น้ำลาย คือสารที่ดีมากที่สุดที่คล้ายน้ำและมักจะเป็นฟอง ถูกผลิตขึ้นในปากของมนุษย์และสัตว์อื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ น้ำลายถูกผลิตขึ้นจากต่อมน้ำลาย น้ำลายของมนุษย์ประกอบด้วยน้ำ 98% ส่วนที่เหลือเป็นอิเล็กโทรไลต์ เมือก สารยับยั้งแบคทีเรีย และเอนไซม์ชนิดต่างๆ เอนไซม์ในน้ำลายสามารถย่อยแป้งที่อยู่ในอาหารในระดับโมเลกุล ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการย่อยอาหาร น้ำลายช่วยชะล้างอาหารที่ติดอยู่ตามซอกฟันและปกป้องไม่ให้เกิดการเน่าเสียจากแบคทีเรีย นอกจากนี้ น้ำลายยังช่วยหล่อลื่นและปกป้องฟัน ลิ้น และเนื้อเยื่ออ่อนบางภายในช่องปาก
สัตว์หลายชนิดมีพัฒนาการการใช้น้ำลายเฉพาะทางมากไปกว่าการย่อยอาหาร นกนางแอ่นใช้น้ำลายที่เหนียวคล้ายยางในการสร้างรัง ซึ่งรังนกนางแอ่นนี้ใช้ทำเครื่องดื่มรังนก งูพิษเช่นงูเห่าปล่อยน้ำลายที่มีพิษออกมาทางเขี้ยวเพื่อใช้ในการล่าสัตว์หรือการป้องกันตัว และแมลงบางชนิดเช่นแมงมุมหรือหนอนผีเสื้อ สร้างใยของมันขึ้นมาจากต่อมน้ำลาย
หน้าที่
การย่อยอาหาร
หน้าที่ที่เกี่ยวกับการย่อยอาหารของน้ำลาย คือการทำให้อาหารเปียกและช่วยสร้างก้อนอาหารทำให้กลืนได้อย่างง่ายดาย น้ำลายประกอบด้วยเอนไซม์ (Amylase) ที่สามารถย่อยแป้งให้กลายเป็นน้ำตาลมอลโทส (Maltose) และ (Dextrin) ดังนั้นการย่อยอาหารจึงเริ่มต้นเกิดขึ้นตั้งแต่ในปากก่อนที่อาหารจะตกลงถึงกระเพาะอาหาร
สารฆ่าเชื้อ
ความเชื่ออย่างหนึ่งเกี่ยวกับน้ำลายว่า น้ำลายมีสารฆ่าเชื้ออยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งทำให้ผู้คนที่เชื่อนำไปสู่ "การเลียแผลตัวเอง" คณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฟลอริดาในเมืองได้ค้นพบว่า มีโปรตีนชนิดหนึ่งเรียกว่า (NGF) ในน้ำลายของหนูทดลอง บาดแผลที่ใช้ NGF รักษาสามารถฟื้นตัวได้เร็วกว่าแผลที่ไม่ได้ใช้เป็นสองเท่า นั่นหมายความว่าน้ำลายสามารถช่วยรักษาแผลได้ในสัตว์บางชนิด อย่างไรก็ตามไม่มีการตรวจพบ NGF ในน้ำลายของมนุษย์ แต่มีสารยับยั้งแบคทีเรียอย่างอื่นเช่น (Immunoglobulin A: IgA) (Lactoferrin) และ (Lactoperoxidase) สิ่งนี้แสดงว่าการเลียแผลของมนุษย์ไม่สามารถฆ่าเชื้อโรคได้ แต่การเลียนั้นอาจช่วยขจัดสิ่งสกปรกหรือช่วยกำจัดเซลล์ที่ติดเชื้อได้โดยตรงจากการเลียปัดออกไป ดังนั้นการเลียจึงอาจเป็นวิธีหนึ่งของการทำความสะอาดของมนุษย์หรือสัตว์ ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ถ้าไม่มีน้ำบริสุทธิ์ให้ใช้
ปากของสัตว์ (รวมทั้งมนุษย์) เป็นที่อยู่อาศัยของแบคทีเรียหลายชนิด ซึ่งบางชนิดเป็นจุลชีพก่อโรค (Pathogen) การกัดของสัตว์จึงต้องรักษาด้วยยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันความเสี่ยงของภาวะเลือดเป็นพิษ (Septicemia)
เมื่อเร็วๆ นี้ นักวิจัยกลุ่มหนึ่งได้พบว่าน้ำลายของสัตว์ปีกสามารถใช้เป็นตัวชี้วัดโรคไข้หวัดนกได้ดีกว่ามูลของมัน
การกระตุ้นและการผลิตน้ำลายต่อวัน
การผลิตน้ำลายสามารถถูกกระตุ้นได้ทั้งจากระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System) และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nervous System) น้ำลายที่ถูกกระตุ้นโดยประสาทซิมพาเทติกจะข้นเหนียวมากกว่าจากประสาทพาราซิมพาเทติก
ปัจจุบันนี้ก็ยังมีความเห็นที่ไม่ตรงกันในเรื่องปริมาณของการผลิตน้ำลายต่อวันของบุคคลผู้มีสุขภาพดี ทุกวันนี้เราเชื่อกันว่าคนหนึ่งคนจะมีการผลิตน้ำลายโดยเฉลี่ยประมาณ 0.75 ลิตรต่อวัน ซึ่งน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของการผลิตน้ำลายในสภาวะปกติในอัตรา 1–1.5 ลิตรต่อวัน นั่นคือ 20 มิลลิลิตรต่อชั่วโมงในเวลาปกติและ 250 มิลลิลิตรในสภาวะถูกกระตุ้น ในขณะหลับการผลิตน้ำลายแทบจะลดลงเหลือศูนย์
ส่วนประกอบ
ในน้ำลายประกอบด้วย
- น้ำ 99.5
%
- อิเล็กโทรไลต์
- โซเดียม 2–21 มิลลิโมลต่อลิตร (น้อยกว่าพลาสมาของเลือด)
- โพแทสเซียม 10–36 มิลลิโมลต่อลิตร (มากกว่าพลาสมาของเลือด)
- แคลเซียม 1.2–2.8 มิลลิโมลต่อลิตร
- แมกนีเซียม 0.08–0.5 มิลลิโมลต่อลิตร
- สารประกอบคลอไรด์ 5–40 มิลลิโมลต่อลิตร (น้อยกว่าพลาสมาของเลือด)
- สารประกอบ 25 มิลลิโมลต่อลิตร (มากกว่าพลาสมาของเลือด)
- สารประกอบฟอสเฟต 1.4–39 มิลลิโมลต่อลิตร
- เมือก (Mucus) ส่วนหลักประกอบด้วย
- (Mucopolysaccharides)
- ไกลโคโปรตีน (Glycoprotein)
- สารยับยั้งแบคทีเรีย เช่น
- สารประกอบ (Thiocyanate)
- (Immunoglobulin A: IgA)
- ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (Hydrogen peroxide)
- เอนไซม์ มีสามชนิดเป็นหลัก
- แอลฟา- (α-amylase) ทำงานที่ค่า pH เท่ากับ 7.4
- (Lysozyme) ช่วยทำให้แบคทีเรียสลายตัว
- ในปาก (Lingual lipase) ทำงานที่ค่า pH ประมาณ 4.0 ซึ่งเอนไซม์ชนิดนี้จะยังไม่ทำงานจนกว่าอาหารจะถูกส่งไปยังกระเพาะอาหารแล้ว
- เซลล์ ทั้งเซลล์ของมนุษย์ 8 ล้านเซลล์ และเซลล์แบคทีเรีย 500 ล้านเซลล์ต่อมิลลิลิตร ซึ่งผลผลิตของแบคทีเรียจะถูกปล่อยปนกับน้ำลาย อันเป็นสาเหตุของอาการ (Halitosis)
- สสารชนิดใหม่ที่เพิ่งค้นพบ ใช้สำหรับบรรเทาอาการปวด
อ้างอิง
- สื่อด้านสรีรวิทยาของ (MCG) 6/6ch4/s6ch4_6(อังกฤษ)
- Marcone, M. F. (2005). "Characterization of the edible bird's nest the Caviar of the East." Food Research International 38:1125–1134. doi:10.1016/j.foodres.2005.02.008 Abstract retrieved 12 Nov 2007 2010-03-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Maton, Anthea (1993). Human Biology and Health. Englewood Cliffs, New Jersey, USA: Prentice Hall. ISBN .
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-02-03. สืบค้นเมื่อ 2008-06-01.
- "Saliva swabs for bird flu virus more effective than faecal samples" German Press Agency December 11, 2006 Retrieved 13 November 2007 2011-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สื่อด้านสรีรวิทยาของ (MCG) 6/6ch4/s6ch4_7(อังกฤษ)
- Andy Coghlan (November 13, 2006). "Natural-born painkiller found in human saliva". .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nalay khuxsarthidimakthisudthikhlaynaaelamkcaepnfxng thukphlitkhuninpakkhxngmnusyaelastwxun epnswnihy nalaythukphlitkhuncaktxmnalay nalaykhxngmnusyprakxbdwyna 98 swnthiehluxepnxielkothrilt emuxk sarybyngaebkhthieriy aelaexnismchnidtang exnisminnalaysamarthyxyaepngthixyuinxaharinradbomelkul sungepncuderimtnkhxngkrabwnkaryxyxahar nalaychwychalangxaharthitidxyutamsxkfnaelapkpxngimihekidkarenaesiycakaebkhthieriy nxkcakni nalayyngchwyhlxlunaelapkpxngfn lin aelaenuxeyuxxxnbangphayinchxngpaknalaykhxngedkthark stwhlaychnidmiphthnakarkarichnalayechphaathangmakipkwakaryxyxahar nknangaexnichnalaythiehniywkhlayyanginkarsrangrng sungrngnknangaexnniichthaekhruxngdumrngnk nguphisechnnguehaplxynalaythimiphisxxkmathangekhiywephuxichinkarlastwhruxkarpxngkntw aelaaemlngbangchnidechnaemngmumhruxhnxnphiesux srangiykhxngmnkhunmacaktxmnalayhnathikaryxyxahar hnathithiekiywkbkaryxyxaharkhxngnalay khuxkarthaihxaharepiykaelachwysrangkxnxaharthaihklunidxyangngayday nalayprakxbdwyexnism Amylase thisamarthyxyaepngihklayepnnatalmxloths Maltose aela Dextrin dngnnkaryxyxaharcungerimtnekidkhuntngaetinpakkxnthixaharcatklngthungkraephaaxahar sarkhaechux khwamechuxxyanghnungekiywkbnalaywa nalaymisarkhaechuxxyutamthrrmchati sungthaihphukhnthiechuxnaipsu kareliyaephltwexng khnankwicycakmhawithyalyflxridainemuxngidkhnphbwa mioprtinchnidhnungeriykwa NGF innalaykhxnghnuthdlxng badaephlthiich NGF rksasamarthfuntwiderwkwaaephlthiimidichepnsxngetha nnhmaykhwamwanalaysamarthchwyrksaaephlidinstwbangchnid xyangirktamimmikartrwcphb NGF innalaykhxngmnusy aetmisarybyngaebkhthieriyxyangxunechn Immunoglobulin A IgA Lactoferrin aela Lactoperoxidase singniaesdngwakareliyaephlkhxngmnusyimsamarthkhaechuxorkhid aetkareliynnxacchwykhcdsingskprkhruxchwykacdesllthitidechuxidodytrngcakkareliypdxxkip dngnnkareliycungxacepnwithihnungkhxngkarthakhwamsaxadkhxngmnusyhruxstw sungxacepnpraoychnthaimminabrisuththiihich pakkhxngstw rwmthngmnusy epnthixyuxasykhxngaebkhthieriyhlaychnid sungbangchnidepnculchiphkxorkh Pathogen karkdkhxngstwcungtxngrksadwyyaptichiwnaephuxpxngknkhwamesiyngkhxngphawaeluxdepnphis Septicemia emuxerw ni nkwicyklumhnungidphbwanalaykhxngstwpiksamarthichepntwchiwdorkhikhhwdnkiddikwamulkhxngmnkarkratunaelakarphlitnalaytxwnkarphlitnalaysamarththukkratunidthngcakrabbprasathsimphaethtik Sympathetic Nervous System aelarabbprasathpharasimphaethtik Parasympathetic Nervous System nalaythithukkratunodyprasathsimphaethtikcakhnehniywmakkwacakprasathpharasimphaethtik pccubnnikyngmikhwamehnthiimtrngknineruxngprimankhxngkarphlitnalaytxwnkhxngbukhkhlphumisukhphaphdi thukwnnieraechuxknwakhnhnungkhncamikarphlitnalayodyechliypraman 0 75 litrtxwn sungnxykwakhrunghnungkhxngkarphlitnalayinsphawapktiinxtra 1 1 5 litrtxwn nnkhux 20 millilitrtxchwomnginewlapktiaela 250 millilitrinsphawathukkratun inkhnahlbkarphlitnalayaethbcaldlngehluxsunyswnprakxbinnalayprakxbdwy na 99 5 xielkothrilt osediym 2 21 milliomltxlitr nxykwaphlasmakhxngeluxd ophaethsesiym 10 36 milliomltxlitr makkwaphlasmakhxngeluxd aekhlesiym 1 2 2 8 milliomltxlitr aemkniesiym 0 08 0 5 milliomltxlitr sarprakxbkhlxird 5 40 milliomltxlitr nxykwaphlasmakhxngeluxd sarprakxb 25 milliomltxlitr makkwaphlasmakhxngeluxd sarprakxbfxseft 1 4 39 milliomltxlitr emuxk Mucus swnhlkprakxbdwy Mucopolysaccharides iklokhoprtin Glycoprotein sarybyngaebkhthieriy echn sarprakxb Thiocyanate Immunoglobulin A IgA ihodrecnephxrxxkisd Hydrogen peroxide exnism misamchnidepnhlk aexlfa a amylase thanganthikha pH ethakb 7 4 Lysozyme chwythaihaebkhthieriyslaytw inpak Lingual lipase thanganthikha pH praman 4 0 sungexnismchnidnicayngimthangancnkwaxaharcathuksngipyngkraephaaxaharaelw esll thngesllkhxngmnusy 8 lanesll aelaesllaebkhthieriy 500 laneslltxmillilitr sungphlphlitkhxngaebkhthieriycathukplxypnkbnalay xnepnsaehtukhxngxakar Halitosis ssarchnidihmthiephingkhnphb ichsahrbbrrethaxakarpwdxangxingsuxdansrirwithyakhxng MCG 6 6ch4 s6ch4 6 xngkvs Marcone M F 2005 Characterization of the edible bird s nest the Caviar of the East Food Research International 38 1125 1134 doi 10 1016 j foodres 2005 02 008 Abstract retrieved 12 Nov 2007 2010 03 16 thi ewyaebkaemchchin Maton Anthea 1993 Human Biology and Health Englewood Cliffs New Jersey USA Prentice Hall ISBN 0 13 981176 1 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 02 03 subkhnemux 2008 06 01 Saliva swabs for bird flu virus more effective than faecal samples German Press Agency December 11 2006 Retrieved 13 November 2007 2011 06 28 thi ewyaebkaemchchin suxdansrirwithyakhxng MCG 6 6ch4 s6ch4 7 xngkvs Andy Coghlan November 13 2006 Natural born painkiller found in human saliva