องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (อังกฤษ: European Organization for Nuclear Research; ฝรั่งเศส: Organisation européenne pour la recherche nucléaire) หรือ เซิร์น/แซร์น (CERN) เป็นองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2497 โดยมีประเทศสมาชิกก่อตั้ง 12 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่อยู่ที่เมือง รัฐเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์
ประเทศสมาชิก | |
ชื่อย่อ | เซิร์น/แซร์น |
---|---|
ก่อตั้ง | 29 กันยายน พ.ศ. 2497 |
ประเภท | ห้องปฏิบัติการทางฟิสิกส์อนุภาค |
สํานักงานใหญ่ | รัฐเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ |
ที่ตั้ง | |
สมาชิก | 20 ประเทศสมาชิก และ 8 ประเทศสังเกตการณ์ |
ภาษาทางการ | อังกฤษและฝรั่งเศส |
เว็บไซต์ | www |
ชื่อในอดีต | สภาวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป |
เมื่อแรกก่อตั้ง เซิร์น มีชื่อว่า "สภาวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป" หรือ Conseil Européen pour la Recherche Nucléaire (European Council for Nuclear Research) ซึ่งเป็นที่มาของชื่อย่อ CERN
บทบาทหลักของเซิร์นคือ การจัดเตรียมเครื่องเร่งอนุภาคและโครงสร้างอื่นๆที่จำเป็นต่อการวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค เซิร์นเป็นสถานที่ทำการทดลองมากมายที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ และยังมีชื่อเสียงในฐานะเป็นต้นกำเนิดของเวิลด์ไวด์เว็บ สำนักงานหลักที่เขตเมแร็ง มีศูนย์คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีอุปกรณ์ประมวลผลข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูงมากเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง และเนื่องจากจำเป็นต้องทำให้นักวิจัยในสถานที่อื่นสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ได้ จึงต้องมีฮับสำหรับข่ายงานบริเวณกว้างอีกด้วย
ในฐานะที่เป็นองค์การระหว่างประเทศ สถานที่ของเซิร์นจึงไม่อยู่ภายใต้อำนาจทางกฎหมายของทั้งสวิตเซอร์แลนด์และฝรั่งเศส ใน พ.ศ. 2551 เซิร์นได้รับยอดบริจาคจากประเทศสมาชิกรวมแล้ว 1 พันล้านฟรังก์สวิส
สำนักงานใหญ่ของเซิร์น ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของกรุงเจนีวา ใกล้กับชายแดนฝรั่งเศส-สวิตเซอร์แลนด์ เป็นที่ตั้งของห้องปฏิบัติการนิวเคลียร์ฟิสิกส์ขนาดใหญ่ ซึ่งมีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ 3000 คน
ปัจจุบัน เซิร์นกำลังติดตั้งเครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ (Large Hadron Collider - LHC) ภายในอุโมงค์ใต้ดินรูปวงแหวนขนาดเส้นรอบวง 27 กิโลเมตร มีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่ใต้ดินของประเทศฝรั่งเศส และสวิตเซอร์แลนด์ ซึ่งมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก การติดตั้งจะแล้วเสร็จและเริ่มการทดลองภายในเดือนกันยายน พ.ศ. 2551
ผู้พัฒนาเวิลด์ไวด์เว็บ
นักวิจัยของเซิร์น เป็นผู้พัฒนาเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web, WWW) ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2532 โดยเว็บเพจแรกของโลก ดึงข้อมูลมาจากเว็บเซิร์ฟเวอร์ซึ่งตั้งอยู่ที่สำนักงานใหญ่ของเซิร์น เมื่อ พ.ศ. 2534
ประเทศสมาชิก
ประเทศผู้ลงนามก่อตั้งเซิร์นเมื่อ พ.ศ. 2497 มี 12 ประเทศ ได้แก่
- เบลเยียม
- เดนมาร์ก
- เยอรมนี (เมื่อแรกก่อตั้งมีเพียงเยอรมนีตะวันตก)
- ฝรั่งเศส
- กรีซ
- อิตาลี
- นอร์เวย์
- สวีเดน
- สวิตเซอร์แลนด์
- เนเธอร์แลนด์
- สหราชอาณาจักร
- ยูโกสลาเวีย (ถอนตัวออกในภายหลัง)
- อิสราเอล
ประเทศผู้ก่อตั้งทุกประเทศยังคงเป็นสมาชิกของเซิร์น (เมื่อ พ.ศ. 2551) ยกเว้นยูโกสลาเวียที่ถอนตัวออกเมื่อ พ.ศ. 2504 และไม่กลับมาเข้าร่วมอีกเลย
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง เซิร์นได้รับประเทศอื่นๆเข้าเป็นสมาชิกเพิ่มมากขึ้น ซึ่งประเทศสมาชิกที่เข้าร่วมหลังการก่อตั้งนี้ยังคงเป็นสมาชิกอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่เข้าร่วม ยกเว้นสเปนที่เข้าร่วมเมื่อ พ.ศ. 2504 แล้วถอนตัวออกไปในอีก 8 ปีถัดมา และกลับมาเข้าร่วมเป็นสมาชิกอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 ประวัติสมาชิกภาพของประเทศต่างๆเป็นดังนี้:
- ออสเตรีย เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2502 ทำให้เซิร์นมีประเทศสมาชิกในขณะนั้นทั้งหมด 13 ประเทศ ต่อมาเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 กระทรวงวิทยาศาสตร์และการวิจัยของออสเตรียได้ตัดสินใจและประกาศว่าจะยกเลิกสมาชิกภาพและถอนตัวออกจากเซิร์นในสิ้นปี พ.ศ. 2553 แต่ประกาศนี้ยังต้องผ่านการอนุมัติจาก
- ยูโกสลาเวีย ถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2504 (สมาชิก 12 ประเทศ)
- สเปน เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2504 (ทำให้จำนวนประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 13 ประเทศอีกครั้ง) ต่อมาถอนตัวเมื่อ พ.ศ. 2512 (สมาชิก 12 ประเทศ) และกลับเข้าเป็นสมาชิกอีกครั้งเมื่อ พ.ศ. 2526 (สมาชิก 13 ประเทศ)
- โปรตุเกส เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2528 (สมาชิก 14 ประเทศ)
- ฟินแลนด์ เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2534
- โปแลนด์ เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2534 (พร้อมกับฟินแลนด์ ทำให้จำนวนประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 16 ประเทศ)
- ฮังการี เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2535 (สมาชิก 17 ประเทศ)
- เช็กเกีย เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2536
- สโลวาเกีย เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2536 (พร้อมกับสาธารณรัฐเชค ทำให้จำนวนประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 19 ประเทศ)
- บัลแกเรีย เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2542 (สมาชิก 20 ประเทศ)
- มาซิโดเนียเหนือ เข้าเป็นสมาชิกเมื่อ พ.ศ. 2552 (สมาชิก 21 ประเทศ)
ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 20 ประเทศ ในจำนวนนี้มี 18 ประเทศที่เป็น
นอกจากนี้ ยังมีอีก 6 ประเทศและองค์การระหว่างประเทศอีก 2 องค์การที่อยู่ในฐานะผู้สังเกตการณ์ ได้แก่
อ้างอิง
- [1]
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-13. สืบค้นเมื่อ 2009-05-12.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-04-19. สืบค้นเมื่อ 2009-05-13.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ทางการของเซิร์น
- Recruitment and training opportunities at CERN
- “เซิร์น” ฝังแม่เหล็กยักษ์ลงใต้ดิน-อุปกรณ์สำคัญไขปริศนาจักรวาล 2007-03-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
xngkhkarwicyniwekhliyryuorp xngkvs European Organization for Nuclear Research frngess Organisation europeenne pour la recherche nucleaire hrux esirn aesrn CERN epnxngkhkarkhwamrwmmuxrahwangpraethsinthwipyuorpephuxwicyaelaphthnathangdanniwekhliyr kxtngemuxwnthi 29 knyayn ph s 2497 odymipraethssmachikkxtng 12 praeths misanknganihyxyuthiemuxng rthecniwa switesxraelndxngkhkarwicyniwekhliyryuorppraethssmachikchuxyxesirn aesrnkxtng29 knyayn ph s 2497praephthhxngptibtikarthangfisiksxnuphakhsanknganihyrthecniwa switesxraelndthitngphrmaednswisaelafrngesssmachik20 praethssmachik aela 8 praethssngektkarnphasathangkarxngkvsaelafrngessewbistwww wbr cern wbr chchuxinxditsphawicyniwekhliyryuorp emuxaerkkxtng esirn michuxwa sphawicyniwekhliyryuorp hrux Conseil Europeen pour la Recherche Nucleaire European Council for Nuclear Research sungepnthimakhxngchuxyx CERN bthbathhlkkhxngesirnkhux karcdetriymekhruxngerngxnuphakhaelaokhrngsrangxunthicaepntxkarwicydanfisiksxnuphakh esirnepnsthanthithakarthdlxngmakmaythiekidcakkhwamrwmmuxrahwangpraethsephuxnaipichihekidpraoychn aelayngmichuxesiynginthanaepntnkaenidkhxngewildiwdewb sanknganhlkthiekhtemaerng misunykhxmphiwetxrkhnadihythimixupkrnpramwlphlkhxmulthimiprasiththiphaphsungmakephuxkarwiekhraahkhxmulcakkarthdlxng aelaenuxngcakcaepntxngthaihnkwicyinsthanthixunsamarthnakhxmulehlaniipichid cungtxngmihbsahrbkhaynganbriewnkwangxikdwy inthanathiepnxngkhkarrahwangpraeths sthanthikhxngesirncungimxyuphayitxanacthangkdhmaykhxngthngswitesxraelndaelafrngess in ph s 2551 esirnidrbyxdbricakhcakpraethssmachikrwmaelw 1 phnlanfrngkswis sanknganihykhxngesirn tngxyuthangthistawntkechiyngehnuxkhxngkrungecniwa iklkbchayaednfrngess switesxraelnd epnthitngkhxnghxngptibtikarniwekhliyrfisikskhnadihy sungmiecahnathiptibtikar 3000 khn pccubn esirnkalngtidtngekhruxngerngxnuphakhkhnadihy Large Hadron Collider LHC phayinxuomngkhitdinrupwngaehwnkhnadesnrxbwng 27 kiolemtr mixanaekhtkhrxbkhlumphunthiitdinkhxngpraethsfrngess aelaswitesxraelnd sungmikhnadihythisudinolk kartidtngcaaelwesrcaelaerimkarthdlxngphayineduxnknyayn ph s 2551phuphthnaewildiwdewbewbesirfewxrekhruxngaerkkhxngolk nkwicykhxngesirn epnphuphthnaewildiwdewb World Wide Web WWW khunepnkhrngaerkemux ph s 2532 odyewbephcaerkkhxngolk dungkhxmulmacakewbesirfewxrsungtngxyuthisanknganihykhxngesirn emux ph s 2534praethssmachikpraethssmachikkhxngesirnin ph s 2551 praethssmachikphukxtng praethssmachikthiekharwmphayhlngaephnthiphaphekhluxnihwaesdngkarepliynaeplnginsmachikphaphkhxngesirntngaet ph s 2497 cnthung ph s 2542 borders as of 1989 and 2008 praethssmachik sinaengin aelapraethsphusngektkarn siaedng shrthxemrika xisraexl turki yipun xinediy aelarsesiy khxmulemux 2013 update praethsphulngnamkxtngesirnemux ph s 2497 mi 12 praeths idaek ebleyiym ednmark eyxrmni emuxaerkkxtngmiephiyngeyxrmnitawntk frngess kris xitali nxrewy swiedn switesxraelnd enethxraelnd shrachxanackr yuokslaewiy thxntwxxkinphayhlng xisraexl praethsphukxtngthukpraethsyngkhngepnsmachikkhxngesirn emux ph s 2551 ykewnyuokslaewiythithxntwxxkemux ph s 2504 aelaimklbmaekharwmxikely nbtngaeterimkxtng esirnidrbpraethsxunekhaepnsmachikephimmakkhun sungpraethssmachikthiekharwmhlngkarkxtngniyngkhngepnsmachikxyangtxenuxngnbtngaetekharwm ykewnsepnthiekharwmemux ph s 2504 aelwthxntwxxkipinxik 8 pithdma aelaklbmaekharwmepnsmachikxikkhrngemux ph s 2526 prawtismachikphaphkhxngpraethstangepndngni xxsetriy ekhaepnsmachikemux ph s 2502 thaihesirnmipraethssmachikinkhnannthnghmd 13 praeths txmaemuxwnthi 7 phvsphakhm ph s 2552 krathrwngwithyasastraelakarwicykhxngxxsetriyidtdsinicaelaprakaswacaykeliksmachikphaphaelathxntwxxkcakesirninsinpi ph s 2553 aetprakasniyngtxngphankarxnumticak yuokslaewiy thxntwxxkcakkarepnsmachikemux ph s 2504 smachik 12 praeths sepn ekhaepnsmachikemux ph s 2504 thaihcanwnpraethssmachikephimkhunepn 13 praethsxikkhrng txmathxntwemux ph s 2512 smachik 12 praeths aelaklbekhaepnsmachikxikkhrngemux ph s 2526 smachik 13 praeths oprtueks ekhaepnsmachikemux ph s 2528 smachik 14 praeths finaelnd ekhaepnsmachikemux ph s 2534 opaelnd ekhaepnsmachikemux ph s 2534 phrxmkbfinaelnd thaihcanwnpraethssmachikephimkhunepn 16 praeths hngkari ekhaepnsmachikemux ph s 2535 smachik 17 praeths echkekiy ekhaepnsmachikemux ph s 2536 solwaekiy ekhaepnsmachikemux ph s 2536 phrxmkbsatharnrthechkh thaihcanwnpraethssmachikephimkhunepn 19 praeths blaekeriy ekhaepnsmachikemux ph s 2542 smachik 20 praeths masiodeniyehnux ekhaepnsmachikemux ph s 2552 smachik 21 praeths pccubnmipraethssmachik 20 praeths incanwnnimi 18 praethsthiepn nxkcakni yngmixik 6 praethsaelaxngkhkarrahwangpraethsxik 2 xngkhkarthixyuinthanaphusngektkarn idaek xinediy yipun rsesiy turki shrthxangxingesirn sthanthithiewildiwdewbthuxkaenidkhun 1 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 09 13 subkhnemux 2009 05 12 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2011 04 19 subkhnemux 2009 05 13 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb xngkhkarwicyniwekhliyryuorp ewbistthangkarkhxngesirn Recruitment and training opportunities at CERN esirn fngaemehlkykslngitdin xupkrnsakhyikhprisnackrwal 2007 03 14 thi ewyaebkaemchchin 46 14 03 N 6 03 10 E 46 23417 N 6 05278 E 46 23417 6 05278 bthkhwamhnwynganhruxxngkhkrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk