กลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่ (อังกฤษ: Phantom eye syndrome, ตัวย่อ PES) รวมความเจ็บปวดที่ตาและการเกิดประสาทหลอนทางตา หลังจากที่เอาตาข้างใดข้างหนึ่งออกโดยการควักลูกตา (enucleation) หรือการควักเนื้อในลูกตา (evisceration)
กลุ่มอาการหลงผิดว่าตายังคงอยู่ (Phantom eye syndrome) | |
---|---|
กายวิภาคของตามนุษย์ กล้ามเนื้อภายนอกลูกตามีสีแดง | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | G54.6, G54.7 |
ICD- | 353.6 |
อาการ
คนไข้จำนวนมากเกิดอาการหลงผิดหลังจากที่เอาลูกตาอออก รวมทั้ง
- ความเจ็บปวดในตาที่เอาออกไปแล้ว (อัตราความชุกที่ 26%)
- ความรู้สึกไม่ประกอบด้วยความเจ็บปวดในตาที่เอาออกไปแล้ว
- ประสาทหลอนทางตา คือ คนไข้ประมาณ 30% แจ้งว่ามีประสาทหลอนทางตาที่เอาออกไปแล้ว ซึ่งโดยมากแล้ว ภาพหลอนจะเป็นลักษณะการเห็นพื้นฐานทั่ว ๆ ไปเช่นรูปร่างและสี และโดยเปรียบเทียบแล้ว กลุ่มอาการ Charles Bonnet syndrome ที่เกิดในโรคที่ทำให้สูญเสียสายตาอย่างรุนแรง มีประสาทหลอนโดยอัตราชุกที่ต่ำกว่าที่ 10% และมักจะประกอบด้วยภาพหลอนที่มีรายละเอียดที่สูงกว่า
พยาธิกำเนิด
ความรู้สึกและความเจ็บปวดในอวัยวะที่ไม่มี
ความเจ็บปวดและความรู้สึกอื่น ๆ ในอวัยวะที่ไม่มี เกิดจากความเปลี่ยนแปลงในระบบประสาทกลางที่เกิดขึ้นเนื่องจากการตัดประสาท (denervation) จากอวัยวะใดอวัยวะหนึ่ง แต่ว่า ความเจ็บปวดในตาที่ไม่มีเกิดขึ้นน้อยกว่าการเจ็บปวดในอวัยวะอื่นเช่นแขนขาเป็นต้นที่ไม่มี ความเจ็บปวดในแขนขาที่ตัดออกมีอัตราความชุกประมาณ 50% ถึง 78% เปรียบเทียบกับความเจ็บปวดในลูกตาที่เอาออกประมาณ 30%
เชื่อกันว่า ความเปลี่ยนแปลงในคอร์เทกซ์ที่มีแผนที่ภูมิลักษณ์ของเนื้อเยื่อรับความรู้สึก (คือใน cortical homunculus) จุดใกล้กับอวัยวะที่ตัดออกไป มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดขึ้นของความเจ็บปวดและความรู้สึกอื่น ๆ ในอวัยวะที่ไม่มี เหตุผลที่มีคนไข้ที่มีความเจ็บปวดในตาที่ไม่มี น้อยกว่าคนไข้ที่มีความเจ็บปวดในแขนขาที่ไม่มี อาจจะเป็นเพราะระบบรับความรู้สึกทางกายมีเขตแผนที่ภูมิลักษณ์ของลูกตาที่เล็กกว่าของแขนขา
สำหรับผู้ที่ตัดแขนขาออก งานวิจัยหลายงานพบว่าบางคน มีสหสัมพันธ์ระหว่างความเจ็บปวดในอวัยวะที่จะตัดออกก่อนผ่าตัด กับความเจ็บปวดในอวัยวะที่ไม่มีหลังผ่าตัด มีความสัมพันธ์ที่สำคัญระหว่างความเจ็บปวดก่อนผ่าตัดตาและอาการปวดหัว กับความรู้สึกทั้งที่ประกอบด้วยความเจ็บปวดและไม่ประกอบด้วยความเจ็บปวดในตาที่ไม่มีหลังผ่าตัด แต่ว่าด้วยข้อมูลที่มีอยู่ ยังยากที่จะตัดสินว่า อาการปวดศีรษะและความเจ็บปวดที่ตาก่อนผ่าตัดเป็นเหตุของการเกิดขึ้นของความรู้สึกในตาที่ไม่มี หรือว่า อาการปวดศีรษะและความเจ็บปวดที่ตาก่อนผ่าตัด และความรู้สึกในตาที่ไม่มีหลังผ่าตัด ล้วนแต่เป็นผลที่เกิดขึ้นมาจากเหตุอย่างอื่น อย่างไรก็ดี งานวิจัยในมนุษย์ได้แสดงแล้วว่า ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในช่วงงานวิจัย นำไปสู่การจัดระเบียบใหม่อย่างรวดเร็วของคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย (somatosensory cortex) งานวิจัยนี้อาจจะบอกเป็นนัยว่า ความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นก่อนการผ่าตัดและหลังการผ่าตัดอาจจะเป็นเหตุสำคัญเหตุหนึ่งในการจัดระเบียบใหม่ของคอร์เทกซ์รับความรู้สึกทางกาย และการเกิดขึ้นของความรู้สึกในอวัยวะที่ไม่มี
ภาพหลอนทางตา
ทั้งการควักลูกตาออก (enucleation) และความเสียหายในเรตินา นำไปสู่ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ในคอร์เทกซ์สายตาที่รับข้อมูลทางตา คือ การยับยั้งประสาทที่เกิดจากการหลั่งสาร GABA ลดลง และการกระตุ้นคอร์เทกซ์สายตาเนื่องจากการหลั่งสารกลูตาเมตก็เพิ่มขึ้น ตามมาด้วยความไวต่อสิ่งเร้าทางตา และแม้กระทั่งการทำงานที่เกิดขึ้นเอง โดยไม่มีสัญญาณกระตุ้นที่ส่งไปจากตา ในคอร์เทกซ์สายตา เชื่อกันว่า การทำงานที่ไม่มีเหตุในคอร์เทกซ์สายตาที่ตาไม่ได้ส่งข้อมูลประสาทไปให้แล้ว เป็นประสาทสัมพันธ์ (neural correlate) คือเป็นเหตุของภาพหลอนทางตา
ดูเพิ่ม
เชิงอรรถและอ้างอิง
- ICD-10 ให้ความหมายของ G54.6 ว่า กลุ่มอาการหลงผิดว่าแขนขายังคงอยู่
- Sörös, P. (May 2003). "Phantom eye syndrome: Its prevalence, phenomenology, and putative mechanisms". . 60 (9): 1542–3. PMID 12743251. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Ramachandran, Vilayanur S. (September 1998). "The perception of phantom limbs. The D. O. Hebb lecture". . 121 (9): 1603–30. doi:10.1093/brain/121.9.1603. PMID 9762952. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Nikolajsen, L. (July 2001). "Phantom limb pain". . 87 (1): 107–16. doi:10.1093/bja/87.1.107. PMID 11460799. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - Nikolajsen L, Ilkjaer S, Krøner K, Christensen JH, Jensen TS (September 1997). "The influence of preamputation pain on postamputation stump and phantom pain". Pain. 72 (3): 393–405. doi:10.1016/S0304-3959(97)00061-4. PMID 9313280. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - Nicolodi, M. (June 1997). "Phantom eye: features and prevalence. The predisposing role of headache". Cephalalgia. 17 (4): 501–4. doi:10.1046/j.1468-2982.1997.1704501.x. PMID 9209770. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))[] - Sörös, Peter (February 2001). "Functional reorganization of the human primary somatosensory cortex after acute pain demonstrated by magnetoencephalography". Neuroscience Letters. 298 (3): 195–8. doi:10.1016/S0304-3940(00)01752-3. PMID 11165440. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help)) - กาบา (Gamma-Aminobutyric acid ตัวย่อ GABA) เป็นสารสื่อประสาทแบบยับยั้งตัวหลักในระบบประสาทกลางของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีบทบาทสำคัญในการควบคุมการเร้าได้โดยทั่วไปในระบบประสาท นอกจากนั้นแล้ว ในมนุษย์ กาบายังมีบทบาทโดยตรงในการควบคุมความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (muscle tone)
- Eysel, Ulf T. (1999). "Reorganization in the visual cortex after retinal and cortical damage". Restorative Neurology and Neuroscience. 15 (2–3): 153–64. PMID 12671230. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-01-29. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
{{}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) ((help))
แหล่งข้อมูลอื่น
- Cole, Jonathan. . . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-12. สืบค้นเมื่อ 2008-09-23.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumxakarhlngphidwatayngkhngxyu xngkvs Phantom eye syndrome twyx PES rwmkhwamecbpwdthitaaelakarekidprasathhlxnthangta hlngcakthiexatakhangidkhanghnungxxkodykarkhwklukta enucleation hruxkarkhwkenuxinlukta evisceration klumxakarhlngphidwatayngkhngxyu Phantom eye syndrome kaywiphakhkhxngtamnusy klamenuxphaynxkluktamisiaedngbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10G54 6 G54 7ICD 353 6xakarkhnikhcanwnmakekidxakarhlngphidhlngcakthiexaluktaxxxk rwmthng khwamecbpwdintathiexaxxkipaelw xtrakhwamchukthi 26 khwamrusukimprakxbdwykhwamecbpwdintathiexaxxkipaelw prasathhlxnthangta khux khnikhpraman 30 aecngwamiprasathhlxnthangtathiexaxxkipaelw sungodymakaelw phaphhlxncaepnlksnakarehnphunthanthw ipechnruprangaelasi aelaodyepriybethiybaelw klumxakar Charles Bonnet syndrome thiekidinorkhthithaihsuyesiysaytaxyangrunaerng miprasathhlxnodyxtrachukthitakwathi 10 aelamkcaprakxbdwyphaphhlxnthimiraylaexiydthisungkwaphyathikaenidkhwamrusukaelakhwamecbpwdinxwywathiimmi khwamecbpwdaelakhwamrusukxun inxwywathiimmi ekidcakkhwamepliynaeplnginrabbprasathklangthiekidkhunenuxngcakkartdprasath denervation cakxwywaidxwywahnung aetwa khwamecbpwdintathiimmiekidkhunnxykwakarecbpwdinxwywaxunechnaekhnkhaepntnthiimmi khwamecbpwdinaekhnkhathitdxxkmixtrakhwamchukpraman 50 thung 78 epriybethiybkbkhwamecbpwdinluktathiexaxxkpraman 30 echuxknwa khwamepliynaeplnginkhxrethksthimiaephnthiphumilksnkhxngenuxeyuxrbkhwamrusuk khuxin cortical homunculus cudiklkbxwywathitdxxkip miswnekiywkhxngkbkarekidkhunkhxngkhwamecbpwdaelakhwamrusukxun inxwywathiimmi ehtuphlthimikhnikhthimikhwamecbpwdintathiimmi nxykwakhnikhthimikhwamecbpwdinaekhnkhathiimmi xaccaepnephraarabbrbkhwamrusukthangkaymiekhtaephnthiphumilksnkhxngluktathielkkwakhxngaekhnkha sahrbphuthitdaekhnkhaxxk nganwicyhlaynganphbwabangkhn mishsmphnthrahwangkhwamecbpwdinxwywathicatdxxkkxnphatd kbkhwamecbpwdinxwywathiimmihlngphatd mikhwamsmphnththisakhyrahwangkhwamecbpwdkxnphatdtaaelaxakarpwdhw kbkhwamrusukthngthiprakxbdwykhwamecbpwdaelaimprakxbdwykhwamecbpwdintathiimmihlngphatd aetwadwykhxmulthimixyu yngyakthicatdsinwa xakarpwdsirsaaelakhwamecbpwdthitakxnphatdepnehtukhxngkarekidkhunkhxngkhwamrusukintathiimmi hruxwa xakarpwdsirsaaelakhwamecbpwdthitakxnphatd aelakhwamrusukintathiimmihlngphatd lwnaetepnphlthiekidkhunmacakehtuxyangxun xyangirkdi nganwicyinmnusyidaesdngaelwwa khwamecbpwdthiekidkhuninchwngnganwicy naipsukarcdraebiybihmxyangrwderwkhxngkhxrethksrbkhwamrusukthangkay somatosensory cortex nganwicynixaccabxkepnnywa khwamecbpwdthiekidkhunkxnkarphatdaelahlngkarphatdxaccaepnehtusakhyehtuhnunginkarcdraebiybihmkhxngkhxrethksrbkhwamrusukthangkay aelakarekidkhunkhxngkhwamrusukinxwywathiimmi phaphhlxnthangta thngkarkhwkluktaxxk enucleation aelakhwamesiyhayinertina naipsupraktkarntang inkhxrethkssaytathirbkhxmulthangta khux karybyngprasaththiekidcakkarhlngsar GABA ldlng aelakarkratunkhxrethkssaytaenuxngcakkarhlngsarklutaemtkephimkhun tammadwykhwamiwtxsingerathangta aelaaemkrathngkarthanganthiekidkhunexng odyimmisyyankratunthisngipcakta inkhxrethkssayta echuxknwa karthanganthiimmiehtuinkhxrethkssaytathitaimidsngkhxmulprasathipihaelw epnprasathsmphnth neural correlate khuxepnehtukhxngphaphhlxnthangtaduephimrabbsaytaechingxrrthaelaxangxingICD 10 ihkhwamhmaykhxng G54 6 wa klumxakarhlngphidwaaekhnkhayngkhngxyu Soros P May 2003 Phantom eye syndrome Its prevalence phenomenology and putative mechanisms 60 9 1542 3 PMID 12743251 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Ramachandran Vilayanur S September 1998 The perception of phantom limbs The D O Hebb lecture 121 9 1603 30 doi 10 1093 brain 121 9 1603 PMID 9762952 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Nikolajsen L July 2001 Phantom limb pain 87 1 107 16 doi 10 1093 bja 87 1 107 PMID 11460799 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help Nikolajsen L Ilkjaer S Kroner K Christensen JH Jensen TS September 1997 The influence of preamputation pain on postamputation stump and phantom pain Pain 72 3 393 405 doi 10 1016 S0304 3959 97 00061 4 PMID 9313280 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint multiple names authors list lingk Nicolodi M June 1997 Phantom eye features and prevalence The predisposing role of headache Cephalalgia 17 4 501 4 doi 10 1046 j 1468 2982 1997 1704501 x PMID 9209770 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help lingkesiy Soros Peter February 2001 Functional reorganization of the human primary somatosensory cortex after acute pain demonstrated by magnetoencephalography Neuroscience Letters 298 3 195 8 doi 10 1016 S0304 3940 00 01752 3 PMID 11165440 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help kaba Gamma Aminobutyric acid twyx GABA epnsarsuxprasathaebbybyngtwhlkinrabbprasathklangkhxngstweliynglukdwynm mibthbathsakhyinkarkhwbkhumkareraidodythwipinrabbprasath nxkcaknnaelw inmnusy kabayngmibthbathodytrnginkarkhwbkhumkhwamtungtwkhxngklamenux muscle tone Eysel Ulf T 1999 Reorganization in the visual cortex after retinal and cortical damage Restorative Neurology and Neuroscience 15 2 3 153 64 PMID 12671230 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2013 01 29 subkhnemux 2008 09 23 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a imruckpharamietxr coauthors thuklaewn aenana author help aehlngkhxmulxunCole Jonathan khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 09 12 subkhnemux 2008 09 23