ควาร์ก (อังกฤษ: quark อ่านว่า /kwɔrk/ หรือ /kwɑrk/) คืออนุภาคมูลฐานและเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของสสาร ควาร์กมากกว่าหนึ่งตัวเมื่อรวมตัวกันจะเป็นอีกอนุภาคหนึ่งที่เรียกว่าแฮดรอน (อังกฤษ: hadron) ส่วนที่เสถียรที่สุดของแฮดรอนสองลำดับแรกคือโปรตอนและนิวตรอน ซึ่งทั้งคู่เป็นส่วนประกอบสำคัญของนิวเคลียสของอะตอม เนื่องจากปรากฏการณ์ที่เรียกว่า Color Confinement ควาร์กจึงไม่สามารถสังเกตได้โดยตรงหรือพบตามลำพังได้ มันสามารถพบได้ภายในแฮดรอนเท่านั้น เช่น แบริออน (ซึ่งโปรตอนและนิวตรอนเป็นตัวอย่าง) และภายใน เมซอน (มี'ซอน หรือเมซ'ซัน เป็นอนุภาคที่มีมวลระหว่างอิเล็กตรอนกับโปรตรอน มีประจุเป็นกลาง หรือเป็นบวกหรือลบ มีค่าสปิน) ด้วยเหตุผลนี้ สิ่งที่เรารู้จำนวนมากเกี่ยวกับควาร์กจึงได้มาจากการสังเกตที่ตัวแฮดรอนเอง
อนุภาคมูลฐาน | |
ชั่วรุ่น | ที่หนึ่ง, ที่สอง, ที่สาม |
อันตรกิริยาพื้นฐาน | แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงโน้มถ่วง, แรงเข้ม, แรงอ่อน |
สัญลักษณ์ | q |
ปฏิยานุภาค | ปฏิควาร์ก (q) |
ทฤษฎีโดย | (1964) (1964) |
ค้นพบโดย | (~1968) |
จำนวนชนิด | 6 (, , , , , and ) |
ประจุไฟฟ้า | +23 , −13 e |
Yes | |
สปิน | 12 |
13 |
ควาร์กมีอยู่ 6 ชนิด เรียกว่า 6 สายพันธุ์ หรือ flavour ได้แก่ อัพ (up), ดาวน์ (down), ชาร์ม (charm), สเตรนจ์ (strange), ท็อป (top), และ บอตทอม (bottom) อัพควาร์กและดาวน์ควาร์กเป็นแบบที่มีมวลต่ำที่สุดในบรรดาควาร์กทั้งหมด ควาร์กที่หนักกว่าจะเปลี่ยนแปลงมาเป็นควาร์กแบบอัพและดาวน์อย่างรวดเร็วโดยผ่านกระบวนการ (อังกฤษ: particle decay) ซึ่งเป็นกระบวนการเปลี่ยนสถานะของอนุภาคที่มีมวลมากกว่ามาเป็นสถานะที่มีมวลน้อยกว่า ด้วยเหตุนี้ อัพควาร์กและดาวน์ควาร์กจึงเป็นชนิดที่เสถียร และพบได้ทั่วไปมากที่สุดในเอกภพ ขณะที่ควาร์กแบบชาร์ม สเตรนจ์ ทอป และบอตทอม จะเกิดขึ้นได้ก็จากการชนที่มีพลังงานสูงเท่านั้น (เช่นที่อยู่ในรังสีคอสมิกและในเครื่องเร่งอนุภาค)
ควาร์กมีคุณสมบัติในตัวหลายประการ ซึ่งรวมถึงประจุไฟฟ้า สปิน และมวล ควาร์กเป็นอนุภาคมูลฐานเพียงชนิดเดียวในแบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์อนุภาคที่สามารถมีปฏิกิริยากับแรงพื้นฐานได้ครบหมดทั้ง 4 ชนิด (คือ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า, แรงโน้มถ่วง, อันตรกิริยาอย่างเข้ม และอันตรกิริยาอย่างอ่อน) รวมถึงยังเป็นอนุภาคเพียงชนิดเดียวเท่าที่รู้จักซึ่งมีประจุไฟฟ้าที่ไม่ใช่ตัวเลขจำนวนเต็มคูณกับ ทุกๆ สายพันธ์ของควาร์กจะมีคู่ปฏิยานุภาค เรียกชื่อว่า ปฏิควาร์ก ซึ่งมีความแตกต่างกับควาร์กแค่เพียงคุณสมบัติบางส่วนที่มีค่าทางขนาดเท่ากันแต่มีสัญลักษณ์ตรงกันข้าม
มีการนำเสนอจากนักฟิสิกส์ 2 คนโดยแยกกัน คือ และ ในปี ค.ศ. 1964 ซึ่งเสนอว่าควาร์กเป็นส่วนหนึ่งของรูปแบบของแฮดรอน มีหลักฐานที่แสดงถึงการมีอยู่จริงของพวกมันเพียงเล็กน้อยเท่านั้น จนกระทั่งมีการทดลองการกระจายแบบไม่ยืดหยุ่นแต่ลึก (อังกฤษ: Deep inelastic scattering) ที่ห้องทดลองการเร่งอนุภาคแห่งชาติ SLAC (SLAC National Accelerator Laboratory) ในปี ค.ศ. 1968 เริ่มมีการสังเกตเฟลเวอร์ทั้งหกของควาร์กจากการทดลองเร่งอนุภาคในครั้งนั้น ควาร์กแบบทอป ซึ่งสังเกตพบครั้งแรกที่ เฟอร์มิแล็บ ในปี ค.ศ. 1995 นับเป็นเฟลเวอร์ที่ถูกค้นพบเป็นลำดับสุดท้าย
การจัดประเภท
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
แบบจำลองมาตรฐานเป็นกรอบการทำงานในทางทฤษฎีใช้เพื่ออธิบายถึงอนุภาคมูลฐานทั้งหมดที่รู้จักกันในปัจจุบัน ซึ่งรวมถึงอนุภาคที่ยังไม่อาจสังเกตพบ คือ อนุภาคฮิกส์ ด้วย แบบจำลองนี้มีควาร์กทั้ง 6 สายพันธ์ (อังกฤษ: flavour) ชื่อว่า อัพ (u), ดาวน์ (d), ชาร์ม (c), สเตรนจ์ (s), ทอป (t), และบอตทอม (b)ปฏิยานุภาคของควาร์กเรียกว่า ปฏิควาร์ก แสดงด้วยสัญลักษณ์ขีดบนอยู่เหนือตัวอักษรของควาร์ก เช่น อัพปฏิควาร์ก มีสัญลักษณ์ว่า u แสดงถึงปฏิควาร์กของอัพ ปฏิควาร์กมีลักษณะเหมือนกับปฏิสสารโดยทั่วไป คือมีมวลที่เท่ากัน ช่วงชีวิตเฉลี่ยเท่ากัน และมีสปินเหมือนกันกับควาร์กคู่ของมัน แต่มีประจุไฟฟ้ากับประจุอื่นๆ ในสัญลักษณ์ที่ตรงกันข้าม
ควาร์กเป็นอนุภาคที่มีสปิน spin-12 หมายความว่า มันเป็นเฟอร์มิออนตาม (spin-statistics theorem) มีลักษณะตามหลักการกีดกันของเพาลีซึ่งระบุว่า ไม่มีเฟอร์มิออนที่เหมือนกันสองตัวใดๆ จะสามารถมีเดียวกันได้ ซึ่งตรงกันข้ามกับโบซอน (อนุภาคที่มีสปินเป็นเลขจำนวนเต็ม) ที่สามารถมีหลายตัวอยู่ในสถานะเดียวกันได้ ส่วนที่แตกต่างจากเลปตอน คือ ควาร์กมี อันเป็นเหตุให้มันสามารถเข้าร่วมในอันตรกิริยาอย่างเข้มได้ ผลจากความดึงดูดระหว่างควาร์กที่แตกต่างกันสองตัว ทำให้เกิดการรวมตัวกันเป็นอนุภาคประกอบที่รู้จักกันในชื่อ แฮดรอน (ดูหัวข้อ "อันตรกิริยาอย่างเข้มกับประจุสี" ด้านล่าง)
คุณสมบัติ
ประจุไฟฟ้า
ควาร์กมีค่าประจุไฟฟ้าเป็นเศษส่วน คือ −13 or +23 ของขนาดขึ้นกับว่าเป็นเฟลเวอร์อะไร ถ้าเป็นควาร์กแบบอัพ ชาร์ม และท็อป (รวมๆ กันมักเรียกว่า "ควาร์กประเภทอัพ") จะมีประจุ +23 ขณะที่ควาร์กแบบดาวน์ สเตรนจ์ และบ็อททอม ("ควาร์กประเภทดาวน์") จะมีประจุ −13 ปฏิควาร์กจะมีประจุตรงกันข้ามกับควาร์กที่เป็นคู่ของมัน คือ ปฏิควาร์กประเภทอัพมีประจุ −23 และปฏิควาร์กประเภทดาวน์มีประจุ +13 ในเมื่อประจุไฟฟ้าของแฮดรอนนั้นเป็นผลรวมของประจุของควาร์กทั้งหมดที่เป็นส่วนประกอบ ดังนั้นแฮดรอนทั้งหมดจึงมีประจุเป็นจำนวนเต็ม ส่วนประสมของควาร์ก 3 ตัว (แบริออน), ปฏิควาร์ก 3 ตัว (ปฏิแบริออน) หรือควาร์กและปฏิควาร์ก 1 ตัว (เมซอน) ก็มีค่าประจุเป็นจำนวนเต็มเสมอ ยกตัวอย่างเช่น ส่วนประกอบนิวเคลียสอะตอมของแฮดรอนประกอบด้วยนิวตรอนและโปรตอน มีประจุ 0 และ +1 ตามลำดับ โดยที่นิวตรอนประกอบด้วยดาวน์ควาร์ก 2 ตัวและอัพควาร์ก 1 ตัว ส่วนโปรตอนประกอบด้วยอัพควาร์ก 2 ตัวและดาว์นควาร์ก 1 ตัว
สปิน
สปิน คือคุณสมบัติภายในของอนุภาคพื้นฐาน ทิศทางของสปินเป็นที่มีความสำคัญ ในบางครั้งอาจมองภาพเป็นการหมุนของวัตถุรอบแกนของมันเองก็ได้ (ซึ่งเป็นที่มาของคำว่า สปิน ที่หมายถึง การปั่น) แม้จะเป็นการชี้นำที่ผิดไปบ้างในระดับของอนุภาคย่อยของอะตอมเนื่องจากเชื่อกันว่าอนุภาคพื้นฐานนั้นมีลักษณะเป็นจุด
เราสามารถแสดงสปินได้ด้วยเวกเตอร์ซึ่งมีความยาววัดได้ในหน่วยของค่าคงที่ของพลังค์แบบย่อ ħ (อ่านว่า "เอชบาร์") สำหรับควาร์กนั้น การวัดองค์ประกอบเวกเตอร์ของสปินในแกนใดๆ จะได้ค่าออกมาเป็น +ħ/2 หรือ −ħ/2 อย่างใดอย่างหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ ควาร์กจึงจัดว่าเป็นอนุภาค องค์ประกอบของสปินตามแกนที่กำหนด (เรียกว่าแกน z) มักย่อด้วยรูปลูกศรชี้ขึ้น ↑ สำหรับค่า +12 และลูกศรชี้ลง ↓ สำหรับค่า −12 โดยวางไว้ที่ด้านหลังสัญลักษณ์ของเฟลเวอร์ ตัวอย่างเช่น อัพควาร์กที่มีสปิน +12 ตามแกน z จะเขียนย่อว่า u↑.
อันตรกิริยาอย่างอ่อน
ควาร์กที่มีเฟลเวอร์แบบหนึ่งสามารถเปลี่ยนรูปไปเป็นควาร์กของเฟลเวอร์อีกแบบหนึ่งได้ก็โดยผ่านอันตรกิริยาอย่างอ่อน ซึ่งเป็นอันตรกิริยาพื้นฐานชนิดหนึ่งในจำนวนสี่ชนิดของฟิสิกส์อนุภาค ทั้งนี้โดยการดูดซับหรือแผ่ ทำให้ควาร์กประเภทอัพ (อัพ ชาร์ม และทอปควาร์ก) สามารถเปลี่ยนไปเป็นควาร์กประเภทดาวน์ (ดาวน์ สเตรนจ์ และบอททอม) ได้ ในทางกลับกันก็เช่นเดียวกัน กลไกการเปลี่ยนรูปของเฟลเวอร์นี้ทำให้เกิดกระบวนการแผ่รังสีที่ทำให้เกิดการสลายให้อนุภาคบีตา ซึ่งนิวตรอน (n) 1 ตัวจะแบ่งตัวกลายเป็นโปรตอน (p) 1 ตัว อิเล็กตรอน (e-) 1 ตัว และ (Ve) 1 ตัว (ดูภาพประกอบ) สิ่งนี้จะเกิดขึ้นเมื่อดาวน์ควาร์กตัวหนึ่งในนิวตรอนอัพดาวน์ดาวน์ เสื่อมสลายลงเป็นอัพควาร์กโดยการแผ่อนุภาคเสมือนของ W- โบซอน เปลี่ยนให้นิวตรอนกลายไปเป็นโปรตอนอัพอัพดาวน์ จากนั้น W- โบซอน นี้จะเสื่อมสลายไปเป็นอิเล็กตรอน 1 ตัวกับอิเล็กตรอนปฏินิวตริโน 1 ตัว
n | → | p | + | e- | + | Ve | (การสลายให้อนุภาคบึตา, สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายของแฮดรอน) |
udd | → | uud | + | e- | + | Ve | (การสลายให้อนุภาคบึตา, สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายของควาร์ก) |
การสลายให้อนุภาคบีตาทั้ง 2 แบบนี้ รวมถึงการกระบวนการย้อนกลับ มักมีการใช้อย่างสม่ำเสมอในทางการแพทย์ เช่น การตรวจเอกซ์เรย์ด้วยโพสิตรอน (PET) และในการทดลองฟิสิกส์พลังงานสูง เช่น
ขณะที่กระบวนการเปลี่ยนรูปเฟลเวอร์นี้เกิดขึ้นเหมือนๆ กันในควาร์กทุกชนิด ควาร์กแต่ละตัวก็มีแนวโน้มจะเปลี่ยนรูปไปเป็นควาร์กในตระกูลเดียวกันกับตัวเอง แนวโน้มความสัมพันธ์ในการเปลี่ยนรูปของเฟลเวอร์เหล่านี้เขียนได้ในรูปแบบตารางเมทริกซ์ เรียกว่า (CKM matrix) ค่าโดยประมาณของค่าต่างๆ ใน CKM matrix เป็นดังนี้
โดยที่ Vij แทนแนวโน้มของควาร์กที่มีเฟลเวอร์ i ที่จะเปลี่ยนไปเป็นควาร์กแบบเฟลเวอร์ j (หรือในทางกลับกัน)
มีตารางเมทริกซ์อันตรกิริยาอย่างอ่อนที่เทียบเท่ากันนี้สำหรับเลปตอน (อยู่ทางขวาของ W โบซอน ในไดอะแกรมการสลายอนุภาคบีตาที่แสดงไว้ข้างบน) เรียกว่า (PMNS matrix) ทั้งเมทริกซ์ CKM และ PMNS ล้วนอธิบายถึงการเปลี่ยนรูปของเฟลเวอร์ แต่ความเชื่อมโยงระหว่างเมทริกซ์ทั้งสองนี้ยังไม่เป็นที่เข้าใจชัดเจน
หมายเหตุ
- นับถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2010
- ความน่าจะเป็นที่แท้จริงของการสลายอนุภาคของควาร์กตัวหนึ่งไปเป็นอีกตัวหนึ่งนั้นเป็นฟังก์ชันที่ซับซ้อนของมวลของควาร์กที่กำลังสลายตัว มวลของผลผลิตจากการเสื่อมสลาย อนุภาคที่เกี่ยวเนื่องกันใน CKM matrix กับตัวแปรอื่นๆ อีกหลายตัว ความน่าจะเป็นนี้เป็นสัดส่วนที่แปรผันโดยตรง (แต่ไม่เท่ากัน) กับขนาดกำลังสอง (|Vij|2) ของจำนวนใน CKM ที่สัมพันธ์กัน
อ้างอิง
- "Quark (subatomic particle)". Encyclopædia Britannica. Retrieved 2008-06-29.
- R. Nave. "Confinement of Quarks". HyperPhysics. Georgia State University, Department of Physics and Astronomy. Retrieved 2008-06-29.
- R. Nave. "Bag Model of Quark Confinement". HyperPhysics. Georgia State University, Department of Physics and Astronomy. Retrieved 2008-06-29
- R. Nave. "Quarks". HyperPhysics. Georgia State University, Department of Physics and Astronomy. สืบค้นเมื่อ 2008-06-29.
- B. Carithers, P. Grannis (1995). "Discovery of the Top Quark" (PDF). Beam Line. SLAC. 25 (3): 4–16. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
- E. D. Bloom; และคณะ (1969). "High-Energy Inelastic e–p Scattering at 6° and 10°". . 23 (16): 930–934. Bibcode:1969PhRvL..23..930B. doi:10.1103/PhysRevLett.23.930.
- M. Breidenbach; และคณะ (1969). "Observed Behavior of Highly Inelastic Electron–Proton Scattering". . 23 (16): 935–939. Bibcode:1969PhRvL..23..935B. doi:10.1103/PhysRevLett.23.935. 1444731. S2CID 2575595.
- C. Amsler et al. () (2008). "Higgs Bosons: Theory and Searches" (PDF). Physics Letters B. 667 (1): 1–1340. doi:10.1016/j.physletb.2008.07.018.
- S.S.M. Wong (1998). Introductory Nuclear Physics (2nd ed.). Wiley Interscience. p. 30. ISBN .
- K.A. Peacock (2008). The Quantum Revolution. Greenwood Publishing Group. p. 125. ISBN .
- G. Fraser (2006). The New Physics for the Twenty-First Century. Cambridge University Press. p. 91. ISBN .
- M. Munowitz (2005). Knowing. . p. 35. ISBN .
- "The Standard Model of Particle Physics". BBC. 2002. สืบค้นเมื่อ 2009-04-19.
- F. Close (2006). The New Cosmic Onion. CRC Press. pp. 80–90. ISBN .
- D. Lincoln (2004). Understanding the Universe. World Scientific. p. 116. ISBN .
- . Virtual Visitor Center. Stanford Linear Accelerator Center. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-11-23. สืบค้นเมื่อ 2008-09-28.
- K. Nakamura; และคณะ () (2010). "Review of Particles Physics: The CKM Quark-Mixing Matrix" (PDF). . 37 (7A): 075021. Bibcode:2010JPhG...37g5021N. doi:10.1088/0954-3899/37/7A/075021.
- Z. Maki, M. Nakagawa, S. Sakata (1962). . Progress of Theoretical Physics. 28 (5): 870. Bibcode:1962PThPh..28..870M. doi:10.1143/PTP.28.870. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-09. สืบค้นเมื่อ 2011-09-04.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - B.C. Chauhan, M. Picariello, J. Pulido, E. Torrente-Lujan (2007). "Quark–lepton complementarity, neutrino and standard model data predict θPMNS
13 = 9+1
−2 °". European Physical Journal. C50 (3): 573–578. :hep-ph/0605032. Bibcode:2007EPJC...50..573C. doi:10.1140/epjc/s10052-007-0212-z.{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
หนังสืออ่านเพิ่ม
- D.J. Griffiths (2008). Introduction to Elementary Particles (2nd ed.). Wiley–VCH. ISBN .
- I.S. Hughes (1985). Elementary particles (2nd ed.). Cambridge University Press. ISBN .
- R. Oerter (2005). The Theory of Almost Everything: The Standard Model, the Unsung Triumph of Modern Physics. Pi Press. ISBN .
- A. Pickering (1984). Constructing Quarks: A Sociological History of Particle Physics. The University of Chicago Press. ISBN .
- B. Povh (1995). Particles and Nuclei: An Introduction to the Physical Concepts. Springer–Verlag. ISBN .
- M. Riordan (1987). The Hunting of the Quark: A true story of modern physics. Simon & Schuster. ISBN .
- B.A. Schumm (2004). Deep Down Things: The Breathtaking Beauty of Particle Physics. Johns Hopkins University Press. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- 1969 Physics Nobel Prize lecture by Murray Gell-Mann
- 1976 Physics Nobel Prize lecture by Burton Richter
- 1976 Physics Nobel Prize lecture by Samuel C.C. Ting
- 2008 Physics Nobel Prize lecture by Makoto Kobayashi
- 2008 Physics Nobel Prize lecture by Toshihide Maskawa
- The Top Quark And The Higgs Particle by T.A. Heppenheimer – A description of CERN's experiment to count the families of quarks.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwark xngkvs quark xanwa kwɔrk hrux kwɑrk khuxxnuphakhmulthanaelaepnswnprakxbphunthankhxngssar khwarkmakkwahnungtwemuxrwmtwkncaepnxikxnuphakhhnungthieriykwaaehdrxn xngkvs hadron swnthiesthiyrthisudkhxngaehdrxnsxngladbaerkkhuxoprtxnaelaniwtrxn sungthngkhuepnswnprakxbsakhykhxngniwekhliyskhxngxatxm enuxngcakpraktkarnthieriykwa Color Confinement khwarkcungimsamarthsngektidodytrnghruxphbtamlaphngid mnsamarthphbidphayinaehdrxnethann echn aebrixxn sungoprtxnaelaniwtrxnepntwxyang aelaphayin emsxn mi sxn hruxems sn epnxnuphakhthimimwlrahwangxielktrxnkboprtrxn mipracuepnklang hruxepnbwkhruxlb mikhaspin dwyehtuphlni singthierarucanwnmakekiywkbkhwarkcungidmacakkarsngektthitwaehdrxnexngkhwarkoprtxn sungepnxnuphakhmulthankhxngxatxm prakxbipdwyxphkhwarksxngtw sinaenginaelaaedng kbdawnkhwarkxikhnungtw siekhiyw aela kluxxn rupspringthiepnkhnklangephuxiklekliyaerngthi yudehniyw phwkmnekhadwykn karkahndsikhxngaetlakhwarkepnxyangirkid aetthngsamsitxngpraktxnuphakhmulthanchwrunthihnung thisxng thisamxntrkiriyaphunthanaerngaemehlkiffa aerngonmthwng aerngekhm aerngxxnsylksnqptiyanuphakhptikhwark q thvsdiody 1964 1964 khnphbody 1968 canwnchnid6 and pracuiffa 2 3 1 3 eYesspin1 21 3 khwarkmixyu 6 chnid eriykwa 6 sayphnthu hrux flavour idaek xph up dawn down charm charm setrnc strange thxp top aela bxtthxm bottom xphkhwarkaeladawnkhwarkepnaebbthimimwltathisudinbrrdakhwarkthnghmd khwarkthihnkkwacaepliynaeplngmaepnkhwarkaebbxphaeladawnxyangrwderwodyphankrabwnkar xngkvs particle decay sungepnkrabwnkarepliynsthanakhxngxnuphakhthimimwlmakkwamaepnsthanathimimwlnxykwa dwyehtuni xphkhwarkaeladawnkhwarkcungepnchnidthiesthiyr aelaphbidthwipmakthisudinexkphph khnathikhwarkaebbcharm setrnc thxp aelabxtthxm caekidkhunidkcakkarchnthimiphlngngansungethann echnthixyuinrngsikhxsmikaelainekhruxngerngxnuphakh khwarkmikhunsmbtiintwhlayprakar sungrwmthungpracuiffa spin aelamwl khwarkepnxnuphakhmulthanephiyngchnidediywinaebbcalxngmatrthankhxngfisiksxnuphakhthisamarthmiptikiriyakbaerngphunthanidkhrbhmdthng 4 chnid khux aerngaemehlkiffa aerngonmthwng xntrkiriyaxyangekhm aelaxntrkiriyaxyangxxn rwmthungyngepnxnuphakhephiyngchnidediywethathirucksungmipracuiffathiimichtwelkhcanwnetmkhunkb thuk sayphnthkhxngkhwarkcamikhuptiyanuphakh eriykchuxwa ptikhwark sungmikhwamaetktangkbkhwarkaekhephiyngkhunsmbtibangswnthimikhathangkhnadethaknaetmisylksntrngknkham mikarnaesnxcaknkfisiks 2 khnodyaeykkn khux aela inpi kh s 1964 sungesnxwakhwarkepnswnhnungkhxngrupaebbkhxngaehdrxn mihlkthanthiaesdngthungkarmixyucringkhxngphwkmnephiyngelknxyethann cnkrathngmikarthdlxngkarkracayaebbimyudhyunaetluk xngkvs Deep inelastic scattering thihxngthdlxngkarerngxnuphakhaehngchati SLAC SLAC National Accelerator Laboratory inpi kh s 1968 erimmikarsngekteflewxrthnghkkhxngkhwarkcakkarthdlxngerngxnuphakhinkhrngnn khwarkaebbthxp sungsngektphbkhrngaerkthi efxrmiaelb inpi kh s 1995 nbepneflewxrthithukkhnphbepnladbsudthaykarcdpraephthswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid xnuphakh 6 chnidinaebbcalxngmatrthanepnkhwark aesdngdwysimwng samkhxlmnaerkkhxngtarangeriykwaepn khxngssar aebbcalxngmatrthanepnkrxbkarthanganinthangthvsdiichephuxxthibaythungxnuphakhmulthanthnghmdthiruckkninpccubn sungrwmthungxnuphakhthiyngimxacsngektphb khux xnuphakhhiks dwy aebbcalxngnimikhwarkthng 6 sayphnth xngkvs flavour chuxwa xph u dawn d charm c setrnc s thxp t aelabxtthxm b ptiyanuphakhkhxngkhwarkeriykwa ptikhwark aesdngdwysylksnkhidbnxyuehnuxtwxksrkhxngkhwark echn xphptikhwark misylksnwa u aesdngthungptikhwarkkhxngxph ptikhwarkmilksnaehmuxnkbptissarodythwip khuxmimwlthiethakn chwngchiwitechliyethakn aelamispinehmuxnknkbkhwarkkhukhxngmn aetmipracuiffakbpracuxun insylksnthitrngknkham khwarkepnxnuphakhthimispin spin 1 2 hmaykhwamwa mnepnefxrmixxntam spin statistics theorem milksnatamhlkkarkidknkhxngephalisungrabuwa immiefxrmixxnthiehmuxnknsxngtwid casamarthmiediywknid sungtrngknkhamkbobsxn xnuphakhthimispinepnelkhcanwnetm thisamarthmihlaytwxyuinsthanaediywknid swnthiaetktangcakelptxn khux khwarkmi xnepnehtuihmnsamarthekharwminxntrkiriyaxyangekhmid phlcakkhwamdungdudrahwangkhwarkthiaetktangknsxngtw thaihekidkarrwmtwknepnxnuphakhprakxbthiruckkninchux aehdrxn duhwkhx xntrkiriyaxyangekhmkbpracusi danlang khunsmbtipracuiffa khwarkmikhapracuiffaepnessswn khux 1 3 or 2 3 khxngkhnadkhunkbwaepneflewxrxair thaepnkhwarkaebbxph charm aelathxp rwm knmkeriykwa khwarkpraephthxph camipracu 2 3 khnathikhwarkaebbdawn setrnc aelabxththxm khwarkpraephthdawn camipracu 1 3 ptikhwarkcamipracutrngknkhamkbkhwarkthiepnkhukhxngmn khux ptikhwarkpraephthxphmipracu 2 3 aelaptikhwarkpraephthdawnmipracu 1 3 inemuxpracuiffakhxngaehdrxnnnepnphlrwmkhxngpracukhxngkhwarkthnghmdthiepnswnprakxb dngnnaehdrxnthnghmdcungmipracuepncanwnetm swnprasmkhxngkhwark 3 tw aebrixxn ptikhwark 3 tw ptiaebrixxn hruxkhwarkaelaptikhwark 1 tw emsxn kmikhapracuepncanwnetmesmx yktwxyangechn swnprakxbniwekhliysxatxmkhxngaehdrxnprakxbdwyniwtrxnaelaoprtxn mipracu 0 aela 1 tamladb odythiniwtrxnprakxbdwydawnkhwark 2 twaelaxphkhwark 1 tw swnoprtxnprakxbdwyxphkhwark 2 twaeladawnkhwark 1 tw spin spin khuxkhunsmbtiphayinkhxngxnuphakhphunthan thisthangkhxngspinepnthimikhwamsakhy inbangkhrngxacmxngphaphepnkarhmunkhxngwtthurxbaeknkhxngmnexngkid sungepnthimakhxngkhawa spin thihmaythung karpn aemcaepnkarchinathiphidipbanginradbkhxngxnuphakhyxykhxngxatxmenuxngcakechuxknwaxnuphakhphunthannnmilksnaepncud erasamarthaesdngspiniddwyewketxrsungmikhwamyawwdidinhnwykhxngkhakhngthikhxngphlngkhaebbyx ħ xanwa exchbar sahrbkhwarknn karwdxngkhprakxbewketxrkhxngspininaeknid caidkhaxxkmaepn ħ 2 hrux ħ 2 xyangidxyanghnung dwyehtuni khwarkcungcdwaepnxnuphakh xngkhprakxbkhxngspintamaeknthikahnd eriykwaaekn z mkyxdwyrupluksrchikhun sahrbkha 1 2 aelaluksrchilng sahrbkha 1 2 odywangiwthidanhlngsylksnkhxngeflewxr twxyangechn xphkhwarkthimispin 1 2 tamaekn z caekhiynyxwa u xntrkiriyaxyangxxn khxngkarslayihxnuphakhbitaodythiaeknewlachikhundanbn sung CKM matrix dukhaxthibaykhanglang epntwekharhskhwamnacaepnkhxngehtukarnni rwmthungkarslaytwkhxngkhwarkaebbxun khwarkthimieflewxraebbhnungsamarthepliynrupipepnkhwarkkhxngeflewxrxikaebbhnungidkodyphanxntrkiriyaxyangxxn sungepnxntrkiriyaphunthanchnidhnungincanwnsichnidkhxngfisiksxnuphakh thngniodykardudsbhruxaeph thaihkhwarkpraephthxph xph charm aelathxpkhwark samarthepliynipepnkhwarkpraephthdawn dawn setrnc aelabxththxm id inthangklbknkechnediywkn klikkarepliynrupkhxngeflewxrnithaihekidkrabwnkaraephrngsithithaihekidkarslayihxnuphakhbita sungniwtrxn n 1 twcaaebngtwklayepnoprtxn p 1 tw xielktrxn e 1 tw aela V e 1 tw duphaphprakxb singnicaekidkhunemuxdawnkhwarktwhnunginniwtrxnxphdawndawn esuxmslaylngepnxphkhwarkodykaraephxnuphakhesmuxnkhxng W obsxn epliynihniwtrxnklayipepnoprtxnxphxphdawn caknn W obsxn nicaesuxmslayipepnxielktrxn 1 twkbxielktrxnptiniwtrion 1 tw n p e V e karslayihxnuphakhbuta sylksnthiichaethnkhwamhmaykhxngaehdrxn udd uud e V e karslayihxnuphakhbuta sylksnthiichaethnkhwamhmaykhxngkhwark karslayihxnuphakhbitathng 2 aebbni rwmthungkarkrabwnkaryxnklb mkmikarichxyangsmaesmxinthangkaraephthy echn kartrwcexkserydwyophsitrxn PET aelainkarthdlxngfisiksphlngngansung echn phaphaesdngkhxngxntrkiriyaxyangxxnrahwangkhwarkthnghk khwamekhm khxngesnthukniyamkhunodyxngkhprakxbkhxng khnathikrabwnkarepliynrupeflewxrniekidkhunehmuxn kninkhwarkthukchnid khwarkaetlatwkmiaenwonmcaepliynrupipepnkhwarkintrakulediywknkbtwexng aenwonmkhwamsmphnthinkarepliynrupkhxngeflewxrehlaniekhiynidinrupaebbtarangemthriks eriykwa CKM matrix khaodypramankhxngkhatang in CKM matrix epndngni Vud Vus Vub Vcd Vcs Vcb Vtd Vts Vtb 0 9740 2250 0030 2250 9730 0410 0090 0400 999 displaystyle begin bmatrix V mathrm ud amp V mathrm us amp V mathrm ub V mathrm cd amp V mathrm cs amp V mathrm cb V mathrm td amp V mathrm ts amp V mathrm tb end bmatrix approx begin bmatrix 0 974 amp 0 225 amp 0 003 0 225 amp 0 973 amp 0 041 0 009 amp 0 040 amp 0 999 end bmatrix odythi Vij aethnaenwonmkhxngkhwarkthimieflewxr i thicaepliynipepnkhwarkaebbeflewxr j hruxinthangklbkn mitarangemthriksxntrkiriyaxyangxxnthiethiybethaknnisahrbelptxn xyuthangkhwakhxng W obsxn inidxaaekrmkarslayxnuphakhbitathiaesdngiwkhangbn eriykwa PMNS matrix thngemthriks CKM aela PMNS lwnxthibaythungkarepliynrupkhxngeflewxr aetkhwamechuxmoyngrahwangemthriksthngsxngniyngimepnthiekhaicchdecnhmayehtunbthungeduxnsinghakhm kh s 2010 khwamnacaepnthiaethcringkhxngkarslayxnuphakhkhxngkhwarktwhnungipepnxiktwhnungnnepnfngkchnthisbsxnkhxngmwlkhxngkhwarkthikalngslaytw mwlkhxngphlphlitcakkaresuxmslay xnuphakhthiekiywenuxngknin CKM matrix kbtwaeprxun xikhlaytw khwamnacaepnniepnsdswnthiaeprphnodytrng aetimethakn kbkhnadkalngsxng Vij 2 khxngcanwnin CKM thismphnthknxangxing Quark subatomic particle Encyclopaedia Britannica Retrieved 2008 06 29 R Nave Confinement of Quarks HyperPhysics Georgia State University Department of Physics and Astronomy Retrieved 2008 06 29 R Nave Bag Model of Quark Confinement HyperPhysics Georgia State University Department of Physics and Astronomy Retrieved 2008 06 29 R Nave Quarks HyperPhysics Georgia State University Department of Physics and Astronomy subkhnemux 2008 06 29 B Carithers P Grannis 1995 Discovery of the Top Quark PDF Beam Line SLAC 25 3 4 16 subkhnemux 2008 09 23 E D Bloom aelakhna 1969 High Energy Inelastic e p Scattering at 6 and 10 23 16 930 934 Bibcode 1969PhRvL 23 930B doi 10 1103 PhysRevLett 23 930 M Breidenbach aelakhna 1969 Observed Behavior of Highly Inelastic Electron Proton Scattering 23 16 935 939 Bibcode 1969PhRvL 23 935B doi 10 1103 PhysRevLett 23 935 1444731 S2CID 2575595 C Amsler et al 2008 Higgs Bosons Theory and Searches PDF Physics Letters B 667 1 1 1340 doi 10 1016 j physletb 2008 07 018 S S M Wong 1998 Introductory Nuclear Physics 2nd ed Wiley Interscience p 30 ISBN 0 471 23973 9 K A Peacock 2008 The Quantum Revolution Greenwood Publishing Group p 125 ISBN 031333448X G Fraser 2006 The New Physics for the Twenty First Century Cambridge University Press p 91 ISBN 0521816009 M Munowitz 2005 Knowing p 35 ISBN 978 0 19 516737 5 The Standard Model of Particle Physics BBC 2002 subkhnemux 2009 04 19 F Close 2006 The New Cosmic Onion CRC Press pp 80 90 ISBN 1584887982 D Lincoln 2004 Understanding the Universe World Scientific p 116 ISBN 9812387056 Virtual Visitor Center Stanford Linear Accelerator Center 2008 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 11 23 subkhnemux 2008 09 28 K Nakamura aelakhna 2010 Review of Particles Physics The CKM Quark Mixing Matrix PDF 37 7A 075021 Bibcode 2010JPhG 37g5021N doi 10 1088 0954 3899 37 7A 075021 Z Maki M Nakagawa S Sakata 1962 Progress of Theoretical Physics 28 5 870 Bibcode 1962PThPh 28 870M doi 10 1143 PTP 28 870 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 05 09 subkhnemux 2011 09 04 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk B C Chauhan M Picariello J Pulido E Torrente Lujan 2007 Quark lepton complementarity neutrino and standard model data predict 8PMNS 13 9 1 2 European Physical Journal C50 3 573 578 hep ph 0605032 Bibcode 2007EPJC 50 573C doi 10 1140 epjc s10052 007 0212 z a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk hnngsuxxanephimD J Griffiths 2008 Introduction to Elementary Particles 2nd ed Wiley VCH ISBN 3527406018 I S Hughes 1985 Elementary particles 2nd ed Cambridge University Press ISBN 0 521 26092 2 R Oerter 2005 The Theory of Almost Everything The Standard Model the Unsung Triumph of Modern Physics Pi Press ISBN 0132366789 A Pickering 1984 Constructing Quarks A Sociological History of Particle Physics The University of Chicago Press ISBN 0 226 66799 5 B Povh 1995 Particles and Nuclei An Introduction to the Physical Concepts Springer Verlag ISBN 0 387 59439 6 M Riordan 1987 The Hunting of the Quark A true story of modern physics Simon amp Schuster ISBN 0 671 64884 5 B A Schumm 2004 Deep Down Things The Breathtaking Beauty of Particle Physics Johns Hopkins University Press ISBN 0 8018 7971 X aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb khwark 1969 Physics Nobel Prize lecture by Murray Gell Mann 1976 Physics Nobel Prize lecture by Burton Richter 1976 Physics Nobel Prize lecture by Samuel C C Ting 2008 Physics Nobel Prize lecture by Makoto Kobayashi 2008 Physics Nobel Prize lecture by Toshihide Maskawa The Top Quark And The Higgs Particle by T A Heppenheimer A description of CERN s experiment to count the families of quarks bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk