ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน (อังกฤษ: Migration Period art) เป็นงานศิลปะของกลุ่มชนเจอร์มานิคระหว่างสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรป ระหว่าง ค.ศ. 300 จนถึง ค.ศ. 900 ที่รวมทั้งศิลปะของกลุ่มชนเจอร์มานิคเองบนภาคพื้นยุโรป และ “ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน” หรือ “ศิลปะเกาะ” ซึ่งเป็นศิลปะผสานระหว่างศิลปะของชาวแองโกล-แซ็กซอน และ ชาวเคลต์บนหมู่เกาะบริติช ลักษณะของศิลปะก็ครอบคลุมหลายลักษณะตั้งแต่ “ลักษณะพหุรงค์” และ “”
ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน Migration Period art | |
---|---|
ส่วนหนึ่งของ: ศิลปะยุคกลาง | |
เข็มกลัดที่ใช้บนไหล่จากคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่พบที่สุสานฝังศพในเรือที่ซัตตันฮูในอังกฤษ | |
ประวัติศาสตร์ศิลปะ | |
ช่วงเวลา | ค.ศ. 300 จนถึง ค.ศ. 900 |
ภูมิภาค | ยุโรปเหนือ และ |
เกี่ยวข้อง | ศิลปะแองโกล-แซ็กซอน, ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน, ศิลปะเคลติก |
ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานเป็นสมัยประวัติศาสตร์ศิลปะที่สำคัญของศิลปะยุคกลาง
ที่มา
ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 จักรวรรดิโรมันก็แทบจะล่ม และทหารในกองทัพส่วนใหญ่ก็เป็นทหารเจอร์มานิคเพิ่มขึ้นทุกขณะ ดังนั้นเมื่อถึงคริสต์ศตวรรษที่ 4 เมื่อชนฮั่นรุกรานเข้ามาจนชนเผ่าเยอรมันต่างต้องถอยร่นไปทางตะวันตก ไปตั้่งถิ่่นฐานอยู่ตามชายแดนของจักรวรรดิ ชาววิซิกอธเข้าไปตั้่งถิ่่นฐานอยู่ในอิตาลี และต่อมาสเปน ส่วนทางตอนเหนือก็มีชาวแฟรงค์เข้าไปตั้่งถิ่่นฐานอยู่ในกอลและทางตะวันตกของเยอรมนี และในคริสต์ศตวรรษที่ 5 กลุ่มชาวสแกนดิเนเวียที่รวมทั้งแองเกิลส์, แซ็กซอน และ จูตก็เดินทางข้ามไปรุกรานบริเตน เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 6 จักรวรรดิโรมันตะวันตกก็แทบจะแทนที่ด้วยกลุ่มชนที่มีขนาดเล็กกว่าที่มีอำนาจทางการเมืองที่ไม่เป็นระเบียบแบบแผน แต่ก้าวร้าวของราชอาณาจักรเจอร์มานิคต่างๆ
แม้ว่าราชอาณาจักรเหล่านี้จะมีเชื้อชาติพันธุ์ที่ต่างกัน แต่ต่างก็มีวัฒนธรรมบางอย่างที่ร่วมกัน เดิมทีชนกลุ่มนี้มีวิถีชีวิตแบบชนร่อนเร่แต่ต่อมาก็เริ่มตั้่งถิ่่นฐานอย่างเป็นการถาวรกันมากขึ้น และกลายเป็นเกษตรกรและคนหาปลา หลักฐานทางโบราณคดีไม่ปรากฏว่ามีการสร้างงานศิลปะชิ้นใหญ่กันขึ้น เช่นสิ่งก่อสร้างหรือประติมากรรมชิ้นใหญ่ๆ แต่จะเป็นศิลปะแบบ “เคลื่อนที่” สำหรับการใช้สอย เช่นอาวุธ , เครื่องมือ และ เครื่องประดับ ศิลปะของชนเจอร์มานิคแทบทั้งหมดจะเป็นเครื่องประดับส่วนตัว, เคลื่อนที่ได้ และ นำติดตัวไปกับร่างเมื่อฝัง เพื่อที่จะเป็นสักการะวิญญาณเพื่อที่ให้ช่วยพิทักษ์ผู้ที่ยังคงมีชีวิตอยู่
ศิลปะของชนเจอร์มานิคมีลักษณะเด่นอยู่สามอย่างคือ “ลักษณะพหุรงค์” (polychrome style) ที่มาจากกอธผู้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณทะเลดำ และ “ลายรูปสัตว์” (Animal style) ที่พบในสแกนดิเนเวีย, ทางตอนเหนือของเยอรมนี และ ในบริเวณแองโกล-แซ็กซอนอังกฤษ และสุดท้ายก็คือ “ลักษณะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน” ที่เกิดเพียงชั่วระยะเวลาอันสั้นแต่ก็เป็นสมัยศิลปะที่รุ่งเรืองที่แสดงการผสานระหว่าง “ลักษณะสัตว์” , เคลติก และ ลวดลายและกรรมวิธีการสร้างงานต่างๆ เข้าด้วยกัน
ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน
ลักษณะพหุรงค์
ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 2 ชาวกอธทางตอนใต้ของรัสเซียก็เริ่มนิยมการสร้างรูปลักษณ์ขนาดเล็ก และ สิ่งของที่มีการฝังประดับด้วยหินมีค่า ลักษณะดังกล่าวที่มาจากชาวซิเธียน และ ชาวซาร์มาเชียนมีอิทธิพลจากโรมันอยู่บ้าง และ เป็นลักษณะเดียวกันกับที่นิยมโดยชาวฮั่น งานชิ้นที่อาจจะมีชื่อเสียงที่สุดเป็นงานที่เป็นส่วนหนึ่งของของคริสต์ศตวรรษที่ 4 ทีพบในโรมาเนีย ที่รวมทั้งเข็มกลัดอินทรีทอง (ภาพ 2007-01-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน) ลายอินทรีมาจากเอเชียตะวันออกที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนติดต่อระหว่างบรรพบุรุษชาวกอธและจักรวรรดิฮั่นในอดีต เช่นในพหุรงค์ของกอธิคที่เป็นรูปหัวเหยี่ยวของคริสต์ศตวรรษที่ 4 (ภาพ 1999-10-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน) จากทางตอนใต้ของรัสเซีย
ชาวกอธนำลักษณะงานนี้ไปยังอิตาลี, ฝรั่งเศสตอนใต้ และ สเปน ตัวอย่างสำคัญก็ได้แก่เข็มกลัดตรึงอินทรีของออสโตรกอธจากเซเซนาในอิตาลี งานอีกชิ้นหนึ่งก็คือพหุรงค์ของวิซิกอธ (ภาพ 1999-10-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน) ของพระเจ้าพระมหากษัตริย์แห่งโทเลโด ที่พบในกรุสมบัติมงกุฎสักการะของราวปี ค.ศ. 670 ที่ ไม่ไกลจากเมืองโทเลโดในประเทศสเปน ความนิยมอันแพร่หลายของงานลักษณะนี้จะเห็นได้จากดาบพหุรงค์ (ภาพ 1999-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน) ที่พบในที่บรรจุพระบรมศพของพระมหากษัตริย์แฟรงค์ ทางตอนเหนือของเทือกเขาแอลป์ในคริสต์ศตวรรษที่ 5
ลายรูปสัตว์
การศึกษาการตกแต่งด้วยลวดลายรูปสัตว์เริ่มขึ้นโดยเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซาลินจัดกลุ่มลายรูปสัตว์ของงานที่สร้างระหว่างปี ค.ศ. 400 ถึงปี ค.ศ. 900 ออกเป็นสามช่วง: แบบสแกนดิเนเวีย I, II และ III สำหรับศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานสองลักษณะแรกเป็นลักษณะที่สำคัญ
แบบสแกนดิเนเวีย I เริ่มปรากฏขึ้นทางตะวันตกเฉียงเหนือของยุโรป ที่อาจจะมาจากธรรมเนียมนิยมของประชากรร่อนเร่ของทุ่งหญ้าสเตปป์ของเอเชีย ลักษณะเริ่มวิวัฒนาการมาเป็นลักษณะใหม่โดยการใช้เทคนิคการแกะที่เรียกว่า “” มาใช้กับการแกะสำริดและเงินในคริสต์ศตวรรษที่ 5 การตกแต่งลายรูปสัตว์ก็จะเป็นตามขอบงานที่เป็นลายบิด, เกินเลยลักษณะที่เป็นจริง, เหนือจริง, เป็นชิ้นส่วนของร่างกายที่ตกแต่งเต็มพื้นที่ยังว่างอยู่ทั้งหมด ที่เป็นการสร้างลวดลายที่แน่นไปด้วยลายละเอียดและสร้างความรู้สึกว่าเป็นภาพที่เต็มไปด้วยพลัง ตัวอย่างของงานดังกล่วก็เช่นด้ามจากหลุม V, Snartemo Hägebostad, Vest Agder, นอร์เวย์ และเข็มกลัดตรึง (ภาพ 2006-06-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน) จาก ของราว ค.ศ. 400 ถึง ค.ศ. 450
แบบสแกนดิเนเวีย II หลังจากราว ค.ศ. 600 แบบสแกนดิเนเวีย I ก็เริ่มเสื่อมโทรมลง และแบบสแกนดิเนเวีย II ก็เข้ามาแทนที่ รูปลักษณ์ของลายสัตว์ที่เป็นแบบเหนือจริงและเป็นชิ้นส่วนของแบบสแกนดิเนเวีย I ก็หายไป สัตว์ในแบบที่ II เป็นสัตว์ทั้งตัว, ยาว และสอดประสานกันเป็นทรงที่มีความสมมาตร เช่นหมีสองตัวหันหน้าเข้าหากันอย่างมีความสมมาตรเป็นทรงรูปหัวใจ ตัวอย่างของงานลักษณะนี้ก็ได้แก่ฝากระเป๋าทอง (ภาพ) จากซัททันฮู (ราว ค.ศ. 625)
อิทธิพลของศิลปะคริสต์ศาสนา
สถาบันศาสนาในสมัยการโยกย้ายถิ่นฐานในยุโรปตอนต้นกลายมาเป็นสถาบันที่เป็นตัวแทนของอำนาจของชาติในยุโรปหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน สถาบันศาสนาเป็นแหล่งที่เป็นองค์ประกอบของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเป็นสถาบันเดียวที่ยังเหลืออยู่ที่ทำการอนุรักษ์วัฒนธรรมคลาสสิกเอาไว้ เมื่อการเปลี่ยนชนเจอร์มานิคในยุโรปตะวันตกให้มานับถือคริสต์ศาสนาในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ใกล้จะสิ้นสุดลง สถาบันศาสนาก็กลายมามีบทบาทสำคัญในการเป็นผู้อุปถัมภ์ศิลปะ, จ้างงานเขียนหนังสือวิจิตรและวัสดุอุปกรณ์สิ่งของทางศาสนา หลักฐานระบุว่าลักษณะงานแบบเจอร์มานิคเสื่อมถอยลงไป ขณะที่ลักษณะแบบเมดิเตอเรเนียนเริ่มมีอิทธิพลให้เห็นมากขึ้น ความเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในบรรดาชาวกอธในอิตาลีและสเปน แต่ช้ากว่าทางตอนเหนือของยุโรป ที่เห็นได้จาก “” เมโรแว็งเชียงของคริสต์ศตวรรษที่ 8 ที่ไม่มีร่องรอยของแบบสแกนดิเนเวีย II แต่แสดงอิทธิพลของแบบเมดิเตอเรเนียน
ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน
ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน (ที่มักจะเรียกกันว่า “ศิลปะเกาะ” โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับหนังสือวิจิตร) เป็นลักษณะของงานศิลปะที่พบเฉพาะในบริเตนใหญ่และไอร์แลนด โดยการผสานระหว่างธรรมเนียมนิยมของเจอร์มานิค (ผ่านทางแองโกล-แซ็กซอน) กับธรรมเนียมนิยมของเคลติก (ผ่านทางนักบวชชาวไอร์แลนด์) งานลักษณะนี้เห็นกันเป็นครั้งแรกในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 และดำเนินต่อมาในบริเตนอีกเป็นเวลาราว 150 จนกระทั่งเมื่อมาถูกรุกรานโดยไวกิงในคริสต์ศตวรรษที่ 9 (หลังจากนั้นก็เป็นการเริ่มต้นของศิลปะแองโกล-แซ็กซอน) แต่ในไอร์แลนด์งานลักษณะนี้ดำเนินต่อมาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 (หลังจากนั้นก็เป็นศิลปะโรมาเนสก์)
ประวัติ
ไอร์แลนด์เปลี่ยนไปนับถือคริสต์ศาสนาโดยคณะนักเผยแพร่ศาสนาจากบริเตนและแผ่นดินใหญ่ยุโรปที่เริ่มต้นขึ้นในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 5 ขณะเดียวกันกับที่เพกันชาวแองเกิลส์, แซ็กซอน และ จูตเข้ามาตั้งถิ่นฐานในอังกฤษ ความแตกแยกอย่างรุนแรงทางการเมืองในไอร์แลนด์และความขาดการพัฒนาเมืองเป็นการจำกัดโครงสร้างทางการปกครองโดยสถาบันศาสนา สำนักสงฆ์จึงวิวัฒนาการขึ้นมาเป็นอำนาจอันสำคัญของสังคมของไอร์แลนด์ซึ่งทำให้เกิดลักษณะงานศิลปะที่เรียกว่างานศิลปะคริสต์ศาสนาของไอร์แลนด์
นอกจากนั้นแล้วคริสต์ศาสนาของไอร์แลนด์ก็ยังเน้นกิจการต่างที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่คริสต์ศาสนา ราว ค.ศ. 563 ก่อตั้งฐานบนเกาะของสกอตแลนด์ จากที่นั่นโคลัมบาก็ทำการเปลี่ยนชาวพิคท์ที่เป็นเพกันให้มานับถือคริสต์ศาสนา การก่อตั้งสำนักสงฆ์กลายมาเป็นศูนย์กลางสำคัญของวัฒนธรรมคริสเตียนทางตอนเหนือของบริเตนต่อมาอีกเป็นเวลานาน ต่อมากลุ่มนักบวชโคลัมบาก็ย้ายไปยังนอร์ทธัมเบรีย ในปี ค.ศ. 635 ไปก่อตั้งสำนักสงฆ์บนเกาะ ที่ใช้เป็นฐานในการทำการเปลี่ยนศาสนาในประชาคมทางตอนเหนือของอังกฤษ แต่โรมก็ได้เริ่มทำการเปลี่ยนศาสนาของชาวแองโกล-แซ็กซอนจากทางตอนใต้โดยมีฐานอยู่ที่เค้นท์ในปี ค.ศ. 597 ความขัดแย้งระหว่างนักบวชไอร์แลนด์และนักบวชจากโรมเกี่ยวกับวันที่จะสมโภชน์อีสเตอร์นำไปสู่การถอนตัวของขบวนการเผยแพร่ศาสนาไอร์แลนด์จากเกาะกลับไปยังเกาะ แต่ความนิยมในการใช้การตกแต่งแบบไอร์แลนด์ในศิลปะที่สร้างขึ้นในอังกฤษเป็นการแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมทั้งสอง อังกฤษมาได้รับอิทธิพลจากเมดิเตอเรเนียนเพิ่มขึ้น แต่หลังจากที่ศิลปะเคลติกไอร์แลนด์ และศิลปะแองโกล-แซ็กซอนได้ผสานเข้ามาเป็นอย่างมากแล้ว
งานชิ้นสำคัญที่เรียกได้ว่าเป็นศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอนที่แท้จริงคือ “” ของปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 หลังจากนั้นก็เป็นยุคทองของงานโลหร และ งานแกะสลักหิน ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอนก็เกือบถึงจุดสิ้นสุดเมื่อมาถูกรุกรานโดยการปล้นฆ่าของไวกิง และอิทธิพลของรูปลักษณ์จากเมดิเตอเรเนียนที่เพิ่มขึ้นทุกขณะ
หนังสือวิจิตร
ศิลปะไอริชเคลติกตั้งแต่ยุคเหล็กเป็นต้นมาจะเป็นศิลปะที่มีอิทธิพลจากงานโลหะของวัฒนธรรมลาเทเนอเคลติกเช่นที่พบที่ซัททันฮูเป็นงานลักษณะหนึ่งที่สำคัญที่สุดของศิลปะหัตถกรรมประเภทนี้ เมื่อนักสอนศาสนาไอร์แลนด์เริ่มเข้ามาเผยแพร่พระวจนะ ก็จะเป็นที่จะต้องมีหนังสือ และแทบจะตั้งแต่เริ่มต้นนักบวชก็เริ่มตกแต่งประกอบเนื้อหาที่เป็นตัวเขียนด้วยงานศิลปะที่เลียนแบบมาจากลวดลายของงานโลหะ การตกแต่งอักษรตัวแรกให้ผสานกับลายโค้งงอพันไปมารอบตัวอักษร—ที่พบเช่นในงานเขียนหนังสือวิจิตร “” ของคริสต์ศตวรรษที่ 7—เป็นงานที่นำลวดลายเครื่องเคลือบเคลติกและงานโลหะลาเทเนอมาใช้โดยตรง
หลังจาก “” การตกแต่งหนังสือก็เริ่มที่จะซับซ้อนขึ้นและมีการนำลักษณะรูปแบบใหม่จากวัฒนธรรมต่างๆ เข้ามาผสาน หน้าลายพรมs—หน้าหนังสือที่ตกแต่งด้วยลวดลายทั้งหน้าโดยไม่มีบทเขียนใดใด—ก็เริ่มนำมาใช้ โดยเฉพาะเป็นหน้าคั่นระหว่างพระวรสาร ลวดลายเรขาคณิตและลายสอดประสานที่ทำกันอาจจะมีอิทธิพลมาจากอียิปต์ หรือแหล่งอื่นในตะวันออกกลาง ส่วนความนิยมในการใช้รูปสัตว์ในการตกแต่งที่เพิ่มมากขึ้นก็อาจจะมาจากอิทธิพลของของแองโกล-แซ็กซอน อิทธิพลต่างๆ เหล่านี้รวมเข้ากันเป็นลักษณะงานศิลปะที่อาจจะเรียกว่าศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอนใหม่ เช่นในงานหนังสือวิจิตร “” ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ซึ่งเป็นงานแรกที่ใช้ลักษณะดังกล่าว “พระวรสารลินดิสฟาร์น” ก็เป็นตัวอย่างสำคัญอีกตัวอย่างหนึ่ง
“พระวรสารเคลล์ส” อาจจะเขียนขึ้นที่ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 เมื่อนักบวชหนีการรุกรานของไวกิงไปยังไอร์แลนด์หลในปี ค.ศ. 807 ก็อาจจะนำพระวรสารเล่มนี้ติดตัวไปยังเคลล์สในไอร์แลนด์ด้วย “พระวรสารเคลล์ส” เป็นหนังสือที่ตกแต่งอย่างงดงามแพรวพราวด้วยตามแบบฉบับของหนังสือวิจิตรแบบศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน และเป็นหนังสือที่ประกอบด้วยกรรมวิธีและลวดลายต่างๆ ที่ใช้กันในคริสต์ศตวรรษที่ 8
งานโลหะ
ในคริสต์ศตวรรษที่ 7 ที่ใช้กรรมวิธีใหม่เช่นการใช้ที่ทำให้สามารถสร้างงานที่มีความละเอียดขึ้นก็เริ่มเป็นที่นิยมทำกัน ตัวอย่างที่สำคัญที่สุดของศิลปะเกาะก็ได้แก่เข็มกลัดทารา และ ขณะที่เครื่องประดับอัญมณีของคริสต์ศตวรรษที่ 7 เรือศพที่พบที่ในสุสานซัททันฮูแสดงให้เห็นถึงงานศิลปะแองโกล-แซ็กซอนที่สร้างขึ้นก่อนสมัยคริสเตียน งานหลากหลายที่พบที่ซัททันฮูเป็นงานที่แสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญต่างๆ ของในงานแต่ละชิ้น ที่รวมทั้งการประดับตกแต่งโดยวัสดุหลายอย่าง, การแกะสลัก, การตกแต่งด้วยทองถัก, และ
ประติมากรรมหิน
ฝีมือในการสร้างงานโลหะเห็นได้ในงานประติมากรรมแกะสลักหิน ประเพณีไอร์แลนด์ที่รุ่งเรืองอยู่หลายร้อยปีนิยมที่จะติดตั้งกางเขนที่ทำด้วยไม้ภายในคริสต์ศาสนสถาน กางเขนแปลงไปเป็นกางเขนที่สลักด้วยหินที่เรียกว่ามหากางเขนที่ตกแต่งด้วยลวดลายกระหวัดอันละเอียดซับซ้อนที่ใช้โดยช่างทอง
อ้างอิง
- Martin Werner, "Migration and Hiberno-Saxon Art", , vol-8,
- "Hiberno-Saxon style". In Encyclopedia Britannica Online.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศิลปะสมัยการโยกย้ายถิ่นฐาน
- Images from History เก็บถาวร 1999-04-28 ที่ , see "Iron Age Europe".
- Eagle Fibula 2007-12-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at the Walters Art Museum
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha silpasmykaroykyaythinthan xngkvs Migration Period art epnngansilpakhxngklumchnecxrmanikhrahwangsmykaroykyaythinthaninyuorp rahwang kh s 300 cnthung kh s 900 thirwmthngsilpakhxngklumchnecxrmanikhexngbnphakhphunyuorp aela silpaihebxron aesksxn hrux silpaekaa sungepnsilpaphsanrahwangsilpakhxngchawaexngokl aesksxn aela chawekhltbnhmuekaabritich lksnakhxngsilpakkhrxbkhlumhlaylksnatngaet lksnaphhurngkh aela silpasmykaroykyaythinthan Migration Period artswnhnungkhxng silpayukhklangekhmkldthiichbnihlcakkhriststwrrsthi 7 thiphbthisusanfngsphineruxthisttnhuinxngkvsprawtisastrsilpachwngewla kh s 300 cnthung kh s 900phumiphakh yuorpehnux aelaekiywkhxng silpaaexngokl aesksxn silpaihebxron aesksxn silpaekhltiksilpatawntk silpasmykaroykyaythinthanepnsmyprawtisastrsilpathisakhykhxngsilpayukhklangthimainkhriststwrrsthi 3 ckrwrrdiormnkaethbcalm aelathharinkxngthphswnihykepnthharecxrmanikhephimkhunthukkhna dngnnemuxthungkhriststwrrsthi 4 emuxchnhnrukranekhamacnchnephaeyxrmntangtxngthxyrnipthangtawntk iptngthinthanxyutamchayaednkhxngckrwrrdi chawwisikxthekhaiptngthinthanxyuinxitali aelatxmasepn swnthangtxnehnuxkmichawaefrngkhekhaiptngthinthanxyuinkxlaelathangtawntkkhxngeyxrmni aelainkhriststwrrsthi 5 klumchawsaekndienewiythirwmthngaexngekils aesksxn aela cutkedinthangkhamiprukranbrietn emuxmathungplaykhriststwrrsthi 6 ckrwrrdiormntawntkkaethbcaaethnthidwyklumchnthimikhnadelkkwathimixanacthangkaremuxngthiimepnraebiybaebbaephn aetkawrawkhxngrachxanackrecxrmanikhtang aemwarachxanackrehlanicamiechuxchatiphnthuthitangkn aettangkmiwthnthrrmbangxyangthirwmkn edimthichnklumnimiwithichiwitaebbchnrxneraettxmakerimtngthinthanxyangepnkarthawrknmakkhun aelaklayepnekstrkraelakhnhapla hlkthanthangobrankhdiimpraktwamikarsrangngansilpachinihyknkhun echnsingkxsranghruxpratimakrrmchinihy aetcaepnsilpaaebb ekhluxnthi sahrbkarichsxy echnxawuth ekhruxngmux aela ekhruxngpradb silpakhxngchnecxrmanikhaethbthnghmdcaepnekhruxngpradbswntw ekhluxnthiid aela natidtwipkbrangemuxfng ephuxthicaepnskkarawiyyanephuxthiihchwyphithksphuthiyngkhngmichiwitxyu silpakhxngchnecxrmanikhmilksnaednxyusamxyangkhux lksnaphhurngkh polychrome style thimacakkxthphutngthinthanxyuinbriewnthaelda aela layrupstw Animal style thiphbinsaekndienewiy thangtxnehnuxkhxngeyxrmni aela inbriewnaexngokl aesksxnxngkvs aelasudthaykkhux lksnaihebxron aesksxn thiekidephiyngchwrayaewlaxnsnaetkepnsmysilpathirungeruxngthiaesdngkarphsanrahwang lksnastw ekhltik aela lwdlayaelakrrmwithikarsrangngantang ekhadwyknsilpasmykaroykyaythinthanekhruxngpradbekhmkhdxlamannicaksusankhriststwrrsthi 7 thiinpraethseyxrmnilksnaphhurngkh rahwangkhriststwrrsthi 2 chawkxththangtxnitkhxngrsesiykerimniymkarsrangruplksnkhnadelk aela singkhxngthimikarfngpradbdwyhinmikha lksnadngklawthimacakchawsiethiyn aela chawsarmaechiynmixiththiphlcakormnxyubang aela epnlksnaediywknkbthiniymodychawhn nganchinthixaccamichuxesiyngthisudepnnganthiepnswnhnungkhxngkhxngkhriststwrrsthi 4 thiphbinormaeniy thirwmthngekhmkldxinthrithxng phaph 2007 01 14 thi ewyaebkaemchchin layxinthrimacakexechiytawnxxkthiekidkhuncakkaraelkepliyntidtxrahwangbrrphburuschawkxthaelackrwrrdihninxdit echninphhurngkhkhxngkxthikhthiepnruphwehyiywkhxngkhriststwrrsthi 4 phaph 1999 10 18 thi ewyaebkaemchchin cakthangtxnitkhxngrsesiy chawkxthnalksnanganniipyngxitali frngesstxnit aela sepn twxyangsakhykidaekekhmkldtrungxinthrikhxngxxsotrkxthcakesesnainxitali nganxikchinhnungkkhuxphhurngkhkhxngwisikxth phaph 1999 10 10 thi ewyaebkaemchchin khxngphraecaphramhakstriyaehngothelod thiphbinkrusmbtimngkudskkarakhxngrawpi kh s 670 thi imiklcakemuxngothelodinpraethssepn khwamniymxnaephrhlaykhxngnganlksnanicaehnidcakdabphhurngkh phaph 1999 10 14 thi ewyaebkaemchchin thiphbinthibrrcuphrabrmsphkhxngphramhakstriyaefrngkh thangtxnehnuxkhxngethuxkekhaaexlpinkhriststwrrsthi 5 layrupstw karsuksakartkaetngdwylwdlayrupstwerimkhunodyemuxtnkhriststwrrsthi 20 salincdklumlayrupstwkhxngnganthisrangrahwangpi kh s 400 thungpi kh s 900 xxkepnsamchwng aebbsaekndienewiy I II aela III sahrbsilpasmykaroykyaythinthansxnglksnaaerkepnlksnathisakhy aebbsaekndienewiy I erimpraktkhunthangtawntkechiyngehnuxkhxngyuorp thixaccamacakthrrmeniymniymkhxngprachakrrxnerkhxngthunghyasetppkhxngexechiy lksnaerimwiwthnakarmaepnlksnaihmodykarichethkhnikhkaraekathieriykwa maichkbkaraekasaridaelaengininkhriststwrrsthi 5 kartkaetnglayrupstwkcaepntamkhxbnganthiepnlaybid ekinelylksnathiepncring ehnuxcring epnchinswnkhxngrangkaythitkaetngetmphunthiyngwangxyuthnghmd thiepnkarsranglwdlaythiaennipdwylaylaexiydaelasrangkhwamrusukwaepnphaphthietmipdwyphlng twxyangkhxngngandngklwkechndamcakhlum V Snartemo Hagebostad Vest Agder nxrewy aelaekhmkldtrung phaph 2006 06 16 thi ewyaebkaemchchin cak khxngraw kh s 400 thung kh s 450 aebbsaekndienewiy II hlngcakraw kh s 600 aebbsaekndienewiy I kerimesuxmothrmlng aelaaebbsaekndienewiy II kekhamaaethnthi ruplksnkhxnglaystwthiepnaebbehnuxcringaelaepnchinswnkhxngaebbsaekndienewiy I khayip stwinaebbthi II epnstwthngtw yaw aelasxdprasanknepnthrngthimikhwamsmmatr echnhmisxngtwhnhnaekhahaknxyangmikhwamsmmatrepnthrngruphwic twxyangkhxngnganlksnanikidaekfakraepathxng phaph caksththnhu raw kh s 625 xiththiphlkhxngsilpakhristsasna sthabnsasnainsmykaroykyaythinthaninyuorptxntnklaymaepnsthabnthiepntwaethnkhxngxanackhxngchatiinyuorphlngcakkarlmslaykhxngckrwrrdiormn sthabnsasnaepnaehlngthiepnxngkhprakxbkhxngkhwamepnxnhnungxnediywkn aelaepnsthabnediywthiyngehluxxyuthithakarxnurkswthnthrrmkhlassikexaiw emuxkarepliynchnecxrmanikhinyuorptawntkihmanbthuxkhristsasnainkhriststwrrsthi 7 iklcasinsudlng sthabnsasnakklaymamibthbathsakhyinkarepnphuxupthmphsilpa cangnganekhiynhnngsuxwicitraelawsduxupkrnsingkhxngthangsasna hlkthanrabuwalksnanganaebbecxrmanikhesuxmthxylngip khnathilksnaaebbemdietxereniynerimmixiththiphlihehnmakkhun khwamepliynaeplngniekidkhunxyangrwderwinbrrdachawkxthinxitaliaelasepn aetchakwathangtxnehnuxkhxngyuorp thiehnidcak emoraewngechiyngkhxngkhriststwrrsthi 8 thiimmirxngrxykhxngaebbsaekndienewiy II aetaesdngxiththiphlkhxngaebbemdietxereniynsilpaihebxron aesksxnsilpaihebxron aesksxn thimkcaeriykknwa silpaekaa odyechphaathiekiywkbhnngsuxwicitr epnlksnakhxngngansilpathiphbechphaainbrietnihyaelaixraelnd odykarphsanrahwangthrrmeniymniymkhxngecxrmanikh phanthangaexngokl aesksxn kbthrrmeniymniymkhxngekhltik phanthangnkbwchchawixraelnd nganlksnaniehnknepnkhrngaerkinplaykhriststwrrsthi 7 aeladaenintxmainbrietnxikepnewlaraw 150 cnkrathngemuxmathukrukranodyiwkinginkhriststwrrsthi 9 hlngcaknnkepnkarerimtnkhxngsilpaaexngokl aesksxn aetinixraelndnganlksnanidaenintxmacnthungkhriststwrrsthi 12 hlngcaknnkepnsilpaormaensk prawti ekhmkldtrungecxrmanikh khrunghlngkhxngkhriststwrrsthi 4 ixraelndepliynipnbthuxkhristsasnaodykhnankephyaephrsasnacakbrietnaelaaephndinihyyuorpthierimtnkhuninklangkhriststwrrsthi 5 khnaediywknkbthiephknchawaexngekils aesksxn aela cutekhamatngthinthaninxngkvs khwamaetkaeykxyangrunaerngthangkaremuxnginixraelndaelakhwamkhadkarphthnaemuxngepnkarcakdokhrngsrangthangkarpkkhrxngodysthabnsasna sanksngkhcungwiwthnakarkhunmaepnxanacxnsakhykhxngsngkhmkhxngixraelndsungthaihekidlksnangansilpathieriykwangansilpakhristsasnakhxngixraelnd nxkcaknnaelwkhristsasnakhxngixraelndkyngennkickartangthiekiywkhxngkbkarephyaephrkhristsasna raw kh s 563 kxtngthanbnekaakhxngskxtaelnd cakthinnokhlmbakthakarepliynchawphikhththiepnephknihmanbthuxkhristsasna karkxtngsanksngkhklaymaepnsunyklangsakhykhxngwthnthrrmkhrisetiynthangtxnehnuxkhxngbrietntxmaxikepnewlanan txmaklumnkbwchokhlmbakyayipyngnxrththmebriy inpi kh s 635 ipkxtngsanksngkhbnekaa thiichepnthaninkarthakarepliynsasnainprachakhmthangtxnehnuxkhxngxngkvs aetormkiderimthakarepliynsasnakhxngchawaexngokl aesksxncakthangtxnitodymithanxyuthiekhnthinpi kh s 597 khwamkhdaeyngrahwangnkbwchixraelndaelankbwchcakormekiywkbwnthicasmophchnxisetxrnaipsukarthxntwkhxngkhbwnkarephyaephrsasnaixraelndcakekaaklbipyngekaa aetkhwamniyminkarichkartkaetngaebbixraelndinsilpathisrangkhuninxngkvsepnkaraesdngihehnthungkhwamsmphnthrahwangwthnthrrmthngsxng xngkvsmaidrbxiththiphlcakemdietxereniynephimkhun aethlngcakthisilpaekhltikixraelnd aelasilpaaexngokl aesksxnidphsanekhamaepnxyangmakaelw nganchinsakhythieriykidwaepnsilpaihebxron aesksxnthiaethcringkhux khxngplaykhriststwrrsthi 7 hlngcaknnkepnyukhthxngkhxngnganolhr aela nganaekaslkhin inkhriststwrrsthi 9 silpaihebxron aesksxnkekuxbthungcudsinsudemuxmathukrukranodykarplnkhakhxngiwking aelaxiththiphlkhxngruplksncakemdietxereniynthiephimkhunthukkhna hnngsuxwicitr nganhnngsuxwicitrixraelndkhxngkhriststwrrsthi 7 epnnganchinaerkthichinhnungkhxngsilpaihebxron aesksxn hxsmudthriniti dblin silpaixrichekhltiktngaetyukhehlkepntnmacaepnsilpathimixiththiphlcaknganolhakhxngwthnthrrmlaethenxekhltikechnthiphbthisththnhuepnnganlksnahnungthisakhythisudkhxngsilpahtthkrrmpraephthni emuxnksxnsasnaixraelnderimekhamaephyaephrphrawcna kcaepnthicatxngmihnngsux aelaaethbcatngaeterimtnnkbwchkerimtkaetngprakxbenuxhathiepntwekhiyndwyngansilpathieliynaebbmacaklwdlaykhxngnganolha kartkaetngxksrtwaerkihphsankblayokhngngxphnipmarxbtwxksr thiphbechninnganekhiynhnngsuxwicitr khxngkhriststwrrsthi 7 epnnganthinalwdlayekhruxngekhluxbekhltikaelanganolhalaethenxmaichodytrng hlngcak kartkaetnghnngsuxkerimthicasbsxnkhunaelamikarnalksnarupaebbihmcakwthnthrrmtang ekhamaphsan hnalayphrms hnahnngsuxthitkaetngdwylwdlaythnghnaodyimmibthekhiynidid kerimnamaich odyechphaaepnhnakhnrahwangphrawrsar lwdlayerkhakhnitaelalaysxdprasanthithaknxaccamixiththiphlmacakxiyipt hruxaehlngxunintawnxxkklang swnkhwamniyminkarichrupstwinkartkaetngthiephimmakkhunkxaccamacakxiththiphlkhxngkhxngaexngokl aesksxn xiththiphltang ehlanirwmekhaknepnlksnangansilpathixaccaeriykwasilpaihebxron aesksxnihm echninnganhnngsuxwicitr inplaykhriststwrrsthi 7 sungepnnganaerkthiichlksnadngklaw phrawrsarlindisfarn kepntwxyangsakhyxiktwxyanghnung phrawrsarekhlls xaccaekhiynkhunthiinkhriststwrrsthi 8 emuxnkbwchhnikarrukrankhxngiwkingipyngixraelndhlinpi kh s 807 kxaccanaphrawrsarelmnitidtwipyngekhllsinixraelnddwy phrawrsarekhlls epnhnngsuxthitkaetngxyangngdngamaephrwphrawdwytamaebbchbbkhxnghnngsuxwicitraebbsilpaihebxron aesksxn aelaepnhnngsuxthiprakxbdwykrrmwithiaelalwdlaytang thiichkninkhriststwrrsthi 8 nganolha inkhriststwrrsthi 7 thiichkrrmwithiihmechnkarichthithaihsamarthsrangnganthimikhwamlaexiydkhunkerimepnthiniymthakn twxyangthisakhythisudkhxngsilpaekaakidaekekhmkldthara aela khnathiekhruxngpradbxymnikhxngkhriststwrrsthi 7 eruxsphthiphbthiinsusansththnhuaesdngihehnthungngansilpaaexngokl aesksxnthisrangkhunkxnsmykhrisetiyn nganhlakhlaythiphbthisththnhuepnnganthiaesdngihehnthungkhwamechiywchaytang khxnginnganaetlachin thirwmthngkarpradbtkaetngodywsduhlayxyang karaekaslk kartkaetngdwythxngthk aela pratimakrrmhin fimuxinkarsrangnganolhaehnidinnganpratimakrrmaekaslkhin praephniixraelndthirungeruxngxyuhlayrxypiniymthicatidtngkangekhnthithadwyimphayinkhristsasnsthan kangekhnaeplngipepnkangekhnthislkdwyhinthieriykwamhakangekhnthitkaetngdwylwdlaykrahwdxnlaexiydsbsxnthiichodychangthxngxangxingMartin Werner Migration and Hiberno Saxon Art vol 8 ISBN 0 684 18274 2 Hiberno Saxon style In Encyclopedia Britannica Online duephimhnngsuxwicitr silpaaexngokl aesksxn silpaihebxron aesksxn silpayukhklang xngkvssmyaexngokl nxrmnaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb silpasmykaroykyaythinthan Images from History ekbthawr 1999 04 28 thi see Iron Age Europe Eagle Fibula 2007 12 21 thi ewyaebkaemchchin at the Walters Art Museum bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk