊สเหล่านี้สัมพันธ์อย่างชัดเจนกับระดับอุณหภูมิ ก่อนหน้านี้การวัดปริมาณโดยตรงอย่างที่ได้จากตัวอย่างแกนน้ำแข็งยังไม่มี การวัดโดยใช้วิธีแบบจำลองและการใช้ตัวแทนแสดงให้เห็นการผันแปรค่อนข้างมาก เมื่อ 500 ล้านปีก่อนระดับของ CO
2 มีปริมาณสูงกว่าปัจจุบันมากกว่า 10 เท่า ความจริงแล้วเชื่อกันว่าการสะสมที่สูงมากของ CO
2 มีมาตลอด (Phanerozoic eon) โดยมีปริมาณการสะสม 5-6 เท่าของปริมาณในบรรยากาศปัจจุบันใน และ 10-15 เท่าใน (Palaeozoic era) ตอนต้นและต่อเนื่องมาถึง (Devonian period) ประมาณ 400 ล้านปีก่อน การกระจายขยายตัวของพืชบนบกได้ลดปริมาณการสะสม CO
2 ในช่วงปลายยุคเดโนเวียน การทำหน้าที่ของพืชทั้งด้านการเป็นแหล่งเกิดและแหล่งเก็บกักของ CO
2การเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสเถียรภาพการป้อนกลับ ในช่วง 200 ล้านปีก่อนหน้านั้นได้เกิดยุคน้ำแข็งกลับไปกลับมาจนมีน้ำแข็งปกคลุมเกือบถึงเส้นศูนย์สูตร (เรียกกันว่าโลกก้อนหิมะ Snowball Earth) และได้เกิดการหยุดอย่างกะทันหันเมื่อประมาณ 500 ล้านปีก่อนจากการระเบิดอย่างมหาศาลของภูเขาไฟที่ได้ปลดปล่อย CO
2ออกมาทำให้ปริมาณของมันพุ่งขึ้นถึงร้อยละ 12 อย่างกะทันหัน หรือเท่ากับประมาณ 120 เท่าของปัจจุบัน ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกและการเกิด เช่น หินปูน ในอัตราสูงถึงประมาณ 1 มิลลิเมตรต่อวัน เหตุการณ์ใหญ่ในครั้งนี้ได้ปิดบรมยุคพรีแคมเบรียนลงและทดแทนโดย (Phanerozoic) ที่ร้อนกว่า ที่ซึ่งเป็นยุคที่สัตว์และพืชหลายเซลล์เริ่มวิวัฒนาการขึ้น หลังยุคนี้ก็ไม่มีการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในจำนวนมหาศาลอย่างนี้ออกมาอีก และ ณ ปัจจุบัน การปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากภูเขาไฟสู่บรรยากาศยังมีปริมาณการปลดปล่อยน้อยกว่ากิจกรรมของมนุษย์
แก๊สเรือนกระจกจากกิจกรรมมนุษย์
นับตั้งแต่ประมาณ พ.ศ. 2300 เป็นต้นมากิจกรรมของมนุษย์ได้เพิ่มปริมาณการสะสมคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สเรือนกระจกที่สำคัญชนิดอื่นๆ มากขึ้น แหล่งเกิดตามธรรมชาติของคาร์บอนไดออกไซด์ในตอนแรกมีปริมาณสูงกว่าจากกิจกรรมมนุษย์ประมาณ 20 เท่า แต่ปริมาณจากธรรมชาติดังกล่าวอยู่ในภาวะสมดุลด้วยการกักเก็บตามธรรมชาติ เช่นจากการกร่อนสลายของหินบนแผ่นดินและจากการสังเคราะห์แสงของพืชและในทะเลที่ดึงคาร์บอนไดออกไซด์ไปเก็บกักไว้ และจากผลของการสมดุลนี้ ทำให้ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์คงที่อยู่ระหว่าง 260 และ 280 ส่วนในล้านส่วนเป็นเวลาต่อเนื่องประมาณ 10,000 ปีระหว่างการหมดยุคน้ำแข็งและเมื่อเริ่มยุคอุตสาหกรรม
แหล่งเกิดแก๊สเรือนกระจกจากกิจกรรมของมนุษย์รวมถึง:
- การเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และการทำลายป่าที่ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สู่บรรยากาศมากขึ้น การทำลายป่า (โดยเฉพาะในเขตร้อน) มีส่วนปลดปล่อย CO
2 มากถึง 1 ใน 3 ของ CO
2 ที่เกิดจากกิจกรรมมนุษย์ทั้งหมด ; - ในกระเพาะและลำไส้ของปศุสัตว์และการจัดการเกี่ยวกับมูลปศุสัตว์ การใช้และการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่ชุ่มน้ำ การสูญเสียแก๊สและน้ำมันจากท่อส่ง รวมถึงการปล่อยแก๊สจาก เหล่านี้ ทำให้ปริมาณของมีเทนเพิ่มมากขึ้นในบรรยากาศ หรือสมัยใหม่แบบปิดทึบที่ระบายแก๊สทางท่อระบายก็มีส่วนเพิ่มมากเช่นกัน
- การใช้สาร (CFCs) ในตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศ รวมทั้งการใช้แก๊ส (halon) ในระบบถังดับเพลิงและกระบวนการผลิตของผู้ผลิต
- กิจกรรมทางการเกษตรซึ่งรวมทั้งการใช้ปุ๋ยที่เป็นตัวเพิ่มแก๊สไนตรัสออกไซด์
แหล่งทั้งเจ็ดของ CO
2 จากการเผาใหม้เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ได้แก่ (เป็นร้อยละของปริมาณที่ปล่อยใน พ.ศ. 2543 – 2547):
- เชื้อเพลิงแข็ง (เช่น ถ่านหิน) : 35%
- เชื้อเพลิงเหลว (เช่น น้ำมันเบนซิน) : 36%
- เชื้อเพลิงแก๊ส (เช่น แก๊สธรรมชาติ) : 20%
- การเผาทิ้ง (Flaring) ทางอุตสาหกรรมและที่: <1%
- การผลิต: 3%
- สารไฮโดรคาร์บอนที่ไม่ใช่เชื้อเพลิง: <1%
- เชื้อเพลิง “บังเกอร์” นานาชาติ (bunkers) ที่ใช้กับเครื่องบินและที่ไม่ได้นับรวมไว้ในตัวเลขของชาติใดๆ: 4%
หน่วยงาน อีพีเอ ของสหรัฐ จัดอันดับผู้ปล่อยแก๊สเรือนกระจกของ ภาคส่วนผู้ใช้ขั้นสุดท้าย (end-user sectors) ไว้เป็นลำดับดังนี้คือ: อุตสาหกรรม, การขนส่ง, , และเกษตรกรรม แหล่งปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกรายบุคคลเกิดจากการให้ความอบอุ่นและในอาคาร การใช้ไฟฟ้าและการขนส่ง มาตรการเพื่อแก้ไขได้แก่การใช้ฉนวนกันความร้อนสำหรับอาคาร การใช้หลอดแบบประหยัดและการเลือกซื้อรถยนต์ที่กินน้ำมันน้อย
คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน ไนตรัสออกไซด์และกลุ่มทั้ง 3 ของแก๊ส (fluorinated gas) ได้แก่ ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูออไรด์ (sulfur hexafluoride, (HFC) และ PFCs) นับเป็นแก๊สเรือนกระจกที่กำหนดไว้ในพิธีสารเกียวโต ซึ่งได้ถึงกำหนดการบังคับใช้ใน พ.ศ. 2548
แม้แก๊ส (CFCs) จะเป็นแก๊สเรือนกระจกแต่ก็ถูกควบคุมอยู่แล้วโดย (Montreal Protocol) ซึ่งเป็นผลของการจำกัดการใช้ที่เนื่องมาจาก (ozone depletion) มากกว่าการเป็นแก๊สที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์โลกร้อน โปรดสังเกตว่าการลดลงของชั้นโอโซนมีผลน้อยมากต่อปรากฏการณ์โลกร้อน กระบวนการที่ต่างกันทั้งสองนี้สร้างความสับสนแก่สื่อมากพอควร
บทบาทของไอน้ำ
ไอน้ำ (Water vapor) นับเป็นแก๊สเรือนกระจกที่เกิดจากธรรมชาติที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกมากที่สุด คือระหว่างร้อยละ 36-66 การสะสมตัวของไอน้ำมากน้อยต่างกันไปตามภูมิภาค กิจกรรมของมนุษย์ไม่มีผลโดยตรงต่อไอน้ำยกเว้นพื้นที่ระดับจุลภาค (เช่น บริเวณใกล้พื้นที่เกษตรที่มี)
(Clausius-Clapeyron relation) กำหนดไว้ว่า อากาศอุ่นเก็บกักไอน้ำเป็นหน่วยบริมาตรได้มากกว่า (climate model) ที่ทันสมัยที่สุดทำนายว่าการสะสมของไอน้ำในอากาศร้อนจะขยายขนาดของปรากฏการณ์เรือนกระจกที่เป็นผลจากแก๊สเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์โดยยังคงรักษาความชื้นสัมพัทธ์ไว้ได้คงที่ ดังนั้นไอน้ำจึงทำหน้าที่ป้อนกลับทางบวกต่อแรงที่เกิดจากแก๊สเรือนกระจกเช่น CO2.
การปล่อยแก๊สเรือนกระจก
บทความหลัก: (carbon dioxide emissions)
การวัดจากแอนตาร์กติก (Measurements from Antarctic ice cores) พบว่าก่อนมีการเริ่มปล่อยแก๊สเรือนกระจกจากอุตสาหกรรมเพียงเล็กน้อย ระดับของ CO2 ในบรรยากาศมีประมาณ 280 ppm โดยบริมาตร จากตัวอย่างแกนน้ำแข็งดูเหมือนว่าการสะสมของ CO2 จะนิ่งอยู่ที่ระหว่าง 260 และ 280 ppm เป็นเวลา 10,000 ปีก่อนหน้านั้น การศึกษาโดยการใช้หลักฐานจากปากใบของใบไม้ดึกดำบรรพ์พบว่ามีการผันแปรของระดับ CO2 ค่อนข้างมากคือสูงกว่า 300 ppm ในช่วง 7,000-10,000 ปีที่ผ่านมา แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนโต้แย้งว่าการค้นพบนี้สะท้อนให้เห็นปัญหาของการคำนวณเปรียบเทียบ/การแปดเปื้อนมากกว่าการผันแปรของปริมาณจริงของ CO2
นับตั้งแต่การเริ่มต้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็นต้นมา ความเข้มของปริมาณแก๊สเรือนกระจกได้เพิ่มขึ้น การสะสมของ CO2 ได้เพิ่มขึ้นประมาณ 100 ppm (เช่นระหว่าง 280 ppm ถึง380 ppm) การเพิ่ม 50 ppm แรกใช้เวลาประมาณ 200 ปีจากการเริ่มการปฏิวัติอุตสาหกรรมมาถึงประมาณ พ.ศ. 2516 การเพิ่ม 50 ppm ถัดมาใช้เวลาประมาณ 33 ปีจาก พ.ศ. 2516 ถึง พ.ศ. 2549 ผลการสังเกตการณ์สามารถดูทางออนไลน์ได้ใน “ฐานข้อมูลสังเกตการณ์ภูมิอากาศเชิงเคมี ( Atmospheric Chemistry Observational Databases) แก๊สเรือนกระจกที่มีความแรงของการแผ่รังสีมีดังนี้:
แก๊ส | ปริมาณปัจจุบัน (พ.ศ. 2541) | การเพิ่มก่อนยุคอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2300) | ร้อยละที่เพิ่ม | แรงการแผ่รังสี (วัตต์/ตารางเมตร) |
---|---|---|---|---|
คาร์บอนไดออกไซด์ | ||||
มีเทน | ||||
ไนตรัสออกไซด์ |
แก๊ส | ปริมาณปัจจุบัน (พ.ศ. 2541) | แรงการแผ่รังสี (W/m²) |
---|---|---|
CFC-11|Trichlorofluoromethane|CFC-11 | ||
CFC-12|Dichlorodifluoromethane|CFC-12 | ||
CFC|Chlorofluorocarbon|CFC-113 | ||
Carbon tetrachloride | ||
HCFC-22 |
(ที่มา: รายงานเรื่องแรงแผ่รังสีของ (IPCC) พ.ศ. 2547 ปรับปรุงใหม่ (พ.ศ. 2541) โดย IPCC TAR ตารางที่ 6.1 [5] 2007-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[6] 2005-04-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน)
อัตราการเปลี่ยนและการปล่อยเมื่อเร็วๆ นี้
อัตราเร่งอย่างรวดเร็วในการปลดปล่อย CO2 นับตั้งแต่ พ.ศ. 2543 ในจำนวน >3% y−1 (>2 ppm y−1) จาก 1.1% y−1 ระหว่างช่วง พ.ศ. 2534 – พ.ศ. 2542 นับได้ว่าเป็นการต่อเนื่องของแนวโน้มของการลด (carbon intensity) ทั้งในประเทศพัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา ถึงแม้มากกว่า 3/4 ของการสะสม CO2 จากกิจกรรมมนุษย์จะมาจากประเทศกำลังพัฒนาก็ตาม การลดปริมาณการปล่อยลงเป็นเฉพาะท้องถิ่นมีความสัมพันธ์กับการล่มสลายของ สหภาพโซเวียต ที่ตามมาด้วยการปล่อยที่น้อยลงของภูมิภาคเนื่องจากการใช้พลังงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จากการเปรียบเทียบ พบว่ามีเทนเพิ่มไม่มาก และ N2O เพิ่ม 0.25% y−1.
เอเชีย
ระดับของแก๊สเรือนกระจกจากกิจกรรมมนุษย์ได้เพิ่มถึงจุดสูงสุดอีกครั้งด้วยสัญญาณของการเพิ่มเศรษฐกิจการอุตสาหกรรมของเอเชียนำโดยจีน ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2543 – พ.ศ. 2553 คาดว่าจีนจะปล่อยคาร์บอนออกมาอีก 600 ล้านตัน ส่วนใหญ่เกิดจากการก่อสร้างแบบเก่าอย่างรวดเร็วในจังหวัดต่างๆ ที่ยังจนอยู่
สหรัฐอเมริกา
บทความหลัก (ภาษาอังกฤษ) : Greenhouse gas emissions by the United States และ United States federal register of greenhouse gas emissions
สหรัฐ ปล่อยแก๊สเรือนกระจกในปี พ.ศ. 2548 เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.3 จาก พ.ศ. 2533 จากการคาดคะเนเบื้องต้นของหน่วยประเมินด้านสิ่งแวดล้อมของเนเธอร์แลนด์ พบว่า ประเทศที่ปล่อย CO2 นับตั้งแต่ พ.ศ. 2549 คือจีนซึ่งปล่อยออกมาประมาณ 6,200 ตามด้วยสหรัฐฯประมาณ 5,800 เมกกะตัน เทียบกับปี พ.ศ. 2548 จีนปล่อย CO2 จากซากดึกดำบรรพ์เพิ่มใน พ.ศ. 2549 ร้อยละ 8.7 ในขณะที่ปีเดียวกันของสหรัฐ ลดลงร้อยละ 1.4 หน่วยประเมินฯ ดังกล่าวให้ข้อสังเกตว่า การคาดคะเนของตนไม่รวมแหล่ง CO2 ที่ไม่แน่นอน ถึงแม้ว่าน้ำหนักจะไม่มากเมื่อเทียบกับนำหนักของคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีอยู่ในบรรยากาศ แต่ก็นับว่าเป็นระดับที่มากกว่าระดับในยุคก่อนอุตสาหกรรม
การลดปริมาณแก๊สเรือนกระจกจากบรรยากาศและแนวโน้มของโลกร้อน
นอกจากไอน้ำซึ่งมีอายุเป็นวัน แก๊สเรือนกระจกเกือบทั้งหมดต้องใช้เวลานานหลายปีจึงจะหนีออกจากบรรยากาศไปได้ แม้จะยังไม่อาจทราบได้แน่นอนว่าจะใช้เวลากี่ปี แต่ก็มีการคาดคะเนสำหรับแก๊สเรือนกระจกตัวหลักไว้แล้วดังนี้:
การแยกแก๊สเรือนกระจกอาจทำได้หลายกระบวนการ:
- จากผลของการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (การกลั่นตัวและการตกลงมาเป็นหยาดน้ำฟ้าเป็นการขจัดน้ำออกจากบรรยากาศ)
- จากผลของภายในบรรยากาศ ในกรณีนี้คือมีเทน โดยการด้วยปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติกับอนุมูลอิสระ (free radical) ของ (hydroxyl) OH และสลายตัวเป็น CO
2และไอน้ำเมื่อทำปฏิกิริยาเสร็จ (การมีส่วนของ CO
2ของมีเทนที่รวมกับออกซิเจนนี้ไม่นับเป็นมีเทนที่มีศักยภาพทำให้โลกร้อน) ปฏิกิริยานี้รวมน้ำยาและของแข็งทางเคมีเกิดขึ้นในละอองลอยของบรรยากาศ - จากผลของการแลกเปลี่ยนทางกายภาพที่ผิวหน้าของบรรยากาศกับผิวหน้าสิ่งอื่นในโลก เช่น การละลายของชั้นแก๊สในบรรยากาศที่ผิวมหาสมุทร
- จากผลการเปลี่ยนแปลงทางเคมีที่ผิวหน้าของบรรยากาศกับผิวหน้าของสิ่งอื่นในโลก ในกรณีนี้คือ CO
2ซึ่งลดลงโดยการสังเคราะห์แสงของพืช และหลังจากละลายในมหาสมุทรแล้วทำปฏิกิริยากลายเป็นประจุกรดคาร์บอนิก และ และ (ดู “การเป็นกรดของมหาสมุทร - ocean acidification) - จากผลของ (Photochemical change) (Halocarbon) จะแตกตัวโดยแสงอุลตราไวโอเลตและปลดปล่อย Cl• and F• ในฐานะอนุมูลอิสระที่มีอันตรายต่อโอโซน (ปกติฮาโลคาร์บอนมีความสเถียรมากเกินที่จะเกิดปฏิกิริยาในบรรยากาศ)
- จากผลของการแตกเป็นไอออนจากพลังงานระดับสูงของรังสีคอสมิก หรือฟ้าผ่า ซึ่งการยึดตัวของโมเลกุลจะแตกออก เช่นฟ้าผ่าก่อตัว (anions) ของไนโตรเจนจาก N2 ซึ่งจะทำปฏิกิริยากับ O2 to form NO2.
เวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ
ตัวแปรเสริมของ (atmospheric lifetime) หมายถึงระยะเวลาที่จะใช้ในการฟื้นฟูให้คืนสภาวะสมดุลหลังการเพิ่มการสะสมของแก๊สเรือนกระจกในบรรยากาศ โมเลกุลของแก๊สอาจเกิดการแลกเปลี่ยนแบบเก็บกัก (sinks) เช่นกับดิน มหาสมุทร พืชและระบบชีวะอื่นๆ ทำให้การสะสมที่มากเกินลดลงอย่างเดิม รวมทั้งเวลาที่ต้องใช้สำหรับ ”ระยะชั่วชีวิตเฉลี่ย” (mean lifetime) นี้ มักมีการกล่าวถึงระยะเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศของ CO
2ที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นเวลาไม่กี่ปีเพราะคิดเพียงเวลาที่โมเลกุลของ CO
2ในบรรยากาศถูกขจัดออกโดยการผะสมหรือละลายในมหาสมุทร หรือถูกใช้ไปในการสังเคราะห์แสง หรือด้วยกระบวนการอื่น อย่างไรก็ดี ความคิดนี้ลืมฟลักซ์การสมดุลของ CO
2ที่กลับออกจาก “แอ่งเก็บกัก” อื่น ดังนั้น ตัวกำหนดที่แท้จริงจึงอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงสุทธิของแก๊สเรือนกระจกใน “ทุกแหล่งและทุกแอ่งเก็บกัก” มิใช่คิดเฉพาะเวลาของกระบวนการขจัดเท่านั้น
ตัวอย่าง “เวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ” และ GWP (Global warming potential) ของแก๊สเรือนกระจกชนิดต่างๆ:
- CO2 มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศที่ผันแปรที่ไม่สามารถบ่งบอกได้อย่างแน่นอนและชัดเจน ผลงานวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้บ่งชี้ว่า การฟื้นสภาพจากการเพิ่มของ CO
2ที่เข้าสู่บรรยากาศโดยการเผาผลาญเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์นั้นมีผลทำให้ระยะสำหรับ “เวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ” ต้องใช้เวลามากนับหมื่นปีคาร์บอนไดออกไซด์ได้รับการกำหนดให้มี GWP เท่ากับ 1 (เพื่อเป็นฐานเปรียบเทียบ) - มีเทน มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศเท่ากับ 12 ± 3 ปี และมี GWP เท่ากับ 62 ในเวลา 20 ปี, 23 ในเวลา 100 ปี,และ 7 ในเวลา 500 ปี การลดค่า GWP ที่สัมพันธ์กับเวลาที่นานกว่าที่สัมพันธ์กับข้อเท็จจริงที่ว่ามีเทนเสื่อมเมื่อทำปฏิกิริยากับน้ำและ CO2 ในบรรยากาศ
- ไนตรัสออกไซด์ มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ 120 ปี และมี GWP ที่ 269 ในเวลา 100 ปี
- CFC-12 มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ 100 ปี และมี GWP ที่ 10,600 ในเวลา 100 ปี
- HCFC-22 มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ 12.1 ปี และมี GWP ที่1,700 ในเวลา 100 ปี
- เตทราฟลูโอโรมีเทน (Tetrafluoromethane) มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ 50,000 ปี และมี GWP ที่ 5,700 ในเวลา 100 ปี
- ซัลเฟอร์เฮกซาฟลูโอไรด์ (Sulfur hexafluoride มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศ 3,200 ปี และมี GWP ที่ 22,000 ในเวลา 100 ปี
ที่มา : IPCC, table 6.7.
Airborne fraction
Airborne fraction (AF) หมายถึงสัดส่วนของการปล่อยแก๊สเรือนกระจก (ปกติได้แก่ CO
2) ที่เหลือตกค้างในบรรยากาศหลังระยะเวลาหนึ่ง แคนาเดลล์ (Canadell 2007) ได้ให้คำนิยามของ AF รายปีว่าเป็นอัตราส่วนของ CO
2ในบรรยากาศที่เพิ่มในปีที่กำหนดต่อจำนวนปีที่ปล่อยออกมาทั้งหมด และคำนวณว่าเฉลี่ยได้เท่ากับ 9.1 PgC y-1 ของการปล่อยโดยกิจกรรมของมนุษย์ทั้งหมดตั้งแต่ พ.ศ. 2543 – พ.ศ. 2549 ซึ่งมี AF เท่ากับ 0.45. สำหรับ CO
2AF ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2499 – พ.ศ. 2549) ได้เพิ่มในอัตรา 0.25±0.21 %/ปี
ศักยภาพโลกร้อน
( global warming potential) หรือ GWP ขึ้นอยู่กับทั้งประสิทธิภาพของโมเลกุลในฐานะการเป็นแก๊สเรือนกระจกกับเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศของมัน GWP วัดได้โดยการเปรียบเทียบกับ CO
2ในขนาดของมวลที่เท่ากันแล้วจึงประเมินหาค่าเฉพาะของเวลา ดังนั้น ถ้าโมเลกุล (ของแก๊สเรือนกระจก) มี GWP สูงในช่วงเวลาที่สั้น (เช่น 20 ปี) แต่กลับมีช่วงชั่วชีวิตสั้น ย่อมหมายความว่ามันมี GWP มากในช่วงเวลา 20 ปี แต่จะมีน้อยในช่วงเวลา 100 ปี และในทางกลับกันถ้าโมเลกุลของ CO2ที่มีเวลาชั่วชีวิตบรรยกาศที่ยาวกว่า GWP จะเพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผ่านไป
ผลกระทบที่เกี่ยวข้อง
คาร์บอนมอนอกไซด์ มีผลในการแผ่รังสีทางอ้อมโดยทำให้ระดับความเข้มของมีเทนและสูงขึ้นผ่านการ “เก็บตกแก๊สอื่น” ในบรรยากาศ (เช่น (hydroxyl radical, OH) คาร์บอนมอนอกไซด์เกิดขึ้นเมื่อเชื้อเพลิงที่มีส่วนประกอบของคาร์บอนถูกเผาไม่สมบูรณ์ มันจะได้รับการเติมออกซิเจนในบรรยากาศตามกระบวนการธรรมชาติกลายเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์มีเวลาชั่วชีวิตในบรรยากาศเพียงไม่กี่เดือน ดังนั้นมันจึงมีความผันแปรเชิงเนื้อที่มากกว่าแก๊สอายุยืนอื่นๆ
แนวโน้มสำคัญในการมีผลทางอ้อมอีกประการหนึ่งมาจากมีเทนซึ่งนอกเหนือไปจากผลกระทบด้านการแผ่รังสีโดยตรงของมันแล้ว มันยังเป็นตัวช่วยสร้างโอโซนอีกด้วย ชินเดลล์และคณะ (Shindell et al 2005) ให้ข้อถกเถียงว่า การมีส่วนในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ของมีเทนอย่างน้อยก็มีส่วนมากเป็น 2 เท่าจากที่เคยประมาณกันมาด้วยผลกระทบดังที่กล่าวนี้
ดูเพิ่ม
|
|
|
อ้างอิง
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-11-17. สืบค้นเมื่อ 14 December 2008.
- Karl TR, Trenberth KE (2003). "Modern global climate change". Science. 302 (5651): 1719–23. Bibcode:2003Sci...302.1719K. doi:10.1126/science.1090228. PMID 14657489.
- Le Treut H., Somerville R., Cubasch U., Ding Y., Mauritzen C., Mokssit A., Peterson T. and Prather M. (2007). (PDF). Cambridge University Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-11-26. สืบค้นเมื่อ 14 December 2008.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - . Nasascience.nasa.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-17. สืบค้นเมื่อ 2010-10-16.
- Kiehl, J. T.; Kevin E. Trenberth (February 1997). (PDF). Bulletin of the American Meteorological Society. 78 (2): 197–208. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-03-30. สืบค้นเมื่อ 2006-05-01.
- "Water vapour: feedback or forcing?". RealClimate. 6 April 2005. สืบค้นเมื่อ 2006-05-01.
- Image:Phanerozoic Carbon Dioxide.png
- Berner, RA, (1994) GEOCARB II: a revised model of atmospheric CO
2 over Phanerozoic time. American Journal of Science 294, 56–91 - DL Royer, RA Berner and DJ Beerling (2001) Phanerozoic atmospheric CO
2 change: evaluating geochemical and paleobiological approaches. Earth-Science Reviews 54, 349-392 - Berner, RA, Kothavala, Z (2001) GEOCARB III: a revised model of atmospheric CO
2 over Phanerozoic time. American Journal of Science 301, 182-204 - Beerling, DJ and Berner, RA (2005) Feedbacks and the co-evolution of plants and atmospheric CO
2. Proceedings of the National Academy of Science 102, 1302-1305 - PF Hoffmann, AJ Kaufman, GP Halverson, DP Schrag (1998) A neoproterozoic snowball earth. Science 281, 1342-1346 [1]
- TM Gerlach (1991) Present-day CO
2 emissions from volcanoes. Transactions of the American Geophysical Union 72, 249-255 - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-14. สืบค้นเมื่อ 2006-05-01.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-15. สืบค้นเมื่อ 2008-04-17.
- http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-chapter7.pdf 2011-03-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Climate Change 2007 The Physical Science Basis. Chapter 7: Couplings Between Changes in the Climate System and Biogeochemistry
- http://www.ipcc.ch/pdf/assessment-report/ar4/wg1/ar4-wg1-chapter7.pdf 2011-03-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน IPCC Fourth Assessment Report, Working Group I Report "The Physical Science Basis", Section 7.3.3.1.5 (p. 527)
- H. Steinfeld, P. Gerber, T. Wassenaar, V. Castel, M. Rosales, C. de Haan (2006) Livestock’s long shadow. Environmental issues and options. FAO Livestock, Environment and Development (LEAD) Initiative. [2] 2008-06-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Raupach, M.R. et al. (2007) "Global and regional drivers of accelerating CO2 emissions." 104 (24) : 10288-10293.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-06-01. สืบค้นเมื่อ 2008-04-17.
- Lerner & K. Lee Lerner, Brenda Wilmoth (2006). "Environmental issues : essential primary sources."". Thomson Gale. สืบค้นเมื่อ 2006-09-11.
- realclimate.org. .
- Held, Isaac M.; Soden, Brian J. (2006), "Robust Responses of the Hydrological Cycle to Global Warming" (PDF), , 19 (21): 5686–5699, doi:10.1175/JCLI3990, สืบค้นเมื่อ 2007-07-11
- Friederike Wagner, Bent Aaby and Henk Visscher (2002). "Rapid atmospheric CO2 changes associated with the 8,200-years-B.P. cooling event". PNAS. 99 (19): 12011–12014. doi:10.1073/pnas.182420699.
- Andreas Indermühle, Bernhard Stauffer, Thomas F. Stocker (1999). "Early Holocene Atmospheric CO2 Concentrations". Science. 286 (5446): 1815. doi:10.1126/science.286.5446.1815a.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () "Early Holocene Atmospheric CO2 Concentrations". Science. สืบค้นเมื่อ May 26, 2005. - H.J. Smith, M Wahlen and D. Mastroianni (1997). "The CO2 concentration of air trapped in GISP2 ice from the Last Glacial Maximum-Holocene transition". Geophysical Research Letters. 24 (1): 1–4.
- [3]PDF (96.8 )
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-07-12. สืบค้นเมื่อ 2008-04-17.
- Planet Ark : Greenhouse Gases at New Peak in Sign of Asia Growth
- [http://ucsdnews.ucsd.edu/newsrel/international/03-08ChinasCarbonDioxideEmissions.asp "UC Analysis Shows Alarming Increase in Expected Growth of China's Carbon Dioxide Emissions", accessed 2008-03-11
- Emissions inventory from the EPA, cited in Science News, vol. 171, p. 318
- . 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-07-01. สืบค้นเมื่อ 2007-06-21.
- Solomon, Susan; Qin, Dahe; Manning, Martin; Marquis, Melinda; Averyt, Kristen; Tignor, Melinda M.B.; Miller, Jr., Henry LeRoy; Chen, Zhenlin, บ.ก. (2007), , IPCC, 2007: Climate Change 2007: The Physical Science Basis. Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change, Cambridge, United Kingdom and New York, NY, USA: , ISBN , คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-05-01, สืบค้นเมื่อ 2007-07-24
- Archer, David (2005), "Fate of fossil fuel CO
2 in geologic time" (PDF), , 110 (C9): C09S05.1-C09S05.6, doi:10.1029/2004JC002625, สืบค้นเมื่อ 2007-07-27 - Caldeira, Ken; Wickett, Michael E. (2005), (PDF), , 110 (C9): C09S04.1-C09S04.12, doi:10.1029/2004JC002671, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2007-08-10, สืบค้นเมื่อ 2007-07-27
- Canadell, J.G.; Le Quere, C.; Raupach, M.R.; Field, C.B.; Buitenhuis, E.T.; Ciais, P.; Conway, T.J.; Gillett, N.P.; Houghton, R.A.; Marland, G. (2007). "Contributions to accelerating atmospheric CO2 growth from economic activity, carbon intensity, and efficiency of natural sinks". Proc. Natl. Acad. Sci. USA. 104 (47): 18866–70. Bibcode:2007PNAS..10418866C. doi:10.1073/pnas.0702737104. PMC 2141868. PMID 17962418.
- Impact of Emissions, Chemistry, and Climate on Atmospheric Carbon Monoxide: 100-year Predictions from a Global Chemistry-Climate ModelPDF (115 )
- Shindell, Drew T.; Faluvegi, Greg; Bell, Nadine; Schmidt, Gavin A. "An emissions-based view of climate forcing by methane and tropospheric ozone", Geophysical Research Letters, Vol. 32, No. 4 [4] 2005-09-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-09-11. สืบค้นเมื่อ 2008-04-17.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก๊สเรือนกระจก ที่เว็บไซต์ Curlie
- Greenhouse-gas reduction technologies for coal-fired power generation 2007-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- The NOAA Annual Greenhouse Gas Index (AGGI).
- Greenhouse Gases Sources, Levels, Study results — University of Michigan; eia.gov findings
- Kenya legislation aims to cut industrial gas emissions, March 2008 [7]
- ศูนย์ประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2007-05-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์
- International Energy Annual: Reserves
- International Energy Annual 2003: Carbon Dioxide Emissions
- International Energy Annual 2003: Notes and Sources for Table H.1co2 (Metric tons of carbon dioxide can be converted to metric tons of carbon equivalent by multiplying by 12/44)
- DOE — EIA — Alternatives to Traditional Transportation Fuels 1994 — Volume 2, Greenhouse Gas Emissions (includes "Greenhouse Gas Spectral Overlaps and Their Significance")
- NOAA Paleoclimatology Program — Vostok Ice Core
- NOAA CMDL CCGG — Interactive Atmospheric Data Visualization NOAA CO2 data
- Carbon Dioxide Information Analysis Centre FAQ 2008-02-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Includes links to Carbon Dioxide statistics
- Little Green Data Book 2007, World Bank. Lists C02 statistics by country, including per capita and by country income class.
- Flight Carbon Emission Calculator 2009-12-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
การปล่อยมีเทน
- BBC News — Thawing Siberian bogs are releasing more methane
- METHANE-EATING BUG HOLDS PROMISE FOR CUTTING GREENHOUSE GAS 2010-06-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Media Release, GNS Science, New Zealand
นโยบายและการสนับสนุน
- ศูนย์ประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สนผ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ 2007-05-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Australian Greenhouse Gas Initiative
- Global Green Plan 2015-11-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, องค์การไม่แสวงกำไรในเมลเบิร์น ออสเตรเลีย ผู้พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเพื่อสอนเยาวชนให้รู้จักการลดการปล่อยแก๊ส
- Carbon Dioxide is Good for the Environment 2010-06-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน รายงานวิจัยปี พ.ศ. 2544 National Center for Public Policy Research
- Environmental Effects of Increased Atmospheric Carbon Dioxide รายงานวิจัยโดย Oregon Institute of Science and Medicine
- EU page about reducing CO2 emissions from light-duty vehicles : the EU's aim is to reach — by 2010 at the latest — an average CO2 emission figure of 120 g/km for all new passenger cars marketed in the Union.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud aekseruxnkrack xngkvs greenhouse gas hruxbangkhrngeriykyxwa GHG khuxaeksinbrryakasthidudsbaelapldplxyrngsiphayinchwngkhwamthi khlunaemehlkiffa xinfraerdrxn xngkvs thermal infrared range thaihekidkarsuyesiykhwamrxnbangswnxxksuhwngxwkasphaynxkaelapldplxykhwamrxnklbsuphunphiwolk khbwnkarnicungepnsaehtuphunthankhxngpraktkarneruxnkrack xngkvs Greenhouse effect aekseruxnkrackmikhwamcaepnaelamikhwamsakhytxkarrksaradbxunhphumikhxngolk hakprascakaekseruxnkrack olkcahnaweyncnsingmichiwitxyuxasyimid xunhphumiinolkcatakwapccubnthi 14 C 57 F lngxik 33 C 59 F aetkarmiaekseruxnkrackmakekinipkepnehtuihxunhphumisungkhunthungradbepnxntraytxsingmichiwitdngthiepnxyukbbrryakaskhxngdawsukrsungmibrryakasthiprakxbdwykharbxnidxxkisdmakthungrxyla 96 5 miphlihxunhphumiphiwphunrxnmakthung 467 C 872 F khawa aekseruxnkrack bnolkhmaythungaekstang eriyngtamladbkhwamxudmkhux ixna kharbxnidxxkisd miethn intrsxxkisd aela Chlorofluorocarbon aekseruxnkrackekidexngtamthrrmchatiaelacakkrabwnkarxutsahkrrmsungpccubnthaihradbkharbxnidxxkisdmiinbrryakas 380 ppmv aelathipraktin duaephnphumi caehnwaradbkhxngkharbxnidxxkisdinbrryakaspccubnsungkwaradbemuxkxnyukhxutsahkrrmpraman 100 ppmvbn karephimradb CO2 inbrryakastamthiwdinbrryakasaelainaeknnaaekhng ice core lang primansuththikhxngkharbxn co thiephiminbrryakasepriybethiybkbkharbxnthipldplxycakkarephaphlayechuxephlingsakdukdabrrph fossil fuel praktkarneruxnkrackbthkhwamhlk praktkarneruxnkrack praktkarneruxnkrack phaphcalxngaesdng phlngngan ihlipmarahwangxwkasphaynxk brryakaskhxngolk aelaphunphiwkhxngolk phlngnganthiihlekhaaelathipldplxyxxkipaesdnginkha wtt txtrm W m2 lksnaaethbkardudklun absorption band rngsidwngxathityaelarngsikhwamrxnthiaephkhundanbnthiekidcakaekseruxnkrack emuxaesngxathitysxngthungphiwolk bangswncathukdudkluniwaelathaihphiwphunolkxunkhun bangswncasathxnklb enuxngcakphiwolkeynkwaphiwdwngxathitymakswnthisathxnklbcungaephkracayphlngnganthimichwngkhlunyawkwarngsicakdwngxathity odymichwngyawmaksudthiaethbkhwamthiinchwngxinfraerdhruxthipraman 10 µm aekseruxnkrackinbrryakascadudklunchwngkhlunthiyawkwaiddikwaaesngchwngkhlunsnkhxngaesngxathity kardudklunphlngnganchwngkhlunyawniexngthithaihbrryakasrxnkhun aekseruxnkrackkplxyrngsikhlunyaw xikkhrng thngkhunsuhwngxwkasaelaplxylngsuphunphiwolk krabwnkarnieriykwa praktkarneruxnkrack aekseruxnkrackswnihykhuxixna sungmiphltxpraktkarneruxnkrackbnolkpramanrxyla 36 70 oprdsngektwaemkhimidprakxbdwyixnaaelaemkhmiphltxphumixakasinlksnaxun kharbxnidxxkisdsungmiphlrxyla 9 26 miethnmiphlrxyla 4 9 aelaoxosnrxyla 3 7 epnkaryakhruxekuxbepnipimidthichilngipihchdwaaeksidmiphltxbrryakasaennxnethaidenuxngcakxiththiphlkhxngaeksehlaniepnphwkthinaiprwmknimid dansungkhxngchwngepnkarbngthungtwaeksephiyngxyangediyw inkhnathiplaykhxngchwngkhangtaichbngthungkarehluxmthiekidinkaraecngnb aekseruxnkrackxun rwmthungaetimcakdechphaaidaek intrsxxkisd nitrous oxide slefxrehksafluxxird sulfur hexafluoride hydrofluorocarbon perfluorocarbon aelakhlxorfluxxorkharbxn chlorofluorocarbons du raychuxaekseruxnkrackkhxng IPCC IPCC list of greenhouse gases swnprakxbhlkkhxngbrryakasidaekinotrecn N2 aelaxxksiecn O2 sungimichaekseruxnkrack thngnienuxngcakmnmilksnaepnchnid homonuclear diatomic molecules dngnn inotrecnaelaxxksiecn caimdudklunhruxplxyrngsixinfraerdephraaimmikaraelkepliyn dipole moment khxngomelkulehlaniemuxmnsntw karsnkhxngomelkulekidkhunemuxkhnadphlngngankhxngmnethakbkhnadkhxngphlngnganoftxnkhxngxinfraerd omelkulxatxmkhuchnid echn kharbxnmxnxkisd CO hrux ihodrecnkhlxird HCl dudklunxinfraerd aetomelkulkhxngehlanimixayusninbrryakasenuxngcakkhunsmbtithangptikiriyaaelakarthuklalayidngaykhxngmn mncungmiphltxpraktkarneruxnkracknxymak inchwngplaykhriststwrrsthi 19 praman ph s 2420 nkwithyasastridthakarthdlxngaelaphbwa inotrecn aela xxksiecn imdudklunrngsixinfraerd klawthungkninsmynnwa rngsimud dark radiation aelawa kharbxnidxxkisd aelakasxikhlaychnidkimdudklunxinfraerd epnthiyxmrbknemuxtnkhriststwrrsthi 20 praman ph s 2470 waaekseruxnkrackthithrabekuxbthnghmdinbrryakasmiphlthaihxunhphumikhxngbrryakassungkhunkwakarimmiaekseruxnkrackthrrmchatiaelakickrrmkhxngmnusykharbxnidxxkisdinchwng 400 000 pi aekseruxnkrackekuxbthnghmdmithimacakthngthrrmchatiaelaekidcakkickrrmkhxngmnusy inrahwangyukhoholsin holocene sungepnyukhkxnxutsahkrrm karsasmkhxngaekstang inbrryakaskhxnkhangxyutw nbtngaetyukhkarptiwtixutsahkrrmepntnma karsasmkhxngaeksbangchnidephimprimankhun mihlkthanbngchdwakarephimekidcakkickrrmkhxngmnusymakkwakarekidtamthrrmchati aeks radbkxnxutsahkrrm radbpccubn karephimtngaet ph s 2300 Radiative forcing Wm2 kharbxnidxxkisd 280 ppm 384ppm 87 ppm 1 46miethn 700 ppb 1 745 ppb 1 045 ppb 0 48intrsxxkisd 270 ppb 314 ppb 44 ppb 0 15 CFC 12 0 533 ppt 533 ppt 0 17 twxyangaeknnaaekhng Ice core idihhlkthanthiaesdngihehnkarepliynaeplngkhunlngkhxngkarsasmkhxngaekseruxnkrackinbrryakaskhxngolkinchwng 800 000 pi thiphanmathng CO2 aela CH4 phnaeprrahwangyukhnaaekhngaelayukhrahwangyukhnaaekhng interglacial phases sungkarsasmkhxngaeksehlanismphnthxyangchdecnkbradbxunhphumi kxnhnanikarwdprimanodytrngxyangthiidcaktwxyangaeknnaaekhngyngimmi karwdodyichwithiaebbcalxngaelakarichtwaethnaesdngihehnkarphnaeprkhxnkhangmak emux 500 lanpikxnradbkhxng CO2 miprimansungkwapccubnmakkwa 10 etha khwamcringaelwechuxknwakarsasmthisungmakkhxng CO2 mimatlxd Phanerozoic eon odymiprimankarsasm 5 6 ethakhxngprimaninbrryakaspccubnin aela 10 15 ethain Palaeozoic era txntnaelatxenuxngmathung Devonian period praman 400 lanpikxn karkracaykhyaytwkhxngphuchbnbkidldprimankarsasm CO2 inchwngplayyukhedonewiyn karthahnathikhxngphuchthngdankarepnaehlngekidaelaaehlngekbkkkhxng CO2 karepnpccysakhyinkarsrangsethiyrphaphkarpxnklb inchwng 200 lanpikxnhnannidekidyukhnaaekhngklbipklbmacnminaaekhngpkkhlumekuxbthungesnsunysutr eriykknwaolkkxnhima Snowball Earth aelaidekidkarhyudxyangkathnhnemuxpraman 500 lanpikxncakkarraebidxyangmhasalkhxngphuekhaifthiidpldplxy CO2 xxkmathaihprimankhxngmnphungkhunthungrxyla 12 xyangkathnhn hruxethakbpraman 120 ethakhxngpccubn sngphlihekidpraktkarneruxnkrackaelakarekid echn hinpun inxtrasungthungpraman 1 milliemtrtxwn ehtukarnihyinkhrngniidpidbrmyukhphriaekhmebriynlngaelathdaethnody Phanerozoic thirxnkwa thisungepnyukhthistwaelaphuchhlayesllerimwiwthnakarkhun hlngyukhnikimmikarpldplxykharbxnidxxkisdincanwnmhasalxyangnixxkmaxik aela n pccubn karpldplxyaekskharbxnidxxkisdcakphuekhaifsubrryakasyngmiprimankarpldplxynxykwakickrrmkhxngmnusyaekseruxnkrackcakkickrrmmnusykarpldplxyaekseruxnkrackodykickrrmmnusycaaenkodyxxkepn 8 phakhswnyxnkhxng ph s 2543primanaekseruxnkrackthipldplxytxhwprachakrkhxngpraethstang in ph s 2543 rwmkarepliynaeplngkarichthidin nbtngaetpraman ph s 2300 epntnmakickrrmkhxngmnusyidephimprimankarsasmkharbxnidxxkisdaelaaekseruxnkrackthisakhychnidxun makkhun aehlngekidtamthrrmchatikhxngkharbxnidxxkisdintxnaerkmiprimansungkwacakkickrrmmnusypraman 20 etha aetprimancakthrrmchatidngklawxyuinphawasmduldwykarkkekbtamthrrmchati echncakkarkrxnslaykhxnghinbnaephndinaelacakkarsngekhraahaesngkhxngphuchaelainthaelthidungkharbxnidxxkisdipekbkkiw aelacakphlkhxngkarsmdulni thaihprimankharbxnidxxkisdkhngthixyurahwang 260 aela 280 swninlanswnepnewlatxenuxngpraman 10 000 pirahwangkarhmdyukhnaaekhngaelaemuxerimyukhxutsahkrrm aehlngekidaekseruxnkrackcakkickrrmkhxngmnusyrwmthung karephaphlayechuxephlingsakdukdabrrphaelakarthalaypathiplxykharbxnidxxkisdsubrryakasmakkhun karthalaypa odyechphaainekhtrxn miswnpldplxy CO2 makthung 1 in 3 khxng CO2 thiekidcakkickrrmmnusythnghmd inkraephaaaelalaiskhxngpsustwaelakarcdkarekiywkbmulpsustw karichaelakarepliynaeplngkarichthidininphunthichumna karsuyesiyaeksaelanamncakthxsng rwmthungkarplxyaekscak ehlani thaihprimankhxngmiethnephimmakkhuninbrryakas hruxsmyihmaebbpidthubthirabayaeksthangthxrabaykmiswnephimmakechnknkarichsar CFCs intueynaelaekhruxngprbxakas rwmthngkarichaeks halon inrabbthngdbephlingaelakrabwnkarphlitkhxngphuphlit kickrrmthangkarekstrsungrwmthngkarichpuythiepntwephimaeksintrsxxkisd aehlngthngecdkhxng CO2 cakkarephaihmechuxephlingsakdukdabrrphidaek epnrxylakhxngprimanthiplxyin ph s 2543 2547 echuxephlingaekhng echn thanhin 35 echuxephlingehlw echn namnebnsin 36 echuxephlingaeks echn aeksthrrmchati 20 karephathing Flaring thangxutsahkrrmaelathi lt 1 karphlit 3 sarihodrkharbxnthiimichechuxephling lt 1 echuxephling bngekxr nanachati bunkers thiichkbekhruxngbinaelathiimidnbrwmiwintwelkhkhxngchatiid 4 hnwyngan xiphiex khxngshrth cdxndbphuplxyaekseruxnkrackkhxng phakhswnphuichkhnsudthay end user sectors iwepnladbdngnikhux xutsahkrrm karkhnsng aelaekstrkrrm aehlngpldplxyaekseruxnkrackraybukhkhlekidcakkarihkhwamxbxunaelainxakhar karichiffaaelakarkhnsng matrkarephuxaekikhidaekkarichchnwnknkhwamrxnsahrbxakhar karichhlxdaebbprahydaelakareluxksuxrthyntthikinnamnnxy kharbxnidxxkisd miethn intrsxxkisdaelaklumthng 3 khxngaeks fluorinated gas idaek slefxrehksafluxxird sulfur hexafluoride HFC aela PFCs nbepnaekseruxnkrackthikahndiwinphithisarekiywot sungidthungkahndkarbngkhbichin ph s 2548 aemaeks CFCs caepnaekseruxnkrackaetkthukkhwbkhumxyuaelwody Montreal Protocol sungepnphlkhxngkarcakdkarichthienuxngmacak ozone depletion makkwakarepnaeksthithaihekidpraktkarnolkrxn oprdsngektwakarldlngkhxngchnoxosnmiphlnxymaktxpraktkarnolkrxn krabwnkarthitangknthngsxngnisrangkhwamsbsnaeksuxmakphxkhwrbthbathkhxngixnaIkarephimkhxngixnathiemuxngobledxr rthokhorraod ixna Water vapor nbepnaekseruxnkrackthiekidcakthrrmchatithithaihekidpraktkarneruxnkrackmakthisud khuxrahwangrxyla 36 66 karsasmtwkhxngixnamaknxytangkniptamphumiphakh kickrrmkhxngmnusyimmiphlodytrngtxixnaykewnphunthiradbculphakh echn briewniklphunthiekstrthimi Clausius Clapeyron relation kahndiwwa xakasxunekbkkixnaepnhnwybrimatridmakkwa climate model thithnsmythisudthanaywakarsasmkhxngixnainxakasrxncakhyaykhnadkhxngpraktkarneruxnkrackthiepnphlcakaekseruxnkrackthiekidcakkickrrmkhxngmnusyodyyngkhngrksakhwamchunsmphththiwidkhngthi dngnnixnacungthahnathipxnklbthangbwktxaerngthiekidcakaekseruxnkrackechn CO2 karplxyaekseruxnkrackbthkhwamhlk carbon dioxide emissions karwdcakaexntarktik Measurements from Antarctic ice cores phbwakxnmikarerimplxyaekseruxnkrackcakxutsahkrrmephiyngelknxy radbkhxng CO2 inbrryakasmipraman 280 ppm odybrimatr caktwxyangaeknnaaekhngduehmuxnwakarsasmkhxng CO2 caningxyuthirahwang 260 aela 280 ppm epnewla 10 000 pikxnhnann karsuksaodykarichhlkthancakpakibkhxngibimdukdabrrphphbwamikarphnaeprkhxngradb CO2 khxnkhangmakkhuxsungkwa 300 ppm inchwng 7 000 10 000 pithiphanma aemnkwithyasastrbangkhnotaeyngwakarkhnphbnisathxnihehnpyhakhxngkarkhanwnepriybethiyb karaepdepuxnmakkwakarphnaeprkhxngprimancringkhxng CO2 nbtngaetkarerimtnkhxngkarptiwtixutsahkrrmepntnma khwamekhmkhxngprimanaekseruxnkrackidephimkhun karsasmkhxng CO2 idephimkhunpraman 100 ppm echnrahwang 280 ppm thung380 ppm karephim 50 ppm aerkichewlapraman 200 picakkarerimkarptiwtixutsahkrrmmathungpraman ph s 2516 karephim 50 ppm thdmaichewlapraman 33 picak ph s 2516 thung ph s 2549 phlkarsngektkarnsamarthduthangxxnilnidin thankhxmulsngektkarnphumixakasechingekhmi Atmospheric Chemistry Observational Databases aekseruxnkrackthimikhwamaerngkhxngkaraephrngsimidngni Relevant to radiative forcing aeks primanpccubn ph s 2541 karephimkxnyukhxutsahkrrm ph s 2300 rxylathiephim aerngkaraephrngsi wtt tarangemtr kharbxnidxxkisd 365 ppm 383 ppm 2007 01 87 ppm 105 ppm 2007 01 31 37 77 2007 01 1 46 1 532 2007 01 miethn 1 745 ppb 1 045 ppb 150 0 48intrsxxkisd 314 ppb 44 ppb 16 0 15Global karplxy kharbxn cakkickrrmkhxngmnusy ph s 2294 ph s 2547 aeksthiepnthngaerngaephrngsi radiative forcing aelatwthalayoxosn thnghmdkhanglangniimekidtamthrrmchati dngnncungmiprimanethakbsunyinyukhkxnxutsahkrrm aeks primanpccubn ph s 2541 aerngkaraephrngsi W m CFC 11 Trichlorofluoromethane CFC 11 268 ppt Parts per trillion ppt 0 07CFC 12 Dichlorodifluoromethane CFC 12 533 ppt 0 17CFC Chlorofluorocarbon CFC 113 84 ppt 0 03Carbon tetrachloride 102 ppt 0 01HCFC 22 69 ppt 0 03 thima raynganeruxngaerngaephrngsikhxng IPCC ph s 2547 prbprungihm ph s 2541 ody IPCC TAR tarangthi 6 1 5 2007 06 15 thi ewyaebkaemchchin 6 2005 04 20 thi ewyaebkaemchchin xtrakarepliynaelakarplxyemuxerw ni khwamekhmkhxngaekseruxnkrackinpi ph s 2543 rwmkarepliynaeplngkarichthidin xtraerngxyangrwderwinkarpldplxy CO2 nbtngaet ph s 2543 incanwn gt 3 y 1 gt 2 ppm y 1 cak 1 1 y 1 rahwangchwng ph s 2534 ph s 2542 nbidwaepnkartxenuxngkhxngaenwonmkhxngkarld carbon intensity thnginpraethsphthnaaelwaelapraethskalngphthna thungaemmakkwa 3 4 khxngkarsasm CO2 cakkickrrmmnusycamacakpraethskalngphthnaktam karldprimankarplxylngepnechphaathxngthinmikhwamsmphnthkbkarlmslaykhxng shphaphosewiyt thitammadwykarplxythinxylngkhxngphumiphakhenuxngcakkarichphlngnganthimiprasiththiphaphmakkhun cakkarepriybethiyb phbwamiethnephimimmak aela N2O ephim 0 25 y 1 exechiy radbkhxngaekseruxnkrackcakkickrrmmnusyidephimthungcudsungsudxikkhrngdwysyyankhxngkarephimesrsthkickarxutsahkrrmkhxngexechiynaodycin inchwngrahwangpi ph s 2543 ph s 2553 khadwacincaplxykharbxnxxkmaxik 600 lantn swnihyekidcakkarkxsrangaebbekaxyangrwderwincnghwdtang thiyngcnxyu shrthxemrika bthkhwamhlk phasaxngkvs Greenhouse gas emissions by the United States aela United States federal register of greenhouse gas emissions shrth plxyaekseruxnkrackinpi ph s 2548 ephimkhunrxyla 16 3 cak ph s 2533 cakkarkhadkhaenebuxngtnkhxnghnwypraemindansingaewdlxmkhxngenethxraelnd phbwa praethsthiplxy CO2 nbtngaet ph s 2549 khuxcinsungplxyxxkmapraman 6 200 tamdwyshrthpraman 5 800 emkkatn ethiybkbpi ph s 2548 cinplxy CO2 caksakdukdabrrphephimin ph s 2549 rxyla 8 7 inkhnathipiediywknkhxngshrth ldlngrxyla 1 4 hnwypraemin dngklawihkhxsngektwa karkhadkhaenkhxngtnimrwmaehlng CO2 thiimaennxn thungaemwanahnkcaimmakemuxethiybkbnahnkkhxngkharbxnidxxkisdthimixyuinbrryakas aetknbwaepnradbthimakkwaradbinyukhkxnxutsahkrrmkarldprimanaekseruxnkrackcakbrryakasaelaaenwonmkhxngolkrxnaenwonmkhxngaekseruxnkracktwhlk nxkcakixnasungmixayuepnwn aekseruxnkrackekuxbthnghmdtxngichewlananhlaypicungcahnixxkcakbrryakasipid aemcayngimxacthrabidaennxnwacaichewlakipi aetkmikarkhadkhaensahrbaekseruxnkracktwhlkiwaelwdngni karaeykaekseruxnkrackxacthaidhlaykrabwnkar cakphlkhxngkarepliynaeplngthangkayphaph karklntwaelakartklngmaepnhyadnafaepnkarkhcdnaxxkcakbrryakas cakphlkhxngphayinbrryakas inkrninikhuxmiethn odykardwyptikiriyathiekidkhuntamthrrmchatikbxnumulxisra free radical khxng hydroxyl OH aelaslaytwepn CO2 aelaixnaemuxthaptikiriyaesrc karmiswnkhxng CO2 khxngmiethnthirwmkbxxksiecnniimnbepnmiethnthimiskyphaphthaiholkrxn ptikiriyanirwmnayaaelakhxngaekhngthangekhmiekidkhuninlaxxnglxykhxngbrryakas cakphlkhxngkaraelkepliynthangkayphaphthiphiwhnakhxngbrryakaskbphiwhnasingxuninolk echn karlalaykhxngchnaeksinbrryakasthiphiwmhasmuthr cakphlkarepliynaeplngthangekhmithiphiwhnakhxngbrryakaskbphiwhnakhxngsingxuninolk inkrninikhux CO2 sungldlngodykarsngekhraahaesngkhxngphuch aelahlngcaklalayinmhasmuthraelwthaptikiriyaklayepnpracukrdkharbxnik aela aela du karepnkrdkhxngmhasmuthr ocean acidification cakphlkhxng Photochemical change Halocarbon caaetktwodyaesngxultraiwoxeltaelapldplxy Cl and F inthanaxnumulxisrathimixntraytxoxosn pktihaolkharbxnmikhwamsethiyrmakekinthicaekidptikiriyainbrryakas cakphlkhxngkaraetkepnixxxncakphlngnganradbsungkhxngrngsikhxsmik hruxfapha sungkaryudtwkhxngomelkulcaaetkxxk echnfaphakxtw anions khxnginotrecncak N2 sungcathaptikiriyakb O2 to form NO2 primankarplxy CO2 cakkickrrmmnusytxhwprachakrewlachwchiwitinbrryakas twaepresrimkhxng atmospheric lifetime hmaythungrayaewlathicaichinkarfunfuihkhunsphawasmdulhlngkarephimkarsasmkhxngaekseruxnkrackinbrryakas omelkulkhxngaeksxacekidkaraelkepliynaebbekbkk sinks echnkbdin mhasmuthr phuchaelarabbchiwaxun thaihkarsasmthimakekinldlngxyangedim rwmthngewlathitxngichsahrb rayachwchiwitechliy mean lifetime ni mkmikarklawthungrayaewlachwchiwitinbrryakaskhxng CO2 thiimthuktxngwaepnewlaimkipiephraakhidephiyngewlathiomelkulkhxng CO2 inbrryakasthukkhcdxxkodykarphasmhruxlalayinmhasmuthr hruxthukichipinkarsngekhraahaesng hruxdwykrabwnkarxun xyangirkdi khwamkhidnilumflkskarsmdulkhxng CO2 thiklbxxkcak aexngekbkk xun dngnn twkahndthiaethcringcungxyuthikarepliynaeplngsuththikhxngaekseruxnkrackin thukaehlngaelathukaexngekbkk miichkhidechphaaewlakhxngkrabwnkarkhcdethann twxyang ewlachwchiwitinbrryakas aela GWP Global warming potential khxngaekseruxnkrackchnidtang CO2 miewlachwchiwitinbrryakasthiphnaeprthiimsamarthbngbxkidxyangaennxnaelachdecn phlnganwicyemuxerw nibngchiwa karfunsphaphcakkarephimkhxng CO2 thiekhasubrryakasodykarephaphlayechuxephlingsakdukdabrrphnnmiphlthaihrayasahrb ewlachwchiwitinbrryakas txngichewlamaknbhmunpikharbxnidxxkisdidrbkarkahndihmi GWP ethakb 1 ephuxepnthanepriybethiyb miethn miewlachwchiwitinbrryakasethakb 12 3 pi aelami GWP ethakb 62 inewla 20 pi 23 inewla 100 pi aela 7 inewla 500 pi karldkha GWP thismphnthkbewlathinankwathismphnthkbkhxethccringthiwamiethnesuxmemuxthaptikiriyakbnaaela CO2 inbrryakas intrsxxkisd miewlachwchiwitinbrryakas 120 pi aelami GWP thi 269 inewla 100 pi CFC 12 miewlachwchiwitinbrryakas 100 pi aelami GWP thi 10 600 inewla 100 pi HCFC 22 miewlachwchiwitinbrryakas 12 1 pi aelami GWP thi1 700 inewla 100 pi etthrafluoxormiethn Tetrafluoromethane miewlachwchiwitinbrryakas 50 000 pi aelami GWP thi 5 700 inewla 100 pi slefxrehksafluoxird Sulfur hexafluoride miewlachwchiwitinbrryakas 3 200 pi aelami GWP thi 22 000 inewla 100 pi thima IPCC table 6 7 Airborne fraction Airborne fraction AF hmaythungsdswnkhxngkarplxyaekseruxnkrack pktiidaek CO2 thiehluxtkkhanginbrryakashlngrayaewlahnung aekhnaedll Canadell 2007 idihkhaniyamkhxng AF raypiwaepnxtraswnkhxng CO2 inbrryakasthiephiminpithikahndtxcanwnpithiplxyxxkmathnghmd aelakhanwnwaechliyidethakb 9 1 PgC y 1 khxngkarplxyodykickrrmkhxngmnusythnghmdtngaet ph s 2543 ph s 2549 sungmi AF ethakb 0 45 sahrb CO2 AF inchwng 50 pithiphanma ph s 2499 ph s 2549 idephiminxtra 0 25 0 21 pi skyphapholkrxn global warming potential hrux GWP khunxyukbthngprasiththiphaphkhxngomelkulinthanakarepnaekseruxnkrackkbewlachwchiwitinbrryakaskhxngmn GWP wdidodykarepriybethiybkb CO2 inkhnadkhxngmwlthiethaknaelwcungpraeminhakhaechphaakhxngewla dngnn thaomelkul khxngaekseruxnkrack mi GWP sunginchwngewlathisn echn 20 pi aetklbmichwngchwchiwitsn yxmhmaykhwamwamnmi GWP makinchwngewla 20 pi aetcaminxyinchwngewla 100 pi aelainthangklbknthaomelkulkhxng CO2thimiewlachwchiwitbrrykasthiyawkwa GWP caephimkhuntamewlathiphanipphlkrathbthiekiywkhxngkarwdkhamlphisinbrryakaschnothropsefiyrMOPITT yxcak Measurements of Pollution in the Troposphere aesdngihehnkharbxnmxnxkisdkhxngolkinpi ph s 2543 kharbxnmxnxkisd miphlinkaraephrngsithangxxmodythaihradbkhwamekhmkhxngmiethnaelasungkhunphankar ekbtkaeksxun inbrryakas echn hydroxyl radical OH kharbxnmxnxkisdekidkhunemuxechuxephlingthimiswnprakxbkhxngkharbxnthukephaimsmburn mncaidrbkaretimxxksiecninbrryakastamkrabwnkarthrrmchatiklayepnkharbxnidxxkisd kharbxnmxnxkisdmiewlachwchiwitinbrryakasephiyngimkieduxn dngnnmncungmikhwamphnaeprechingenuxthimakkwaaeksxayuyunxun aenwonmsakhyinkarmiphlthangxxmxikprakarhnungmacakmiethnsungnxkehnuxipcakphlkrathbdankaraephrngsiodytrngkhxngmnaelw mnyngepntwchwysrangoxosnxikdwy chinedllaelakhna Shindell et al 2005 ihkhxthkethiyngwa karmiswninkarthaihekidkarepliynaeplngphumixakas khxngmiethnxyangnxykmiswnmakepn 2 ethacakthiekhypramanknmadwyphlkrathbdngthiklawniduephimkhxmulsngektkarnsarekhmiinbrryakas Atmospheric Chemistry Observational Databases hnatangbrryakas Atmospheric window lksnakarepliynaeplngphumixakasemuxerw ni Attribution of recent climate change raychuxpraethsthiplxykharbxnidxxkisd Carbon emissions by country List of countries by carbon dioxide emissions Carbon emissions by country okhrngkarepidopngkharbxn Carbon Disclosure Project karekbkkkharbxn Carbon sink karepnklangechingkharbxn Carbon neutral kdhmayxakassaxad Clean Air Act klumphumixakas Climate Group brryakaskhxngolk Earth s atmosphere matrthankarplxyaeks Emission standard Environmental accounting Environmental agreements European Climate Change Programme Global warming Greenhouse effect Greenhouse gas emissions from transportation Greenhouse gas emissions in the USA Global Atmosphere Watch Hydrogen Economy List of countries by greenhouse gas emissions per capital Massachusetts v Environmental Protection Agency North American Carbon Program Norwegian Polar Institute Ocean acidification Radiative forcing Regional Greenhouse Gas Initiative United Nations Intergovernmental Panel on Climate Change Western Regional Climate Action Initiative World energy resources and consumption Zero carbon economy sankngannoybayaelaaephnthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm krathrwngwithyasastr aekseruxnkrackkhuxxair 2007 03 02 thi ewyaebkaemchchinxangxing PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2018 11 17 subkhnemux 14 December 2008 Karl TR Trenberth KE 2003 Modern global climate change Science 302 5651 1719 23 Bibcode 2003Sci 302 1719K doi 10 1126 science 1090228 PMID 14657489 Le Treut H Somerville R Cubasch U Ding Y Mauritzen C Mokssit A Peterson T and Prather M 2007 PDF Cambridge University Press khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2018 11 26 subkhnemux 14 December 2008 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk Nasascience nasa gov khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 01 17 subkhnemux 2010 10 16 Kiehl J T Kevin E Trenberth February 1997 PDF Bulletin of the American Meteorological Society 78 2 197 208 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2006 03 30 subkhnemux 2006 05 01 Water vapour feedback or forcing RealClimate 6 April 2005 subkhnemux 2006 05 01 Image Phanerozoic Carbon Dioxide png Berner RA 1994 GEOCARB II a revised model of atmospheric CO2 over Phanerozoic time American Journal of Science 294 56 91 DL Royer RA Berner and DJ Beerling 2001 Phanerozoic atmospheric CO2 change evaluating geochemical and paleobiological approaches Earth Science Reviews 54 349 392 Berner RA Kothavala Z 2001 GEOCARB III a revised model of atmospheric CO2 over Phanerozoic time American Journal of Science 301 182 204 Beerling DJ and Berner RA 2005 Feedbacks and the co evolution of plants and atmospheric CO2 Proceedings of the National Academy of Science 102 1302 1305 PF Hoffmann AJ Kaufman GP Halverson DP Schrag 1998 A neoproterozoic snowball earth Science 281 1342 1346 1 TM Gerlach 1991 Present day CO2 emissions from volcanoes Transactions of the American Geophysical Union 72 249 255 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 06 14 subkhnemux 2006 05 01 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 09 15 subkhnemux 2008 04 17 http www ipcc ch pdf assessment report ar4 wg1 ar4 wg1 chapter7 pdf 2011 03 15 thi ewyaebkaemchchin Climate Change 2007 The Physical Science Basis Chapter 7 Couplings Between Changes in the Climate System and Biogeochemistry http www ipcc ch pdf assessment report ar4 wg1 ar4 wg1 chapter7 pdf 2011 03 15 thi ewyaebkaemchchin IPCC Fourth Assessment Report Working Group I Report The Physical Science Basis Section 7 3 3 1 5 p 527 H Steinfeld P Gerber T Wassenaar V Castel M Rosales C de Haan 2006 Livestock s long shadow Environmental issues and options FAO Livestock Environment and Development LEAD Initiative 2 2008 06 25 thi ewyaebkaemchchin Raupach M R et al 2007 Global and regional drivers of accelerating CO2 emissions 104 24 10288 10293 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 06 01 subkhnemux 2008 04 17 Lerner amp K Lee Lerner Brenda Wilmoth 2006 Environmental issues essential primary sources Thomson Gale subkhnemux 2006 09 11 realclimate org Held Isaac M Soden Brian J 2006 Robust Responses of the Hydrological Cycle to Global Warming PDF 19 21 5686 5699 doi 10 1175 JCLI3990 subkhnemux 2007 07 11 Friederike Wagner Bent Aaby and Henk Visscher 2002 Rapid atmospheric CO2 changes associated with the 8 200 years B P cooling event PNAS 99 19 12011 12014 doi 10 1073 pnas 182420699 Andreas Indermuhle Bernhard Stauffer Thomas F Stocker 1999 Early Holocene Atmospheric CO2 Concentrations Science 286 5446 1815 doi 10 1126 science 286 5446 1815a a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Early Holocene Atmospheric CO2 Concentrations Science subkhnemux May 26 2005 H J Smith M Wahlen and D Mastroianni 1997 The CO2 concentration of air trapped in GISP2 ice from the Last Glacial Maximum Holocene transition Geophysical Research Letters 24 1 1 4 3 PDF 96 8 PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2007 07 12 subkhnemux 2008 04 17 Planet Ark Greenhouse Gases at New Peak in Sign of Asia Growth http ucsdnews ucsd edu newsrel international 03 08ChinasCarbonDioxideEmissions asp UC Analysis Shows Alarming Increase in Expected Growth of China s Carbon Dioxide Emissions accessed 2008 03 11 Emissions inventory from the EPA cited in Science News vol 171 p 318 2007 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 07 01 subkhnemux 2007 06 21 Solomon Susan Qin Dahe Manning Martin Marquis Melinda Averyt Kristen Tignor Melinda M B Miller Jr Henry LeRoy Chen Zhenlin b k 2007 IPCC 2007 Climate Change 2007 The Physical Science Basis Contribution of Working Group I to the Fourth Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change Cambridge United Kingdom and New York NY USA ISBN 978 0521 88009 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2007 05 01 subkhnemux 2007 07 24 Archer David 2005 Fate of fossil fuel CO2 in geologic time PDF 110 C9 C09S05 1 C09S05 6 doi 10 1029 2004JC002625 subkhnemux 2007 07 27 Caldeira Ken Wickett Michael E 2005 PDF 110 C9 C09S04 1 C09S04 12 doi 10 1029 2004JC002671 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2007 08 10 subkhnemux 2007 07 27 Canadell J G Le Quere C Raupach M R Field C B Buitenhuis E T Ciais P Conway T J Gillett N P Houghton R A Marland G 2007 Contributions to accelerating atmospheric CO2 growth from economic activity carbon intensity and efficiency of natural sinks Proc Natl Acad Sci USA 104 47 18866 70 Bibcode 2007PNAS 10418866C doi 10 1073 pnas 0702737104 PMC 2141868 PMID 17962418 Impact of Emissions Chemistry and Climate on Atmospheric Carbon Monoxide 100 year Predictions from a Global Chemistry Climate Model PDF 115 Shindell Drew T Faluvegi Greg Bell Nadine Schmidt Gavin A An emissions based view of climate forcing by methane and tropospheric ozone Geophysical Research Letters Vol 32 No 4 4 2005 09 11 thi ewyaebkaemchchin khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2005 09 11 subkhnemux 2008 04 17 aehlngkhxmulxunwikisxrs mingantnchbbekiywkb California AB 1493 aekseruxnkrack thiewbist Curlie Greenhouse gas reduction technologies for coal fired power generation 2007 09 26 thi ewyaebkaemchchin The NOAA Annual Greenhouse Gas Index AGGI Greenhouse Gases Sources Levels Study results University of Michigan eia gov findings Kenya legislation aims to cut industrial gas emissions March 2008 7 sunyprasankarcdkarkarepliynaeplngsphaphphumixakas sankngannoybayaelaaephnthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm 2007 05 27 thi ewyaebkaemchchinkarplxykharbxnidxxkisd International Energy Annual Reserves International Energy Annual 2003 Carbon Dioxide Emissions International Energy Annual 2003 Notes and Sources for Table H 1co2 Metric tons of carbon dioxide can be converted to metric tons of carbon equivalent by multiplying by 12 44 DOE EIA Alternatives to Traditional Transportation Fuels 1994 Volume 2 Greenhouse Gas Emissions includes Greenhouse Gas Spectral Overlaps and Their Significance NOAA Paleoclimatology Program Vostok Ice Core NOAA CMDL CCGG Interactive Atmospheric Data Visualization NOAA CO2 data Carbon Dioxide Information Analysis Centre FAQ 2008 02 10 thi ewyaebkaemchchin Includes links to Carbon Dioxide statistics Little Green Data Book 2007 World Bank Lists C02 statistics by country including per capita and by country income class Flight Carbon Emission Calculator 2009 12 30 thi ewyaebkaemchchinkarplxymiethn BBC News Thawing Siberian bogs are releasing more methane METHANE EATING BUG HOLDS PROMISE FOR CUTTING GREENHOUSE GAS 2010 06 04 thi ewyaebkaemchchin Media Release GNS Science New Zealandnoybayaelakarsnbsnun sunyprasankarcdkarkarepliynaeplngsphaphphumixakas snph krathrwngwithyasastr 2007 05 03 thi ewyaebkaemchchin Australian Greenhouse Gas Initiative Global Green Plan 2015 11 23 thi ewyaebkaemchchin xngkhkarimaeswngkairinemlebirn xxsetreliy phuphthnahlksutrorngeriynephuxsxneyawchnihruckkarldkarplxyaeks Carbon Dioxide is Good for the Environment 2010 06 12 thi ewyaebkaemchchin raynganwicypi ph s 2544 National Center for Public Policy Research Environmental Effects of Increased Atmospheric Carbon Dioxide raynganwicyody Oregon Institute of Science and Medicine EU page about reducing CO2 emissions from light duty vehicles the EU s aim is to reach by 2010 at the latest an average CO2 emission figure of 120 g km for all new passenger cars marketed in the Union