ในบริบททางการแพทย์ สุขภาพ และความฟิตของร่างกาย การลดน้ำหนัก หรือ น้ำหนักลด (อังกฤษ: weight loss) หมายถึงการลดน้ำหนัก/มวลกายทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นเพราะเสียน้ำ ลดไขมัน หรือมวลกายอื่น ๆ เช่น แร่ธาตุในกระดูก กล้ามเนื้อ เอ็น และเนื้อเยื่ออื่น ๆ อาจเกิดโดยไม่ได้ตั้งใจเพราะทุพโภชนาการ เพราะโรค เพราะพยายามแก้ภาวะน้ำหนักเกินหรือโรคอ้วนไม่ว่าจะเป็นจริงหรือแค่คิดเอาเอง น้ำหนักที่ลดอย่าง "อธิบายไม่ได้" และไม่ได้เกิดจากการลดอาหารหรือเพิ่มออกกำลังกาย อาจเป็นอาการโรคที่ต้องตรวจดู
น้ำหนักลด | |
---|---|
ภาพแสดงการลดน้ำหนัก |
ตั้งใจลด
การตั้งใจลดน้ำหนักอาจเพื่อปรับปรุงความฟิตร่างกายหรือสุขภาพ หรือเพื่อเปลี่ยนรูปร่าง สำหรับผู้ที่น้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน การลดน้ำหนักอาจลดความเสี่ยงทางสุขภาพ เพิ่มความฟิตร่างกาย และชะลอการเกิดโรคเบาหวาน สำหรับผู้มีข้อเข่าเสื่อม อาจลดความเจ็บปวดและทำให้คล่องแคล่วขึ้น การลดน้ำหนักอาจลดความดันโลหิตสูง แต่ก็ไม่ชัดเจนว่าลดอันตรายเหตุความดันสูงหรือไม่[]
Weight loss is achieved by adopting a lifestyle in which fewer calories are consumed than are expended. น้ำหนักสามารถลดเมื่อมีพฤติกรรม/วิถีชีวิตที่บริโภคพลังงานน้อยกว่าที่ใช้แต่ละน คือ น้ำหนักจะลดก็ต่อเมื่อใช้พลังงานเพื่อทำงานหรือเพื่อเมแทบอลิซึมยิ่งกว่าที่ได้จากอาหารและสารอาหารอื่น ๆ ซึ่งทำให้เผาพลังงานที่เก็บสำรองไว้ไม่ว่าจะจากไขมันหรือกล้ามเนื้อ แล้วทำให้น้ำหนักค่อย ๆ ลด
สำหรับนักกีฬาที่ต้องการเล่นกีฬาให้ดีขึ้น หรือต้องผ่านพิกัดน้ำหนักในกีฬา การลดน้ำหนักอีกไม่แปลกแม้จะหนักในระดับดีสุดแล้ว ส่วนบุคคลอื่น ๆ อาจมีแรงจูงใจเพื่อลดน้ำหนักให้ได้รูปร่างที่ตนคิดว่าดูดีกว่า อย่างไรก็ดี การมีน้ำหนักน้อยเกินสัมพันธ์กับความเสี่ยงทางสุขภาพ เช่น อ่อนแอต่อการติดเชื้อ ภาวะกระดูกพรุน กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ร่างกายมีปัญหาควบคุมอุณหภูมิ และแม้แต่เสี่ยงตายสูงขึ้น
อาหารมีแคลอรีต่ำ (low-calorie diet) เป็นรูปแบบอาหารที่มีสารอาหารจำเป็นอย่างสมดุล เพราะมีผลเสียน้อยมาก นักโภชนาการจึงมักแนะนำอาหารพวกนี้ นอกจากจะจำกัดแคลอรีที่บริโภค ก็ยังควบคุมการบริโภคสารอาหารหลัก ๆ (macronutrient) อีกด้วย ในบรรดาแคลอรีที่ควรบริโภคต่อวัน 55% ควรมาจากคาร์โบไฮเดรต, 15% จากโปรตีน และ 30% จากไขมันโดยไม่ควรมีไขมันอิ่มตัวเกิน 10% ของไขมันทั้งหมด[] ยกตัวอย่างเช่น เมื่อบริโภคอาหารมีพลังงาน 1,200 แคลอรีต่อวัน ควรจะได้ 660 แคลอรีจากคาร์โบไฮเดรต 180 แคลอรีจากโปรตีน และ 360 แคลอรีจากไขมัน แต่ก็มีงานศึกษาบางงานที่แสดงว่า การเพิ่มบริโภคโปรตีนสามารถช่วยระงับความหิวที่มักเกิดเพราะลดแคลอรีในอาหารเพราะเพิ่มความรู้สึกอิ่ม
การจำกัดแคลอรีเช่นนี้มีประโยชน์ระยะยาวหลายอย่าง เมื่อทำพร้อมกับออกกำลังกายเพิ่มขึ้น อาหารมีแคลอรีต่ำเชื่อว่ามีประสิทธิภาพที่สุดในระยะยาว ไม่เหมือนกับไดเอ็ตทำ ๆ หยุด ๆ ซึ่งอย่างดีก็ได้ผลระยะสั้น ๆ เท่านั้น การออกกำลังกายสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของรูปแบบการทานอาหาร ดังนั้น วิธีการลดน้ำหนักซึ่งถูกสุขภาพที่สุดก็คือ การทานอาหารอย่างสมดุลประกอบกับการออกกำลังกายปานกลาง[] การเพิ่มน้ำหนักสัมพันธ์กับการทานไขมันมากเกิน เพิ่มทานน้ำตาล ทานคาร์โบไฮเดรตขัดสี/แปรรูปโดยทั่วไป และการดื่มแอลกอฮอล์[]
ความซึมเศร้า ความเครียด และความเบื่ออาจมีส่วนทำให้น้ำหนักเพิ่ม ในกรณีเหล่านี้ บุคคลอาจควรปรึกษาแพทย์ งานศึกษาปี 2010 พบว่า ผู้ไดเอ็ตที่หลับเต็มอิ่มช่วงกลางคืน ลดน้ำหนักได้เป็นสองเท่าของผู้ไดเอ็ตที่นอนไม่พอ
แม้จะมีสมมติฐานว่า อาหารเสริมเป็นวิตามินดีอาจช่วยลดน้ำหนัก แต่ผลงานศึกษาก็ไม่สนับสนุนสมมติฐานนี้ คนไดเอ็ตโดยมากจะได้น้ำหนักคืนในระยะยาว
ตามแนวทางแนะนำอาหารของคนอเมริกัน (Dietary Guidelines for Americans) คนที่ได้น้ำหนักถูกสุขภาพและรักษาไว้ได้ จะต้องระมัดระวังบริโภคแคลอรีตามที่ร่างกายจำเป็นเท่านั้น และเป็นคนไม่อยู่นิ่ง ๆ (physically active) ตามองค์การบริการสุขภาพแห่งชาติแห่งสหราชอาณาจักร (NHS) บุคคลสามารถลดน้ำหนักได้ดีที่สุดโดยตรวจตราแคลอรีที่บริโภคแต่ละวันประกอบกับการออกกำลังกาย
เทคนิค
วิธีการลดน้ำหนักที่ก้าวก่ายน้อยที่สุด และจึงแนะนำบ่อยที่สุด ก็คือการเปลี่ยนพฤติกรรมการทานอาหารและเพิ่มออกกำลัง ปกติโดยการออกกำลังกาย องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ลดทานอาหารแปรรูปที่มีไขมันอิ่มตัว น้ำตาล และเกลือสูง ลดแคลอรีที่ได้จากอาหาร และเพิ่มออกกำลัง
ยังแนะนำให้ทานใยอาหารเพิ่มขึ้นด้วยเพื่อให้ถ่ายได้ดี วิธีลดน้ำหนักอื่น ๆ รวมทั้งการใช้ยาหรืออาหารเสริมที่ลดความอยากอาหาร ระงับการดูดซึมอาหาร หรือลดปริมาตรกระเพาะอาหาร การผ่าตัดลดความอ้วน (Bariatric surgery) อาจเป็นทางเลือกสำหรับโรคอ้วนรุนแรง การผ่าตัดที่สามัญก็คือ gastric bypass (การผ่าเลี่ยงกระเพาะอาหารเป็นบางส่วน) และ gastric banding (การผูกกระเพาะอาหาร) ทั้งสองอาจมีประสิทธิผลลดการนำพลังงานเข้าร่างกายเพราะลดขนาดกระเพาะ แต่ก็มีความเสี่ยงอย่างจำเพาะ ๆ เหมือนกับกาผ่าตัดอื่น ๆ ดังนั้น จึงควรปรึกษาแพทย์ก่อน
อาหารเสริมถึงแม้จะใช้อย่างกว้างขวาง แต่ก็พิจารณาว่าไม่ถูกสุขภาพเมื่อลดน้ำหนัก มีวางตลาดหลายอย่าง แต่น้อยอย่างมากมีประสิทธิผลระยะยาว
มีวิธีการสะกดจิต (virtual gastric band) ที่ทำให้รู้สึกเหมือนว่า กระเพาะอาหารเล็กกว่าเป็นจริงและดังนั้น จึงช่วยลดปริมาณการทานอาหารแล้วให้ลดน้ำหนักได้ วิธีนี้อาจเสริมด้วยการรักษาความวิตกกังวลทางจิตวิทยาและด้วยการให้ฟังบันทึกเสียงเมื่อนอนหลับ (hypnopedia) มีงานวิจัยที่ตรวจสอบการสะกดจิตเพื่อแก้ปัญหาน้ำหนักเกินเป็นการรักษาทางเลือก งานศึกษาปี 1996 พบว่า การลดน้ำหนักด้วยการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (CBT) จะมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นถ้าเสริมด้วยการสะกดจิตการรักษาด้วยการยอมรับและการให้สัญญา (ACT) ซึ่งใช้สติเพื่อลดน้ำหนักก็พบในปี 2010 ว่ามีประโยชน์ด้วย
การลดน้ำหนักอย่างถาวร
เพื่อให้น้ำหนักลดอย่างถาวร การเปลี่ยนอาหารและพฤติกรรมก็ต้องถาวรด้วย การไดเอ็ตในระยะสั้น ๆ ไม่ปรากฏว่า ลดน้ำหนักได้หรือทำให้สุขภาพดีขึ้นในระยะยาว และอาจมีโทษด้วย
อุตสาหกรรมการลดน้ำหนักในประเทศตะวันตก
ในสหรัฐ มีผลิตภัณฑ์ที่วางตลาดเป็นจำนวนมากซึ่งอ้างว่าช่วยให้ลดน้ำหนักได้ง่ายขึ้น เร็วขึ้น มีค่าใช้จ่ายน้อย ไว้วางใจได้ และเป็นทุกข์น้อยกว่า รวมทั้งหนังสือ ดีวีดี ซีดี ครีม น้ำมัน ยา แหวน ตุ้มหู เครื่องพันกาย เข็มขัด วัสดุอื่น ๆ ศูนย์ฟิตเหนส คลินิก โค้ชส่วนตัว กลุ่มสนับสนุนลดน้ำหนัก ผลิตภัณฑ์อาหารและอาหารเสริม ในปี 2008 มีการใช้จ่าย 33,000-55,000 ล้านเหรียญสหรัฐต่อปี (ประมาณ 1.1-1.8 ล้านล้านบาท) สำหรับผลิตภัณฑ์และบริการลดน้ำหนักโดยรวมวิธีการทางแพทย์และยาด้วย ศูนย์ลดน้ำหนักได้ส่วนแบ่งระหว่าง 6-12% ผู้บริโภคซื้ออาหารเสริมเพื่อช่วยลดน้ำหนักเกินกว่า 1,600 ล้านเหรียญต่อปี (ประมาณ 52,789 ล้านบาท) ความพยายามเพื่อไดเอ็ตของคนอเมริกัน 70% จะทำเอง
ในยุโรปตะวันตก การขายผลิตภัณฑ์ลดน้ำหนักโดยไม่รวมยาที่แพทย์ต้องออกใบสั่ง เกินกว่า 1,250 ล้านยูโรต่อปี (ประมาณ 59,767 ล้านบาท) ในปี 2009
ไม่ได้ตั้งใจ
ลักษณะ
การลดน้ำหนักอย่างไม่ได้ตั้งใจอาจเกิดจากการเสียไขมัน เสียน้ำ เสียกล้ามเนื้อในร่างกาย หรือเสียสิ่งเหล่านี้รวม ๆ กัน ปกติจะพิจารณาว่าเป็นปัญหาทางการแพทย์ต่อเมื่อบุคคลเสียน้ำหนักอย่างน้อย 10% ภายใน 6 เดือน หรือ 5% ภายในเดือนที่ผ่านมา เกณฑ์วิธีอีกอย่างที่ใช้ประเมินน้ำหนักน้อยเกินก็คือ ดัชนีมวลกาย (BMI) อย่างไรก็ดี แม้น้ำหนักลดที่น้อยกว่านี้ก็อาจเป็นเรื่องน่าเป็นห่วงสำหรับคนชราที่อ่อนแอ
น้ำหนักลดแบบไม่ได้ตั้งใจอาจเกิดเพราะได้พลังงานจากอาหารไม่พอเทียบกับความต้องการของร่างกาย (ปกติเรียกว่า ทุพโภชนาการ) แต่วิถีดำเนินของโรค การเปลี่ยนแปลงทางเมแทบอลิซึม ทางฮอร์โมน การใช้ยา การรักษาโรคอื่น ๆ การเปลี่ยนแปลงอาหารเนื่องจากโรคหรือการรักษา หรือความอยากอาหารน้อยดังที่สัมพันธ์กับโรคหรือการรักษาก็อาจทำให้น้ำหนักลดอย่างไม่ได้ตั้งใจได้เช่นกัน ปัญหาทางฮอร์โมนเช่น ไทรอยด์ถูกกระตุ้นมากเกินไป (hyperthyroidism) อาจทำให้น้ำหนักลดเช่นกัน การนำสารอาหารไปใช้ไม่ได้ดีอาจทำให้น้ำหนักลด ซึ่งอาจมีเหตุจากทางเดินอาหารทะลุ (fistulae) ท้องร่วง ปฏิกิริยาระหว่างยากับอาหาร การหมดเอนไซม์ และกล้ามเนื้อลีบ
น้ำหนักที่ลดลงเรื่อย ๆ อาจแย่ลงจนกลายเป็นภาวะผอมหนังหุ้มกระดูก (cachexia) ซึ่งต่างกับความอดอยากโดยส่วนหนึ่งก็คือเพราะมีปฏิกิริยาเป็นการอักเสบทั้งร่างกาย (systemic inflammatory response) และมีผลที่แย่กว่า
ในโรคที่ลุกลามระยะหลัง ๆ เมแทบอลิซึมของคนไข้อาจเปลี่ยนไป จึงทำให้น้ำหนักลดได้แม้จะได้อาหารพอโดยที่ร่างกายไม่สามารถปรับตัวได้ ซึ่งอาจก่อภาวะ anorexia cachexia syndrome (ACS) ที่การได้อาหารหรืออาหารเสริมไม่น่าจะช่วย อาการเนื่องกับ ACS รวมทั้งการเสียน้ำหนักอย่างรุนแรงจากกล้ามเนื้อ ไม่ใช่จากไขมันร่างกาย ไม่อยากอาหาร อิ่มแม้หลังจากทานอาหารเพียงเล็กน้อย คลื่นไส้ กะปลกกะเปลี้ย ล้า การลดน้ำหนักมากอาจทำให้คุณภาพชีวิตแย่ลง ขัดขวางการรักษาหรือการหายจากโรค ทำให้โรคแย่ลง และเป็นปัจจัยเสี่ยงให้มีอัตราการตายสูง
ทุพโภชนาการอาจมีผลต่อการทำงานของร่างกายทุก ๆ ส่วน เริ่มตั้งแต่ระดับเซลล์จนถึงกระบวนการทำงานที่ซับซ้อนที่สุดรวมทั้ง
- การตอบสนองของภูมิคุ้มกัน
- การหายจากแผล
- กำลังกล้ามเนื้อ (รวมทั้งที่ใช้หายใจ)
- การทำงานของไต ซึ่งอาจก่อปัญหาเกี่ยวกับน้ำและอิเล็กโทรไลต์
- การปรับอุณหภูมิกาย
- การมีประจำเดือน
อนึ่ง ทุพโภชนาการอาจทำให้ขาดวิตามินหรือสารอาหารอื่น ๆ แล้วทำให้ไม่ค่อยขยับตัว ซึ่งก็อาจก่อปัญหาอื่น ๆ เช่น แผลกดทับ (pressure sore) น้ำหนักลดอย่างไม่ได้ตั้งใจอาจเป็นอาการที่นำไปสู่การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง และโรคเบาหวานประเภทที่หนึ่ง
ในสหราชอาณาจักร ประชากรทั่วไป 5% จะมีน้ำหนักน้อยเกิน แต่ผู้ที่มีโรคปอด โรคทางเดินอาหาร หรือเพิ่งรับการผ่าตัดจะเป็นถึง 10% ตามข้อมูลจาก Malnutrition Universal Screening Tool ('MUST') ของสหราชอาณาจักร ซึ่งรวมเรื่องการเสียน้ำหนักโดยไม่ได้ตั้งใจ 10% ของประชากรอายุมากกว่า 65 ปีเสี่ยงต่อทุพโภชนาการ คนไข้ในโรงพยาบาลถึง 10-60% ก็เสี่ยงด้วย คนไข้ในสถาบันดูแลผู้ป่วยระยะยาวก็เช่นกัน
เหตุ
เนื่องกับโรค
ทุพโภชนาการเนื่องกับโรคอาจจัดรวมในหมวด 4 หมวด
ปัญหา | เหตุ |
---|---|
ทานอาหารได้ไม่เต็มที่ | ความไม่อยากอาหารอาจเป็นอาการโดยตรงของโรค หรือโรคอาจทำให้รู้สึกเจ็บเมื่อรับประทานอาหารหรือทำให้คลื่นไส้ อาจทำให้รู้สึกกลัวการกิน อาจเกิดจากความรู้สึกตัวที่แย่ลงหรือสับสน ปัญหาที่มือและแขน ปัญหาการกลืนและการเคี้ยว แพทย์อาจจำกัดอาหารเพื่อรักษาหรือเพื่อตรวจสอบโรค การขาดอาหารอาจเกิดจากความยากจน ปัญหาการไปซื้อของหรือทำอาหาร และอาหารคุณภาพไม่ดี |
การย่อยหรือการดูดซึมอาหารที่ไม่ดี | อาจเกิดจากปัญหาของระบบย่อยอาหาร |
ร่างกายมีความต้องการเปลี่ยนไป | การเปลี่ยนแปลงทางเมแทบอลิซึมอาจเกิดจากโรค การผ่าตัด หรือปัญหาที่อวัยวะต่าง ๆ |
การเสียสารอาหารเกิน | การเสียสารอาหารจากทางเดินอาหารอาจเกิดจากอาการต่าง ๆ เช่นอาเจียน ท้องร่วง ทางเดินอาหารทะลุ (fistulae) และ stoma อาจเสียสารอาหารเพราะวิธีการระบายต่าง ๆ รวมทั้งสายระบายที่แพทย์สอดจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร (nasogastric tube) หรือเพราะกระบวนการอื่น ๆ เช่น ผิวหนังไหม้ที่มีน้ำเยิ้มออกจากผิว (skin exudate) |
ปัญหาการเสียน้ำหนักเพราะโรคโดยเฉพาะ ๆ รวมทั้ง
- เมื่อโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) แย่ลง คนไข้ประมาณ 35% จะน้ำหนักลดอย่างรุนแรงโดยเรียกว่า pulmonary cachexia (ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูกเหตุปอด) รวมทั้งการเสียกล้ามเนื้อ คนไข้ 25% จะน้ำหนักลดในระดับปานกลางจนถึงรุนแรง และที่เหลือโดยมากจะน้ำหนักลดบ้าง การเสียน้ำหนักมากกว่าจะทำให้พยากรณ์โรคแย่กว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทางทฤษฎีรวมทั้งการลดความอยากอาหารเพราะขยับตัวน้อยลง การใช้พลังงานเพิ่มขึ้นเพื่อหายใจ และปัญหาการรับประทานเพราะหายใจลำบาก (dyspnea, labored breathing)
- สำหรับน้ำหนักลดที่อธิบายไม่ได้ มะเร็งเป็นเหตุที่สามัญและบ่อยครั้งทำให้เสียชีวิต คนไข้ที่น้ำหนักลดโดยไม่ได้ตั้งใจประมาณ 1/3 มีเหตุจากเนื้อร้าย รวมทั้งมะเร็งทางเดินอาหาร มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งเซลล์ตับ มะเร็งตับอ่อน มะเร็งรังไข่ มะเร็งเลือด และมะเร็งปอด
- คนไข้เอชไอวีบ่อยครั้งน้ำหนักจะลด และสัมพันธ์กับผลลัพธ์ที่แย่กว่า อาการผอมแห้งเป็นลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของโรคเอดส์
- โรคทางเดินอาหาร (gastrointestinal disease) เป็นเหตุสามัญอีกอย่างหนึ่งเมื่อน้ำหนักลดอย่างไม่ทราบสาเหตุ และจริง ๆ ก็เป็นเหตุสามัญที่สุดนอกเหนือจากมะเร็ง[] โรคที่อาจเป็นเหตุรวมทั้ง coeliac disease, แผลเปื่อยเพปติก (peptic ulcer disease), inflammatory bowel disease (รวมทั้ง crohn's disease และ ulcerative colitis), ตับอ่อนอักเสบ (pancreatitis), กระเพาะอักเสบ (gastritis), ท้องร่วง และโรคทางเดินอาหารอื่น ๆ อีกหลายอย่าง
- การติดเชื้อบางอย่างอาจทำให้น้ำหนักลด โรคเกี่ยวกับเชื้อรา, เยื่อบุหัวใจอักเสบ (endocarditis), โรคปรสิตหลายอย่าง, เอดส์ และการติดเชื้อแบบกึ่งเฉียบพลัน (subacute) และแบบซ่อนเร้น (occult) บางอย่างก็อาจทำให้น้ำหนักลดได้เช่นกัน
- คนไข้โรคไตและภาวะยูเรียเกินในปัสสาสวะ (uremia) บ่อยครั้งจะไม่ค่อยหรือไม่อยากอาหาร อาเจียน และคลื่นไส้ ซึ่งอาจทำให้น้ำหนักลด
- โรคระบบหัวใจหลอดเลือดโดยเฉพาะแบบอุดตัน (congestive) อาจทำให้น้ำหนักลด
- โรคเกี่ยวกับเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
- โรคทางระบบประสาทรวมทั้งภาวะสมองเสื่อม
- ปัญหาทางปาก การรับรู้รสชาติ ฟัน (รวมทั้งการติดเชื้อ) อาจทำให้ทานอาหารน้อยลงแล้วน้ำหนักลด
เบาหวานประเภทที่ 1
เบาหวานประเภท 1 หรือที่รู้จักกันว่า เบาหวานชนิดพึ่งอินซูลิน (insulin dependent diabetes mellitus - IDDM) นำไปสู่ปริมาณกลูโคสส่วนเกินและปริมาณอินซูลินในกระแสเลือดไม่เพียงพอ ภาวะนี้นำไปสู่การหลั่งไตรกลีเซอไรด์จากกล้ามเนื้อไขมันและแคแทบอลิซึมของกรดอะมิโนในเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ ซึ่งนำไปสู่ทั้งการสูญเสียทั้งมวลไขมันและมวลเนื้อ ทำให้น้ำหนักตัวลดลงอย่างสำคัญ โรคเบาหวานประเภท 1 ที่ไม่ได้รับการรักษาสามารถทำให้น้ำหนักลดได้
เนื่องกับการรักษา
การรักษาทางการแพทย์อาจเป็นเหตุโดยตรงหรือโดยอ้อมให้น้ำหนักลด ซึ่งขัดประสิทธิผลการรักษาและการฟื้นสภาพ แล้วทำให้น้ำหนักลดลงอีก วนเป็นวัฏจักรที่ไม่ดี หลังจากการผ่าตัด คนไข้อาจเจ็บแล้วไม่อยากอาหาร ร่างกายจะตอบสนองโดยส่วนหนึ่งต่อการผ่าตัดโดยทุ่มแรงไปเพื่อรักษาแผล ซึ่งเพิ่มความต้องการพลังงาน แม้จะเปลี่ยนความต้องการสารอาหารโดยอ้อมโดยเฉพาะในช่วงฟื้นตัว แต่ความเปลี่ยนแปลงก็อาจกวนการฟื้นสภาพของแผลและของร่างกาย
การผ่าตัดสามารถมีผลต่อความต้องการอาหารโดยตรงถ้าหัตถการเปลี่ยนระบบย่อยอาหารอย่างถาวร การให้อาหารผ่านสายยางอาจจำเป็น แต่การไม่ให้อาหารทางปากเลยสำหรับการผ่าตัดทางเดินอาหารทุกอย่างไม่ปรากฏว่ามีประโยชน์ โดยนักวิชาการบางพวกเสนอว่ามันทำให้หายช้าลง[ต้องการการอัปเดต]
การให้อาหารหลังการผ่าตัดทางเดินอาหารตั้งแต่ระยะต้น ๆ เป็นส่วนของเกณฑ์วิธีที่เรียกว่า Enhanced Recovery After Surgery protocol ซึ่งรวมการให้อาหารจำพวกคาร์โบไฮเดรต (carbohydrate loading) ภายใน 24 ชม. ก่อนผ่าตัด แต่การให้อาหารก่อนหน้านั้นดูเหมือนจะไม่มีผลอย่างสำคัญ
ยาบางอย่างอาจเป็นเหตุให้น้ำหนักลด แต่บางอย่างก็ทำให้น้ำหนักเพิ่ม
สถานะทางสังคม
สถานะทางสังคม เช่น ความยากจน การแยกอยู่คนเดียว หรือการไม่สามารถได้หรือทำอาหารที่ต้องการอาจทำให้น้ำหนักลดอย่างไม่ตั้งใจ ซึ่งอาจสามัญเป็นพิเศษในคนชรา อาหารที่ได้อาจได้รับผลจากวัฒนธรรม ครอบครัว และความเชื่อ ฟันปลอมที่ใส่ไม่ดี ปัญหาเกี่ยวกับฟันและปากอื่น ๆ ก็อาจทำให้ได้อาหารไม่พอด้วย ความสิ้นหวัง ปัญหาสถานะทาสังคม การติดต่อกับคนอื่น ๆ ปัญหาทางจิตวิญญาณ และความเหนื่อยล้าอาจทำให้ซึมเศร้า ซึ่งอาจสัมพันธ์กับการได้อาหารน้อยลง
ความเชื่อ
ความเชื่อยอดนิยมเกี่ยวกับการลดน้ำหนักบางอย่างพบว่า มีผลไม่ตรงตามที่เชื่อ หรือแม้แต่ไม่ดีต่อสุขภาพ ตามนักวิชาการของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด แนวคิดว่าเมแทบอลิซึมเป็นหัวใจของการลด/เพิ่มน้ำหนักเป็นจริงแค่บางส่วน เพราะแม้เมแทบอลิซึมจะมีผลต่อน้ำหนักก็จริง แต่ปัจจัยภายนอกเช่นอาหารและการออกกำลังกายก็มีผลเท่า ๆ กัน นักวิชาการยังชี้แจงว่า การเปลี่ยนอัตราเมแทบอลิซึมของตนเองได้ยังเป็นเรื่องที่ยังไม่มีข้อยุติอีกด้วย แผนไดเอ็ตในนิตยสารฟิตเหนสบ่อยครั้งเชื่อว่ามีประสิทธิผล แต่จริง ๆ อาจมีโทษเพราะจำกัดการบริโภคสารอาหารที่สำคัญโดยขึ้นอยู่กับบุคคล และอาจทำให้เข็ดไม่พยายามลดน้ำหนักอีก
ผลต่อสุขภาพ
โรคอ้วนเพิ่มความเสี่ยงต่อโรค รวมทั้งเบาหวาน มะเร็ง โรคระบบหัวใจหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง และโรคตับที่ไม่เกี่ยวกับแอลกอฮอล์ ดังนั้น การแก้ปัญหาสภาวะโรคอ้วนก็จะช่วยลดความเสี่ยงเหล่านั้น เช่น การลดน้ำหนัก 1 กก. พบว่าสัมพันธ์กับการลดความดันโลหิตประมาณ 1 มิลลิเมตรปรอท
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- LeBlanc, E; O'Connor, E; Whitlock, EP (October 2011). "Screening for and management of obesity and overweight in adults". Evidence Syntheses, No. 89. U.S. Agency for Healthcare Research and Quality (AHRQ). สืบค้นเมื่อ 2013-06-27.
- Institute for Quality and Efficiency in Health Care. "Health benefits of losing weight". Fact sheet, Informed Health Online. Institute for Quality and Efficiency in Health Care. สืบค้นเมื่อ 2013-06-27.
- "Health Weight - Understanding Calories". National Health Service. 2016-08-19.
- . Mayo Clinic. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-04. สืบค้นเมื่อ 2007-01-13.
- . WebMD. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-22.
- "Moods for Overeating: Good, Bad, and Bored". Psychology Today (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2018-10-17.
- Nedeltcheva, AV; Kilkus, JM; Imperial, J; Schoeller, DA; Penev, PD (2010). "Insufficient sleep undermines dietary efforts to reduce adiposity". Annals of Internal Medicine. 153 (7): 435–41. doi:10.7326/0003-4819-153-7-201010050-00006. PMC 2951287. PMID 20921542.[]
- Harmon, Katherine (2010-10-04). . Scientific American. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-23. สืบค้นเมื่อ 2010-10-20.
- Pathak, K.; Soares, M. J.; Calton, E. K.; Zhao, Y.; Hallett, J. (2014-06-01). "Vitamin D supplementation and body weight status: a systematic review and meta-analysis of randomized controlled trials". Obesity Reviews. 15 (6): 528–537. doi:10.1111/obr.12162. ISSN 1467-789X. PMID 24528624.
- Sumithran, Priya; Proietto, Joseph (2013). "The defence of body weight: A physiological basis for weight regain after weight loss". Clinical Science. 124 (4): 231–41. doi:10.1042/CS20120223. PMID 23126426.
- . Dietary Guidelines 2015-2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-19. สืบค้นเมื่อ 2016-05-02.
- . BBC News. 2003-03-03. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2003-04-02.
- . Weight-control Information Network. National Institute of Diabetes and Digestive and Kidney Diseases. April 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-23. สืบค้นเมื่อ 2011-01-26.
- Albgomi. . Bariatric Surgery Information Guide. bariatricguide.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-06. สืบค้นเมื่อ 2013-06-13.
- . Mayo Clinic. 2009-02-09. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-11-10.
- Neumark-Sztainer, Dianne; Sherwood, Nancy E.; French, Simone A.; Jeffery, Robert W. (March 1999). "Weight control behaviors among adult men and women: Cause for concern?". Obesity Research. 7 (2): 179–188. doi:10.1002/j.1550-8528.1999.tb00700.x. PMID 10102255.
- Thomas, Paul R. (January–February 2005). "Dietary Supplements For Weight Loss?". Nutrition Today. 40 (1): 6–12.
{{}}
: CS1 maint: date format () - Barabasz, Marianne; Spiegel, David (1989). "Hypnotizability and weight loss in obese subjects". International Journal of Eating Disorders. 8 (3): 335–341. doi:10.1002/1098-108X(198905)8:3<335::AID-EAT2260080309>3.0.CO;2-O.
- Kirsch, I. (June 1996). "Hypnotic enhancement of cognitive-behavioral weight loss treatments-another meta-reanalysis". Journal of Consulting and Clinical Psychology. 64 (3): 517–9. doi:10.1037/0022-006X.64.3.517. PMID 8698945. INIST:3143031.
- Andersen, M. S. (1985). "Hypnotizability as a factor in the hypnotic treatment of obesity". International Journal of Clinical and Experimental Hypnosis. 33 (2): 150–159. doi:10.1080/00207148508406645. PMID 4018924.
- Allison, David B.; Faith, Myles S. (June 1996). "Hypnosis as an adjunct to cognitive-behavioral psychotherapy for obesity: A meta-analytic reappraisal". Journal of Consulting and Clinical Psychology. 64 (3): 513–516. doi:10.1037/0022-006X.64.3.513. PMID 8698944.
- Ruiz, F. J. (2010). "A review of Acceptance and Commitment Therapy (ACT) empirical evidence: Correlational, experimental psychopathology, component and outcome studies". International Journal of Psychology and Psychological Therapy. 10 (1): 125–62.
- Mann, T; Tomiyama, AJ; Westling, E; Lew, AM; Samuels, B; Chatman, J (April 2007). "Medicare's search for effective obesity treatments: diets are not the answer". The American Psychologist. 62 (3): 220–33. 10.1.1.666.7484. doi:10.1037/0003-066x.62.3.220. PMID 17469900.
In sum, there is little support for the notion that diets ["severely restricting one’s calorie intake"] lead to lasting weight loss or health benefits.
- . DHHS Publication No (FDA) 92-1189. US Food and Drug Administration. 1992. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-09-26. สืบค้นเมื่อ 2013-05-14.
- . PRNewswire (Press release). Reuters. 2008-04-21. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-03-11. สืบค้นเมื่อ 2009-01-17.
- . 2010-07-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-07. สืบค้นเมื่อ 2010-07-19.
- National Cancer Institute (November 2011). . Physician Data Query. National Cancer Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-10-16. สืบค้นเมื่อ 2013-07-03.
- Huffman, GB (2002-02-15). "Evaluating and treating unintentional weight loss in the elderly". American Family Physician. 65 (4): 640–50. PMID 11871682.
- Payne, C; Wiffen, PJ; Martin, S (2012-01-18). Payne, Cathy (บ.ก.). "Interventions for fatigue and weight loss in adults with advanced progressive illness". The Cochrane Database of Systematic Reviews. 1: CD008427. doi:10.1002/14651858.CD008427.pub2. PMID 22258985.
- Institute of Medicine (U.S.). Committee on Nutrition Services for Medicare Beneficiaries (2000-06-09). The role of nutrition in maintaining health in the nation's elderly: evaluating coverage of nutrition services for the Medicare population. p. 67. ISBN .
- National Collaborating Centre for Acute Care (UK) (February 2006). "Nutrition Support for Adults: Oral Nutrition Support, Enteral Tube Feeding and Parenteral Nutrition". NICE Clinical Guidelines, No. 32. National Collaborating Centre for Acute Care (UK).
- Yaxley, A; Miller, MD; Fraser, RJ; Cobiac, L (February 2012). "Pharmacological interventions for geriatric cachexia: a narrative review of the literature". The Journal of Nutrition, Health & Aging. 16 (2): 148–54. doi:10.1007/s12603-011-0083-8. PMID 22323350.
- Itoh, M; Tsuji, T; Nemoto, K; Nakamura, H; Aoshiba, K (2013-04-18). "Undernutrition in patients with COPD and its treatment". Nutrients. 5 (4): 1316–35. doi:10.3390/nu5041316. PMC 3705350. PMID 23598440.
- Mangili, A; Murman, DH; Zampini, AM; Wanke, CA; Murman; Zampini; Wanke (2006). "Nutrition and HIV infection: review of weight loss and wasting in the era of highly active antiretroviral therapy from the nutrition for healthy living cohort". Clin. Infect. Dis. 42 (6): 836–42. doi:10.1086/500398. PMID 16477562.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Nygaard, B (2010-07-19). "Hyperthyroidism (primary)". Clinical Evidence. 2010: 0611. PMC 3275323. PMID 21418670.
- (PDF). American Thyroid Association. 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-04-10. สืบค้นเมื่อ 2011-01-26.
- National Collaborating Centre for Chronic Conditions (UK) (2004). Type 1 diabetes in adults: National clinical guideline for diagnosis and management in primary and secondary care. NICE Clinical Guidelines, No. 15.1. Royal College of Physicians UK. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2013-07-03.
- Mangili, A; Murman, DH; Zampini, AM; Wanke, CA (2006-03-15). "Nutrition and HIV infection: review of weight loss and wasting in the era of highly active antiretroviral therapy from the nutrition for healthy living cohort". Clinical Infectious Diseases. 42 (6): 836–42. doi:10.1086/500398. PMID 16477562.
- Massompoor, SM (April 2004). . Shiraz E-Medical Journal. 5 (2). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-10-24.
- Andersen, HK; Lewis, SJ; Thomas, S (2006-10-18). Andersen, Henning Keinke (บ.ก.). "Early enteral nutrition within 24h of colorectal surgery versus later commencement of feeding for postoperative complications". The Cochrane Database of Systematic Reviews (4): CD004080. doi:10.1002/14651858.CD004080.pub2. PMID 17054196.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|laysummary=
ถูกละเว้น ((help)) - Burden, S; Todd, C; Hill, J; Lal, S (2012). Burden, Sorrel (บ.ก.). "Pre‐operative Nutrition Support in Patients Undergoing Gastrointestinal Surgery" (PDF). The Cochrane Database of Systematic Reviews. 11 (11): CD008879. doi:10.1002/14651858.CD008879.pub2. PMID 23152265.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|laysummary=
ถูกละเว้น ((help)) - Mariotti, KC; Rossato, LG; Fröehlich, PE; Limberger, RP (Nov 2013). "Amphetamine-type medicines: a review of pharmacokinetics, pharmacodynamics, and toxicological aspects". Current Clinical Pharmacology. 8 (4): 350–7. doi:10.2174/15748847113089990052. PMID 23342978.
- Sarnes, E; Crofford, L; Watson, M; Dennis, G; Kan, H; Bass, D (Oct 2011). "Incidence and US costs of corticosteroid-associated adverse events: a systematic literature review". Clinical Therapeutics. 33 (10): 1413–32. doi:10.1016/j.clinthera.2011.09.009. PMID 21999885.
- Serretti, A; Mandelli, L (October 2010). "Antidepressants and body weight: a comprehensive review and meta-analysis". The Journal of Clinical Psychiatry. 71 (10): 1259–72. doi:10.4088/JCP.09r05346blu. PMID 21062615.
- Alibhai, SM; Greenwood, C; Payette, H (2005-03-15). "An approach to the management of unintentional weight loss in elderly people". Canadian Medical Association Journal. 172 (6): 773–80. doi:10.1503/cmaj.1031527. PMC 552892. PMID 15767612.
- Publishing, Harvard Health. "Does Metabolism Matter in Weight Loss? - Harvard Health". Harvard Health (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2018-06-18.
- Long, Jacqueline (2015). The Gale Encyclopedia of Senior Health. Detroit, MI: Gale. ISBN .
- Harsha, D. W.; Bray, G. A. (2008). "Weight Loss and Blood Pressure Control (Pro)". Hypertension. 51 (6): 1420–1425. doi:10.1161/HYPERTENSIONAHA.107.094011. ISSN 0194-911X. PMID 18474829.
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | D |
---|
- Weight loss ที่เว็บไซต์ Curlie
- Health benefits of losing weight By IQWiG at PubMed Health
- Weight-control Information Network 2015-02-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน U.S. National Institutes of Health
- Nutrition in cancer care By NCI at PubMed Health
- Unintentional weight loss
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inbribththangkaraephthy sukhphaph aelakhwamfitkhxngrangkay karldnahnk hrux nahnkld xngkvs weight loss hmaythungkarldnahnk mwlkaythnghmd imwacaepnephraaesiyna ldikhmn hruxmwlkayxun echn aerthatuinkraduk klamenux exn aelaenuxeyuxxun xacekidodyimidtngicephraathuphophchnakar ephraaorkh ephraaphyayamaekphawanahnkekinhruxorkhxwnimwacaepncringhruxaekhkhidexaexng nahnkthildxyang xthibayimid aelaimidekidcakkarldxaharhruxephimxxkkalngkay xacepnxakarorkhthitxngtrwcdunahnkldphaphaesdngkarldnahnktngicldkartngicldnahnkxacephuxprbprungkhwamfitrangkayhruxsukhphaph hruxephuxepliynruprang sahrbphuthinahnkekinhruxepnorkhxwn karldnahnkxacldkhwamesiyngthangsukhphaph ephimkhwamfitrangkay aelachalxkarekidorkhebahwan sahrbphumikhxekhaesuxm xacldkhwamecbpwdaelathaihkhlxngaekhlwkhun karldnahnkxacldkhwamdnolhitsung aetkimchdecnwaldxntrayehtukhwamdnsunghruxim imxyuinaehlngxangxing Weight loss is achieved by adopting a lifestyle in which fewer calories are consumed than are expended nahnksamarthldemuxmiphvtikrrm withichiwitthibriophkhphlngngannxykwathiichaetlan khux nahnkcaldktxemuxichphlngnganephuxthanganhruxephuxemaethbxlisumyingkwathiidcakxaharaelasarxaharxun sungthaihephaphlngnganthiekbsarxngiwimwacacakikhmnhruxklamenux aelwthaihnahnkkhxy ld sahrbnkkilathitxngkarelnkilaihdikhun hruxtxngphanphikdnahnkinkila karldnahnkxikimaeplkaemcahnkinradbdisudaelw swnbukhkhlxun xacmiaerngcungicephuxldnahnkihidruprangthitnkhidwadudikwa xyangirkdi karminahnknxyekinsmphnthkbkhwamesiyngthangsukhphaph echn xxnaextxkartidechux phawakradukphrun klamenuximaekhngaerng rangkaymipyhakhwbkhumxunhphumi aelaaemaetesiyngtaysungkhun xaharmiaekhlxrita low calorie diet epnrupaebbxaharthimisarxaharcaepnxyangsmdul ephraamiphlesiynxymak nkophchnakarcungmkaenanaxaharphwkni nxkcakcacakdaekhlxrithibriophkh kyngkhwbkhumkarbriophkhsarxaharhlk macronutrient xikdwy inbrrdaaekhlxrithikhwrbriophkhtxwn 55 khwrmacakkharobihedrt 15 cakoprtin aela 30 cakikhmnodyimkhwrmiikhmnximtwekin 10 khxngikhmnthnghmd txngkarxangxing yktwxyangechn emuxbriophkhxaharmiphlngngan 1 200 aekhlxritxwn khwrcaid 660 aekhlxricakkharobihedrt 180 aekhlxricakoprtin aela 360 aekhlxricakikhmn aetkmingansuksabangnganthiaesdngwa karephimbriophkhoprtinsamarthchwyrangbkhwamhiwthimkekidephraaldaekhlxriinxaharephraaephimkhwamrusukxim karcakdaekhlxriechnnimipraoychnrayayawhlayxyang emuxthaphrxmkbxxkkalngkayephimkhun xaharmiaekhlxritaechuxwamiprasiththiphaphthisudinrayayaw imehmuxnkbidexttha hyud sungxyangdikidphlrayasn ethann karxxkkalngkaysamarthephimprasiththiphaphkhxngrupaebbkarthanxahar dngnn withikarldnahnksungthuksukhphaphthisudkkhux karthanxaharxyangsmdulprakxbkbkarxxkkalngkaypanklang txngkarxangxing karephimnahnksmphnthkbkarthanikhmnmakekin ephimthannatal thankharobihedrtkhdsi aeprrupodythwip aelakardumaexlkxhxl txngkarxangxing khwamsumesra khwamekhriyd aelakhwamebuxxacmiswnthaihnahnkephim inkrniehlani bukhkhlxackhwrpruksaaephthy ngansuksapi 2010 phbwa phuidextthihlbetmximchwngklangkhun ldnahnkidepnsxngethakhxngphuidextthinxnimphx aemcamismmtithanwa xaharesrimepnwitamindixacchwyldnahnk aetphlngansuksakimsnbsnunsmmtithanni khnidextodymakcaidnahnkkhuninrayayaw tamaenwthangaenanaxaharkhxngkhnxemrikn Dietary Guidelines for Americans khnthiidnahnkthuksukhphaphaelarksaiwid catxngramdrawngbriophkhaekhlxritamthirangkaycaepnethann aelaepnkhnimxyuning physically active tamxngkhkarbrikarsukhphaphaehngchatiaehngshrachxanackr NHS bukhkhlsamarthldnahnkiddithisudodytrwctraaekhlxrithibriophkhaetlawnprakxbkbkarxxkkalngkay ethkhnikh withikarldnahnkthikawkaynxythisud aelacungaenanabxythisud kkhuxkarepliynphvtikrrmkarthanxaharaelaephimxxkkalng pktiodykarxxkkalngkay xngkhkarxnamyolkaenanaihldthanxaharaeprrupthimiikhmnximtw natal aelaekluxsung ldaekhlxrithiidcakxahar aelaephimxxkkalng yngaenanaihthaniyxaharephimkhundwyephuxihthayiddi withildnahnkxun rwmthngkarichyahruxxaharesrimthildkhwamxyakxahar rangbkardudsumxahar hruxldprimatrkraephaaxahar karphatdldkhwamxwn Bariatric surgery xacepnthangeluxksahrborkhxwnrunaerng karphatdthisamykkhux gastric bypass karphaeliyngkraephaaxaharepnbangswn aela gastric banding karphukkraephaaxahar thngsxngxacmiprasiththiphlldkarnaphlngnganekharangkayephraaldkhnadkraephaa aetkmikhwamesiyngxyangcaephaa ehmuxnkbkaphatdxun dngnn cungkhwrpruksaaephthykxn xaharesrimthungaemcaichxyangkwangkhwang aetkphicarnawaimthuksukhphaphemuxldnahnk miwangtladhlayxyang aetnxyxyangmakmiprasiththiphlrayayaw miwithikarsakdcit virtual gastric band thithaihrusukehmuxnwa kraephaaxaharelkkwaepncringaeladngnn cungchwyldprimankarthanxaharaelwihldnahnkid withinixacesrimdwykarrksakhwamwitkkngwlthangcitwithyaaeladwykarihfngbnthukesiyngemuxnxnhlb hypnopedia minganwicythitrwcsxbkarsakdcitephuxaekpyhanahnkekinepnkarrksathangeluxk ngansuksapi 1996 phbwa karldnahnkdwykarbabdthangkhwamkhidaelaphvtikrrm CBT camiprasiththiphaphyingkhunthaesrimdwykarsakdcitkarrksadwykaryxmrbaelakarihsyya ACT sungichstiephuxldnahnkkphbinpi 2010 wamipraoychndwy karldnahnkxyangthawr ephuxihnahnkldxyangthawr karepliynxaharaelaphvtikrrmktxngthawrdwy karidextinrayasn impraktwa ldnahnkidhruxthaihsukhphaphdikhuninrayayaw aelaxacmiothsdwy xutsahkrrmkarldnahnkinpraethstawntk inshrth miphlitphnththiwangtladepncanwnmaksungxangwachwyihldnahnkidngaykhun erwkhun mikhaichcaynxy iwwangicid aelaepnthukkhnxykwa rwmthnghnngsux diwidi sidi khrim namn ya aehwn tumhu ekhruxngphnkay ekhmkhd wsduxun sunyfitehns khlinik okhchswntw klumsnbsnunldnahnk phlitphnthxaharaelaxaharesrim inpi 2008 mikarichcay 33 000 55 000 lanehriyyshrth txpi praman 1 1 1 8 lanlanbath sahrbphlitphnthaelabrikarldnahnkodyrwmwithikarthangaephthyaelayadwy sunyldnahnkidswnaebngrahwang 6 12 phubriophkhsuxxaharesrimephuxchwyldnahnkekinkwa 1 600 lanehriyy txpi praman 52 789 lanbath khwamphyayamephuxidextkhxngkhnxemrikn 70 cathaexng inyuorptawntk karkhayphlitphnthldnahnkodyimrwmyathiaephthytxngxxkibsng ekinkwa 1 250 lanyuor txpi praman 59 767 lanbath inpi 2009imidtngiclksna karldnahnkxyangimidtngicxacekidcakkaresiyikhmn esiyna esiyklamenuxinrangkay hruxesiysingehlanirwm kn pkticaphicarnawaepnpyhathangkaraephthytxemuxbukhkhlesiynahnkxyangnxy 10 phayin 6 eduxn hrux 5 phayineduxnthiphanma eknthwithixikxyangthiichpraeminnahnknxyekinkkhux dchnimwlkay BMI xyangirkdi aemnahnkldthinxykwanikxacepneruxngnaepnhwngsahrbkhnchrathixxnaex nahnkldaebbimidtngicxacekidephraaidphlngngancakxaharimphxethiybkbkhwamtxngkarkhxngrangkay pktieriykwa thuphophchnakar aetwithidaeninkhxngorkh karepliynaeplngthangemaethbxlisum thanghxromn karichya karrksaorkhxun karepliynaeplngxaharenuxngcakorkhhruxkarrksa hruxkhwamxyakxaharnxydngthismphnthkborkhhruxkarrksakxacthaihnahnkldxyangimidtngicidechnkn pyhathanghxromnechn ithrxydthukkratunmakekinip hyperthyroidism xacthaihnahnkldechnkn karnasarxaharipichimiddixacthaihnahnkld sungxacmiehtucakthangedinxaharthalu fistulae thxngrwng ptikiriyarahwangyakbxahar karhmdexnism aelaklamenuxlib nahnkthildlngeruxy xacaeylngcnklayepnphawaphxmhnnghumkraduk cachexia sungtangkbkhwamxdxyakodyswnhnungkkhuxephraamiptikiriyaepnkarxkesbthngrangkay systemic inflammatory response aelamiphlthiaeykwa inorkhthiluklamrayahlng emaethbxlisumkhxngkhnikhxacepliynip cungthaihnahnkldidaemcaidxaharphxodythirangkayimsamarthprbtwid sungxackxphawa anorexia cachexia syndrome ACS thikaridxaharhruxxaharesrimimnacachwy xakarenuxngkb ACS rwmthngkaresiynahnkxyangrunaerngcakklamenux imichcakikhmnrangkay imxyakxahar ximaemhlngcakthanxaharephiyngelknxy khlunis kaplkkaepliy la karldnahnkmakxacthaihkhunphaphchiwitaeylng khdkhwangkarrksahruxkarhaycakorkh thaihorkhaeylng aelaepnpccyesiyngihmixtrakartaysung thuphophchnakarxacmiphltxkarthangankhxngrangkaythuk swn erimtngaetradbesllcnthungkrabwnkarthanganthisbsxnthisudrwmthngkartxbsnxngkhxngphumikhumkn karhaycakaephl kalngklamenux rwmthngthiichhayic karthangankhxngit sungxackxpyhaekiywkbnaaelaxielkothrilt karprbxunhphumikay karmipracaeduxn xnung thuphophchnakarxacthaihkhadwitaminhruxsarxaharxun aelwthaihimkhxykhybtw sungkxackxpyhaxun echn aephlkdthb pressure sore nahnkldxyangimidtngicxacepnxakarthinaipsukarwinicchywaepnmaerng aelaorkhebahwanpraephththihnung inshrachxanackr prachakrthwip 5 caminahnknxyekin aetphuthimiorkhpxd orkhthangedinxahar hruxephingrbkarphatdcaepnthung 10 tamkhxmulcak Malnutrition Universal Screening Tool MUST khxngshrachxanackr sungrwmeruxngkaresiynahnkodyimidtngic 10 khxngprachakrxayumakkwa 65 piesiyngtxthuphophchnakar khnikhinorngphyabalthung 10 60 kesiyngdwy khnikhinsthabnduaelphupwyrayayawkechnkn ehtu enuxngkborkh thuphophchnakarenuxngkborkhxaccdrwminhmwd 4 hmwd pyha ehtuthanxaharidimetmthi khwamimxyakxaharxacepnxakarodytrngkhxngorkh hruxorkhxacthaihrusukecbemuxrbprathanxaharhruxthaihkhlunis xacthaihrusukklwkarkin xacekidcakkhwamrusuktwthiaeylnghruxsbsn pyhathimuxaelaaekhn pyhakarklunaelakarekhiyw aephthyxaccakdxaharephuxrksahruxephuxtrwcsxborkh karkhadxaharxacekidcakkhwamyakcn pyhakaripsuxkhxnghruxthaxahar aelaxaharkhunphaphimdikaryxyhruxkardudsumxaharthiimdi xacekidcakpyhakhxngrabbyxyxaharrangkaymikhwamtxngkarepliynip karepliynaeplngthangemaethbxlisumxacekidcakorkh karphatd hruxpyhathixwywatang karesiysarxaharekin karesiysarxaharcakthangedinxaharxacekidcakxakartang echnxaeciyn thxngrwng thangedinxaharthalu fistulae aela stoma xacesiysarxaharephraawithikarrabaytang rwmthngsayrabaythiaephthysxdcakcmukthungkraephaaxahar nasogastric tube hruxephraakrabwnkarxun echn phiwhnngihmthiminaeyimxxkcakphiw skin exudate pyhakaresiynahnkephraaorkhodyechphaa rwmthng emuxorkhpxdxudkneruxrng COPD aeylng khnikhpraman 35 canahnkldxyangrunaerngodyeriykwa pulmonary cachexia phawaphxmhnnghumkradukehtupxd rwmthngkaresiyklamenux khnikh 25 canahnkldinradbpanklangcnthungrunaerng aelathiehluxodymakcanahnkldbang karesiynahnkmakkwacathaihphyakrnorkhaeykwa pccythiekiywkhxngthangthvsdirwmthngkarldkhwamxyakxaharephraakhybtwnxylng karichphlngnganephimkhunephuxhayic aelapyhakarrbprathanephraahayiclabak dyspnea labored breathing sahrbnahnkldthixthibayimid maerngepnehtuthisamyaelabxykhrngthaihesiychiwit khnikhthinahnkldodyimidtngicpraman 1 3 miehtucakenuxray rwmthngmaerngthangedinxahar maerngtxmlukhmak maerngeslltb maerngtbxxn maerngrngikh maerngeluxd aelamaerngpxd khnikhexchixwibxykhrngnahnkcald aelasmphnthkbphllphththiaeykwa xakarphxmaehngepnlksnaednxyanghnungkhxngorkhexds orkhthangedinxahar gastrointestinal disease epnehtusamyxikxyanghnungemuxnahnkldxyangimthrabsaehtu aelacring kepnehtusamythisudnxkehnuxcakmaerng txngkarxangxing orkhthixacepnehturwmthng coeliac disease aephlepuxyephptik peptic ulcer disease inflammatory bowel disease rwmthng crohn s disease aela ulcerative colitis tbxxnxkesb pancreatitis kraephaaxkesb gastritis thxngrwng aelaorkhthangedinxaharxun xikhlayxyang kartidechuxbangxyangxacthaihnahnkld orkhekiywkbechuxra eyuxbuhwicxkesb endocarditis orkhprsithlayxyang exds aelakartidechuxaebbkungechiybphln subacute aelaaebbsxnern occult bangxyangkxacthaihnahnkldidechnkn khnikhorkhitaelaphawayueriyekininpssaswa uremia bxykhrngcaimkhxyhruximxyakxahar xaeciyn aelakhlunis sungxacthaihnahnkld orkhrabbhwichlxdeluxdodyechphaaaebbxudtn congestive xacthaihnahnkld orkhekiywkbenuxeyuxekiywphn orkhthangrabbprasathrwmthngphawasmxngesuxm pyhathangpak karrbrurschati fn rwmthngkartidechux xacthaihthanxaharnxylngaelwnahnkldebahwanpraephththi 1 ebahwanpraephth 1 hruxthiruckknwa ebahwanchnidphungxinsulin insulin dependent diabetes mellitus IDDM naipsuprimankluokhsswnekinaelaprimanxinsulininkraaeseluxdimephiyngphx phawaninaipsukarhlngitrkliesxirdcakklamenuxikhmnaelaaekhaethbxlisumkhxngkrdxamioninenuxeyuxklamenux sungnaipsuthngkarsuyesiythngmwlikhmnaelamwlenux thaihnahnktwldlngxyangsakhy orkhebahwanpraephth 1 thiimidrbkarrksasamarththaihnahnkldid enuxngkbkarrksa karrksathangkaraephthyxacepnehtuodytrnghruxodyxxmihnahnkld sungkhdprasiththiphlkarrksaaelakarfunsphaph aelwthaihnahnkldlngxik wnepnwtckrthiimdi hlngcakkarphatd khnikhxacecbaelwimxyakxahar rangkaycatxbsnxngodyswnhnungtxkarphatdodythumaerngipephuxrksaaephl sungephimkhwamtxngkarphlngngan aemcaepliynkhwamtxngkarsarxaharodyxxmodyechphaainchwngfuntw aetkhwamepliynaeplngkxackwnkarfunsphaphkhxngaephlaelakhxngrangkay karphatdsamarthmiphltxkhwamtxngkarxaharodytrngthahtthkarepliynrabbyxyxaharxyangthawr karihxaharphansayyangxaccaepn aetkarimihxaharthangpakelysahrbkarphatdthangedinxaharthukxyangimpraktwamipraoychn odynkwichakarbangphwkesnxwamnthaihhaychalng txngkarkarxpedt karihxaharhlngkarphatdthangedinxahartngaetrayatn epnswnkhxngeknthwithithieriykwa Enhanced Recovery After Surgery protocol sungrwmkarihxaharcaphwkkharobihedrt carbohydrate loading phayin 24 chm kxnphatd aetkarihxaharkxnhnannduehmuxncaimmiphlxyangsakhy yabangxyangxacepnehtuihnahnkld aetbangxyangkthaihnahnkephim sthanathangsngkhm sthanathangsngkhm echn khwamyakcn karaeykxyukhnediyw hruxkarimsamarthidhruxthaxaharthitxngkarxacthaihnahnkldxyangimtngic sungxacsamyepnphiessinkhnchra xaharthiidxacidrbphlcakwthnthrrm khrxbkhrw aelakhwamechux fnplxmthiisimdi pyhaekiywkbfnaelapakxun kxacthaihidxaharimphxdwy khwamsinhwng pyhasthanathasngkhm kartidtxkbkhnxun pyhathangcitwiyyan aelakhwamehnuxylaxacthaihsumesra sungxacsmphnthkbkaridxaharnxylngkhwamechuxkhwamechuxyxdniymekiywkbkarldnahnkbangxyangphbwa miphlimtrngtamthiechux hruxaemaetimditxsukhphaph tamnkwichakarkhxngmhawithyalyharward aenwkhidwaemaethbxlisumepnhwickhxngkarld ephimnahnkepncringaekhbangswn ephraaaememaethbxlisumcamiphltxnahnkkcring aetpccyphaynxkechnxaharaelakarxxkkalngkaykmiphletha kn nkwichakaryngchiaecngwa karepliynxtraemaethbxlisumkhxngtnexngidyngepneruxngthiyngimmikhxyutixikdwy aephnidextinnitysarfitehnsbxykhrngechuxwamiprasiththiphl aetcring xacmiothsephraacakdkarbriophkhsarxaharthisakhyodykhunxyukbbukhkhl aelaxacthaihekhdimphyayamldnahnkxikphltxsukhphaphorkhxwnephimkhwamesiyngtxorkh rwmthngebahwan maerng orkhrabbhwichlxdeluxd khwamdnolhitsung aelaorkhtbthiimekiywkbaexlkxhxl dngnn karaekpyhasphawaorkhxwnkcachwyldkhwamesiyngehlann echn karldnahnk 1 kk phbwasmphnthkbkarldkhwamdnolhitpraman 1 milliemtrprxthduephimkarkahndxahar karxxkkalngkayechingxrrthaelaxangxingLeBlanc E O Connor E Whitlock EP October 2011 Screening for and management of obesity and overweight in adults Evidence Syntheses No 89 U S Agency for Healthcare Research and Quality AHRQ subkhnemux 2013 06 27 Institute for Quality and Efficiency in Health Care Health benefits of losing weight Fact sheet Informed Health Online Institute for Quality and Efficiency in Health Care subkhnemux 2013 06 27 Health Weight Understanding Calories National Health Service 2016 08 19 Mayo Clinic khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 03 04 subkhnemux 2007 01 13 WebMD khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 09 22 Moods for Overeating Good Bad and Bored Psychology Today phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2018 10 17 Nedeltcheva AV Kilkus JM Imperial J Schoeller DA Penev PD 2010 Insufficient sleep undermines dietary efforts to reduce adiposity Annals of Internal Medicine 153 7 435 41 doi 10 7326 0003 4819 153 7 201010050 00006 PMC 2951287 PMID 20921542 lingkesiy Harmon Katherine 2010 10 04 Scientific American khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 08 23 subkhnemux 2010 10 20 Pathak K Soares M J Calton E K Zhao Y Hallett J 2014 06 01 Vitamin D supplementation and body weight status a systematic review and meta analysis of randomized controlled trials Obesity Reviews 15 6 528 537 doi 10 1111 obr 12162 ISSN 1467 789X PMID 24528624 Sumithran Priya Proietto Joseph 2013 The defence of body weight A physiological basis for weight regain after weight loss Clinical Science 124 4 231 41 doi 10 1042 CS20120223 PMID 23126426 Dietary Guidelines 2015 2020 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 03 19 subkhnemux 2016 05 02 BBC News 2003 03 03 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2003 04 02 Weight control Information Network National Institute of Diabetes and Digestive and Kidney Diseases April 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 01 23 subkhnemux 2011 01 26 Albgomi Bariatric Surgery Information Guide bariatricguide org khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 12 06 subkhnemux 2013 06 13 Mayo Clinic 2009 02 09 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 11 10 Neumark Sztainer Dianne Sherwood Nancy E French Simone A Jeffery Robert W March 1999 Weight control behaviors among adult men and women Cause for concern Obesity Research 7 2 179 188 doi 10 1002 j 1550 8528 1999 tb00700 x PMID 10102255 Thomas Paul R January February 2005 Dietary Supplements For Weight Loss Nutrition Today 40 1 6 12 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint date format lingk Barabasz Marianne Spiegel David 1989 Hypnotizability and weight loss in obese subjects International Journal of Eating Disorders 8 3 335 341 doi 10 1002 1098 108X 198905 8 3 lt 335 AID EAT2260080309 gt 3 0 CO 2 O Kirsch I June 1996 Hypnotic enhancement of cognitive behavioral weight loss treatments another meta reanalysis Journal of Consulting and Clinical Psychology 64 3 517 9 doi 10 1037 0022 006X 64 3 517 PMID 8698945 INIST 3143031 Andersen M S 1985 Hypnotizability as a factor in the hypnotic treatment of obesity International Journal of Clinical and Experimental Hypnosis 33 2 150 159 doi 10 1080 00207148508406645 PMID 4018924 Allison David B Faith Myles S June 1996 Hypnosis as an adjunct to cognitive behavioral psychotherapy for obesity A meta analytic reappraisal Journal of Consulting and Clinical Psychology 64 3 513 516 doi 10 1037 0022 006X 64 3 513 PMID 8698944 Ruiz F J 2010 A review of Acceptance and Commitment Therapy ACT empirical evidence Correlational experimental psychopathology component and outcome studies International Journal of Psychology and Psychological Therapy 10 1 125 62 Mann T Tomiyama AJ Westling E Lew AM Samuels B Chatman J April 2007 Medicare s search for effective obesity treatments diets are not the answer The American Psychologist 62 3 220 33 10 1 1 666 7484 doi 10 1037 0003 066x 62 3 220 PMID 17469900 In sum there is little support for the notion that diets severely restricting one s calorie intake lead to lasting weight loss or health benefits DHHS Publication No FDA 92 1189 US Food and Drug Administration 1992 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2006 09 26 subkhnemux 2013 05 14 PRNewswire Press release Reuters 2008 04 21 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 03 11 subkhnemux 2009 01 17 2010 07 14 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 12 07 subkhnemux 2010 07 19 National Cancer Institute November 2011 Physician Data Query National Cancer Institute khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 10 16 subkhnemux 2013 07 03 Huffman GB 2002 02 15 Evaluating and treating unintentional weight loss in the elderly American Family Physician 65 4 640 50 PMID 11871682 Payne C Wiffen PJ Martin S 2012 01 18 Payne Cathy b k Interventions for fatigue and weight loss in adults with advanced progressive illness The Cochrane Database of Systematic Reviews 1 CD008427 doi 10 1002 14651858 CD008427 pub2 PMID 22258985 Institute of Medicine U S Committee on Nutrition Services for Medicare Beneficiaries 2000 06 09 The role of nutrition in maintaining health in the nation s elderly evaluating coverage of nutrition services for the Medicare population p 67 ISBN 978 0 309 06846 8 National Collaborating Centre for Acute Care UK February 2006 Nutrition Support for Adults Oral Nutrition Support Enteral Tube Feeding and Parenteral Nutrition NICE Clinical Guidelines No 32 National Collaborating Centre for Acute Care UK Yaxley A Miller MD Fraser RJ Cobiac L February 2012 Pharmacological interventions for geriatric cachexia a narrative review of the literature The Journal of Nutrition Health amp Aging 16 2 148 54 doi 10 1007 s12603 011 0083 8 PMID 22323350 Itoh M Tsuji T Nemoto K Nakamura H Aoshiba K 2013 04 18 Undernutrition in patients with COPD and its treatment Nutrients 5 4 1316 35 doi 10 3390 nu5041316 PMC 3705350 PMID 23598440 Mangili A Murman DH Zampini AM Wanke CA Murman Zampini Wanke 2006 Nutrition and HIV infection review of weight loss and wasting in the era of highly active antiretroviral therapy from the nutrition for healthy living cohort Clin Infect Dis 42 6 836 42 doi 10 1086 500398 PMID 16477562 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Nygaard B 2010 07 19 Hyperthyroidism primary Clinical Evidence 2010 0611 PMC 3275323 PMID 21418670 PDF American Thyroid Association 2005 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 04 10 subkhnemux 2011 01 26 National Collaborating Centre for Chronic Conditions UK 2004 Type 1 diabetes in adults National clinical guideline for diagnosis and management in primary and secondary care NICE Clinical Guidelines No 15 1 Royal College of Physicians UK ISBN 9781860162282 subkhnemux 2013 07 03 Mangili A Murman DH Zampini AM Wanke CA 2006 03 15 Nutrition and HIV infection review of weight loss and wasting in the era of highly active antiretroviral therapy from the nutrition for healthy living cohort Clinical Infectious Diseases 42 6 836 42 doi 10 1086 500398 PMID 16477562 Massompoor SM April 2004 Shiraz E Medical Journal 5 2 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2004 10 24 Andersen HK Lewis SJ Thomas S 2006 10 18 Andersen Henning Keinke b k Early enteral nutrition within 24h of colorectal surgery versus later commencement of feeding for postoperative complications The Cochrane Database of Systematic Reviews 4 CD004080 doi 10 1002 14651858 CD004080 pub2 PMID 17054196 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr laysummary thuklaewn help Burden S Todd C Hill J Lal S 2012 Burden Sorrel b k Pre operative Nutrition Support in Patients Undergoing Gastrointestinal Surgery PDF The Cochrane Database of Systematic Reviews 11 11 CD008879 doi 10 1002 14651858 CD008879 pub2 PMID 23152265 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr laysummary thuklaewn help Mariotti KC Rossato LG Froehlich PE Limberger RP Nov 2013 Amphetamine type medicines a review of pharmacokinetics pharmacodynamics and toxicological aspects Current Clinical Pharmacology 8 4 350 7 doi 10 2174 15748847113089990052 PMID 23342978 Sarnes E Crofford L Watson M Dennis G Kan H Bass D Oct 2011 Incidence and US costs of corticosteroid associated adverse events a systematic literature review Clinical Therapeutics 33 10 1413 32 doi 10 1016 j clinthera 2011 09 009 PMID 21999885 Serretti A Mandelli L October 2010 Antidepressants and body weight a comprehensive review and meta analysis The Journal of Clinical Psychiatry 71 10 1259 72 doi 10 4088 JCP 09r05346blu PMID 21062615 Alibhai SM Greenwood C Payette H 2005 03 15 An approach to the management of unintentional weight loss in elderly people Canadian Medical Association Journal 172 6 773 80 doi 10 1503 cmaj 1031527 PMC 552892 PMID 15767612 Publishing Harvard Health Does Metabolism Matter in Weight Loss Harvard Health Harvard Health phasaxngkvsaebbxemrikn subkhnemux 2018 06 18 Long Jacqueline 2015 The Gale Encyclopedia of Senior Health Detroit MI Gale ISBN 978 1573027526 Harsha D W Bray G A 2008 Weight Loss and Blood Pressure Control Pro Hypertension 51 6 1420 1425 doi 10 1161 HYPERTENSIONAHA 107 094011 ISSN 0194 911X PMID 18474829 aehlngkhxmulxunkarcaaenkorkhDICD 10 R63 4ICD 783 21MeSH D015431 28440wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb nahnkld Weight loss thiewbist Curlie Health benefits of losing weight By IQWiG at PubMed Health Weight control Information Network 2015 02 12 thi ewyaebkaemchchin U S National Institutes of Health Nutrition in cancer care By NCI at PubMed Health Unintentional weight loss