บทความนี้ไม่มีจาก |
การเติมออกซิเจน (อังกฤษ: oxygenation) หรือการเติมอากาศ (Aeration) เป็นหัวใจของการทำงานของแบบใช้ออกซิเจนจากอากาศ เพราะหากระบบบำบัดน้ำเสียขาดออกซิเจน จุลินทรีย์ทั้งหลายก็ไม่สามารถทำงานได้ ถ้ามีปริมาณออกซิเจนละลายน้ำอยู่สูง ระบบก็สามารถบำบัดน้ำได้ดีหรือสามารถรับน้ำเสียได้มากขึ้น แต่เนื่องจากค่าการละลายน้ำของออกซิเจนที่ความดันบรรยากาศมีค่าต่ำย่อมจะทำให้มีแรงขับ (Driving Force) ต่ำตามไปด้วย
ดังนั้น การเพิ่มอัตราการละลายน้ำของออกซิเจนที่ความดันบรรยากาศ จึงได้แก่การเพิ่มผิวสัมผัส (Interfacia Area) ระหว่างอากาศกับน้ำให้มีค่ามากที่สุด
สภาพการทำงานโดยทั่วไปของระบบบำบัดน้ำเสีย จะมีค่าความต้องการออกซิเจนเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาตามปริมาณความต้องการออกซิเจนของจุลินทรีย์ ซึ่งขึ้นอยู่กับอัตราการไหลของน้ำเสียและความเข้มข้นของมวลสารอินทรีย์ ซึ่งในการออกแบบจะต้องเติมออกซิเจนให้แก่ระบบที่ความต้องการสูงสุดได้อย่างเพียงพอ การเติมอากาศให้กับระบบำบัดน้ำเสียสามารถเติมได้โดย
1) เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้การเติมอากาศแบบนี้ เช่น ระบบบ่อผึ่ง (Oxidation Ponds)ออกซิเจนจากอากาศจึงแพร่ลงบนเฉพาะที่ผิวหน้าของบ่อผึ่งเท่านั้น ถ้าหากอัตราการใช้ออกซิเจนในระบบ มีมากกว่าอัตราการแพร่ของออกซิเจนก็จะทำให้เกิดสภาวะที่เรียกว่าไร้อากาศ (Anaerobic)หรือค่าออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำมีค่าเท่ากับ 0 ในสภาวะเช่นนี้ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นจากก๊าซไข่เน่าในระบบบำบัดน้ำเสียได้ และน้ำจะมีสีดำ การเติมอากาศวิธีนี้จึงไม่ต้องการพลังงานในการเติมอากาศ
2) โดยใช้เครื่องกลเติมอากาศ เช่น กังหันชัยพัฒนา เครื่องกลในระบบบำบัดแบบสระเติมอากาศ (Aerated Lagoon)เครื่องกลในระบบตะกอนเร่ง (Activated Sludge)เป็นต้น ซึ่งการเติมอากาศวิธีนี้จำเป็นต้องมีพลังงานมาเกี่ยวข้อง แต่ถ้าไม่มีการควบคุมที่ดี ก็จะเกิดการสูญเสียพลังงานไปโดยเปล่าประโยชน์ เครื่องกลเติมอากาศมีหน้าที่อยู่ 2 ประการ คือ หน้าที่ในการให้ออกซิเจนแก่น้ำในระบบบำบัดน้ำเสียได้อย่างพอเพียง และหน้าที่ในการกวนน้ำเพื่อให้ออกซิเจนที่ละลายน้ำอยู่กระจายออกเสมอทั่วทั้งบริเวณที่ต้องการ พลังงานที่ใช้ในการกวนนี้จะต้องมีค่าพอเหมาะสำหรับการกระจายออกซิเจนในน้ำต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ เพราะถ้ากวนน้อยเกินไปจุลินทรีย์จะไม่ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ เป็นผลให้ระบบไม่สามารถทำงานได้ดีเท่าที่ควร แต่ถ้ากวนแรงเกินไปก็จะสิ้นเปลืองพลังงานโดยไม่เกิดประโยชน์ เครื่องกลเติมอากาศแต่ละชนิดมีทั้งข้อดีและข้อเสียในด้านต่างๆ ดังนั้นการออกแบบและประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศ จะต้องเข้าใจหลักการทำงาน วิธีคำนวณ ตลอดจนเข้าใจถึงวิธีการทดสอบสมรรถนะในการถ่ายเทออกซิเจนลงไปในน้ำต่อพลังงาน (Performance of Oxygen Transfer in Water) หน่วยเป็นกิโลกรัมของออกซิเจน/แรงม้า-ชั่วโมง ปัจจุบันมีการใช้หัวกระจายอากาศ ช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพในระบบบำบัดน้ำเสียแบบต่างๆ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karetimxxksiecn xngkvs oxygenation hruxkaretimxakas Aeration epnhwickhxngkarthangankhxngaebbichxxksiecncakxakas ephraahakrabbbabdnaesiykhadxxksiecn culinthriythnghlaykimsamarththanganid thamiprimanxxksiecnlalaynaxyusung rabbksamarthbabdnaiddihruxsamarthrbnaesiyidmakkhun aetenuxngcakkhakarlalaynakhxngxxksiecnthikhwamdnbrryakasmikhatayxmcathaihmiaerngkhb Driving Force tatamipdwy dngnn karephimxtrakarlalaynakhxngxxksiecnthikhwamdnbrryakas cungidaekkarephimphiwsmphs Interfacia Area rahwangxakaskbnaihmikhamakthisud sphaphkarthanganodythwipkhxngrabbbabdnaesiy camikhakhwamtxngkarxxksiecnepliynaeplngxyutlxdewlatamprimankhwamtxngkarxxksiecnkhxngculinthriy sungkhunxyukbxtrakarihlkhxngnaesiyaelakhwamekhmkhnkhxngmwlsarxinthriy sunginkarxxkaebbcatxngetimxxksiecnihaekrabbthikhwamtxngkarsungsudidxyangephiyngphx karetimxakasihkbrabbabdnaesiysamarthetimidody 1 ekidkhunexngtamthrrmchati rabbbabdnaesiythiichkaretimxakasaebbni echn rabbbxphung Oxidation Ponds xxksiecncakxakascungaephrlngbnechphaathiphiwhnakhxngbxphungethann thahakxtrakarichxxksiecninrabb mimakkwaxtrakaraephrkhxngxxksiecnkcathaihekidsphawathieriykwairxakas Anaerobic hruxkhaxxksiecnthilalayxyuinnamikhaethakb 0 insphawaechnnithaihekidklinehmncakkasikhenainrabbbabdnaesiyid aelanacamisida karetimxakaswithinicungimtxngkarphlngnganinkaretimxakas 2 odyichekhruxngkletimxakas echn knghnchyphthna ekhruxngklinrabbbabdaebbsraetimxakas Aerated Lagoon ekhruxngklinrabbtakxnerng Activated Sludge epntn sungkaretimxakaswithinicaepntxngmiphlngnganmaekiywkhxng aetthaimmikarkhwbkhumthidi kcaekidkarsuyesiyphlngnganipodyeplapraoychn ekhruxngkletimxakasmihnathixyu 2 prakar khux hnathiinkarihxxksiecnaeknainrabbbabdnaesiyidxyangphxephiyng aelahnathiinkarkwnnaephuxihxxksiecnthilalaynaxyukracayxxkesmxthwthngbriewnthitxngkar phlngnganthiichinkarkwnnicatxngmikhaphxehmaasahrbkarkracayxxksiecninnatxkarecriyetibotkhxngculinthriy ephraathakwnnxyekinipculinthriycaimidrbxxksiecnxyangephiyngphx epnphlihrabbimsamarththanganiddiethathikhwr aetthakwnaerngekinipkcasinepluxngphlngnganodyimekidpraoychn ekhruxngkletimxakasaetlachnidmithngkhxdiaelakhxesiyindantang dngnnkarxxkaebbaelapradisthekhruxngkletimxakas catxngekhaichlkkarthangan withikhanwn tlxdcnekhaicthungwithikarthdsxbsmrrthnainkarthayethxxksiecnlngipinnatxphlngngan Performance of Oxygen Transfer in Water hnwyepnkiolkrmkhxngxxksiecn aerngma chwomng pccubnmikarichhwkracayxakas chwyinkarephimprasiththiphaphinrabbbabdnaesiyaebbtang bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk