อันตรกิริยาพื้นฐาน (อังกฤษ: fundamental interaction; บางครั้งก็เรียกว่า แรงพื้นฐาน) ในทางฟิสิกส์ คือวิธีการที่อนุภาคชนิดเรียบง่ายที่สุดในเอกภพกระทำต่อกันและกัน อันตรกิริยานั้นจะถือว่าเป็นอันตรกิริยาพื้นฐานเมื่อมันไม่สามารถอธิบายในรูปแบบอันตรกิริยาอื่นใดได้อีก
มีอันตรกิริยาพื้นฐานอยู่ 4 ชนิดที่เรารู้จัก ได้แก่ แรงแม่เหล็กไฟฟ้า อันตรกิริยาอย่างเข้ม อันตรกิริยาอย่างอ่อน (บางครั้งก็เรียกว่า แรงนิวเคลียร์ชนิดเข้ม กับ แรงนิวเคลียร์ชนิดอ่อน) และแรงโน้มถ่วง แรงสามชนิดแรกนั้นสามารถอธิบายได้ในรูปแบบของกระบวนการคำนวณต่างๆ ด้วยทฤษฎีที่เรียกชื่อว่า ทฤษฎีการรบกวนของกลศาสตร์ควอนตัม โดยการพิจารณาการแลกเปลี่ยนโบซอนระหว่างอนุภาค
ตารางต่อไปนี้แสดงข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับอันตรกิริยาแบบต่างๆ ค่าของแรงสัมพัทธ์และระยะที่มีผลที่แสดงในตารางนี้ จะมีความหมายก็ต่อเมื่ออยู่ในกรอบการพิจารณาทางทฤษฎีเท่านั้น พึงทราบด้วยว่าข้อมูลในตารางนี้อ้างอิงจากแนวคิดหลักซึ่งยังเป็นหัวข้อวิจัยที่กำลังดำเนินการอยู่
ในฟิสิกส์แผนใหม่ อันตรกิริยาระหว่างอนุภาคมักจะอธิบายได้ในรูปของการแลกเปลี่ยนหรือการคายและดูดกลืนแบบต่อเนื่องของอะไรบางอย่างที่เรียกอนุภาคสนาม (field particles) หรือ อนุภาคแลกเปลี่ยน (exchange particles) ในกรณีอันตรกิริยาไฟฟ้าอนุภาคสนามก็คือ โฟตอน (photon) ในภาษาของฟิสิกส์แผนใหม่เรากล่าวว่าแรงแม่เหล็กไฟฟ้ามีโฟตอนเป็นสื่อ (mediated) หรือพาหะ (carrier) และโฟตอนก็เป็นอนุภาคสนามของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เช่นกัน แรงนิวเคลียร์อย่างเข้มก็มีสื่อเรียก
กลูออน (gluons) (ที่มีชื่อเช่นนี้ เพราะมัน “ยึดติด” นิวคลีออนไว้ด้วยกันเหมือนกาว) แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อนมีอนุภาคสนามเป็นสื่อ ชื่อ W และ Z โบซอน (bosons) และแรงโน้มถ่วงมีอนุภาคสนามเป็นพาหะเรียก
แกรวิตอน (gravitons) อันตรกิริยาเหล่านี้ พิสัยและความเข้มสัมพัทธ์ของมัน
อันตรกิริยา | ทฤษฎีที่ใช้อธิบาย | ตัวกลาง | ความแรงสัมพัทธ์[ก] | พฤติกรรมที่ระยะไกล | ระยะได้รับผล (เมตร) |
---|---|---|---|---|---|
อันตรกิริยาอย่างเข้ม | (QCD) | กลูออน | 1038 | ≈ 10−15 | |
แม่เหล็กไฟฟ้า | (QED) | โฟตอน | 1036 | ∞ | |
อันตรกิริยาอย่างอ่อน | 1025 | < 10−15 | |||
ความโน้มถ่วง | ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (GR) | กราวิตอน (ยังไม่ค้นพบ) | 1 | ∞ |
เชิงอรรถ
- ก. ^ ความแรงสัมพัทธ์ (Relative strength) ดังกล่าวเป็นค่าโดยประมาณ เปรียบเทียบความแรงของอันตรกิริยาพื้นฐานชนิดต่าง ๆ เมื่อกำหนดให้แรงโน้มถ่วงมีค่าเป็น 1 (แรงที่แท้จริงเป็นไปตามอนุภาคและพลังงานที่เกี่ยวข้อง)
อ้างอิง
สำหรับผู้อ่านทั่วไป:
- (1986) The Forces of Nature, 2nd ed. Cambridge Univ. Press.
- ริชาร์ด ไฟน์แมน (1967) The Character of Physical Law. MIT Press.
- Schumm, Bruce A. (2004) Deep Down Things. Johns Hopkins University Press. While all interactions are discussed, especially thorough on the weak.
- (1993) The First Three Minutes: A Modern View of the Origin of the Universe. Basic Books.
- (1994) Dreams of a Final Theory. Vintage Books.
ตำรา:
- Padmanabhan, T. (1998) After The First Three Minutes: The Story of Our Universe. Cambridge Univ. Press.
- Perkins, Donald H. (2000) Introduction to High Energy Physics. Cambridge Univ. Press.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xntrkiriyaphunthan xngkvs fundamental interaction bangkhrngkeriykwa aerngphunthan inthangfisiks khuxwithikarthixnuphakhchnideriybngaythisudinexkphphkrathatxknaelakn xntrkiriyanncathuxwaepnxntrkiriyaphunthanemuxmnimsamarthxthibayinrupaebbxntrkiriyaxunididxik mixntrkiriyaphunthanxyu 4 chnidthieraruck idaek aerngaemehlkiffa xntrkiriyaxyangekhm xntrkiriyaxyangxxn bangkhrngkeriykwa aerngniwekhliyrchnidekhm kb aerngniwekhliyrchnidxxn aelaaerngonmthwng aerngsamchnidaerknnsamarthxthibayidinrupaebbkhxngkrabwnkarkhanwntang dwythvsdithieriykchuxwa thvsdikarrbkwnkhxngklsastrkhwxntm odykarphicarnakaraelkepliynobsxnrahwangxnuphakh tarangtxipniaesdngkhxmulebuxngtnekiywkbxntrkiriyaaebbtang khakhxngaerngsmphththaelarayathimiphlthiaesdngintarangni camikhwamhmayktxemuxxyuinkrxbkarphicarnathangthvsdiethann phungthrabdwywakhxmulintarangnixangxingcakaenwkhidhlksungyngepnhwkhxwicythikalngdaeninkarxyu infisiksaephnihm xntrkiriyarahwangxnuphakhmkcaxthibayidinrupkhxngkaraelkepliynhruxkarkhayaeladudklunaebbtxenuxngkhxngxairbangxyangthieriykxnuphakhsnam field particles hrux xnuphakhaelkepliyn exchange particles inkrnixntrkiriyaiffaxnuphakhsnamkkhux oftxn photon inphasakhxngfisiksaephnihmeraklawwaaerngaemehlkiffamioftxnepnsux mediated hruxphaha carrier aelaoftxnkepnxnuphakhsnamkhxngsnamaemehlkiffa echnkn aerngniwekhliyrxyangekhmkmisuxeriyk kluxxn gluons thimichuxechnni ephraamn yudtid niwkhlixxniwdwyknehmuxnkaw aerngniwekhliyrxyangxxnmixnuphakhsnamepnsux chux W aela Z obsxn bosons aelaaerngonmthwngmixnuphakhsnamepnphahaeriyk aekrwitxn gravitons xntrkiriyaehlani phisyaelakhwamekhmsmphththkhxngmnxntrkiriya thvsdithiichxthibay twklang khwamaerngsmphthth k phvtikrrmthirayaikl rayaidrbphl emtr xntrkiriyaxyangekhm QCD kluxxn 1038 1 displaystyle 1 10 15aemehlkiffa QED oftxn 1036 1r2 displaystyle frac 1 r 2 xntrkiriyaxyangxxn 1025 ddr exp mW Zr r displaystyle frac d dr left frac exp m W Z r r right lt 10 15khwamonmthwng thvsdismphththphaphthwip GR krawitxn yngimkhnphb 1 1r2 displaystyle frac 1 r 2 echingxrrthk khwamaerngsmphthth Relative strength dngklawepnkhaodypraman epriybethiybkhwamaerngkhxngxntrkiriyaphunthanchnidtang emuxkahndihaerngonmthwngmikhaepn 1 aerngthiaethcringepniptamxnuphakhaelaphlngnganthiekiywkhxng xangxingsahrbphuxanthwip 1986 The Forces of Nature 2nd ed Cambridge Univ Press richard ifnaemn 1967 The Character of Physical Law MIT Press ISBN 0 262 56003 8 Schumm Bruce A 2004 Deep Down Things Johns Hopkins University Press While all interactions are discussed especially thorough on the weak 1993 The First Three Minutes A Modern View of the Origin of the Universe Basic Books ISBN 0 465 02437 8 1994 Dreams of a Final Theory Vintage Books ISBN 0 679 74408 8 tara Padmanabhan T 1998 After The First Three Minutes The Story of Our Universe Cambridge Univ Press ISBN 0 521 62972 1 Perkins Donald H 2000 Introduction to High Energy Physics Cambridge Univ Press ISBN 0 521 62196 8 bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk