บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
เคลต์ หรือ เซลต์ (อังกฤษ: Celts; ออกเสียง: /kelts/ หรือ /selts/) เป็นคำที่ใช้เรียกชนยุโรปที่เดิมพูดหรือยังพูดภาษากลุ่มเคลต์ (Celtic languages) นอกจากนั้นก็ยังเป็นคำที่ใช้ในความหมายกว้าง ๆ ในการบรรยายที่ยังคงรักษาอยู่
เคลต์ในประวัติศาสตร์เป็นกลุ่มชนหลายกลุ่มใน อารยธรรมเริ่มก่อตั้งในสมัยต้นยุคเหล็กในตอนกลางของทวีปยุโรป (สมัยที่ตั้งชื่อตามบริเวณที่เป็นออสเตรียปัจจุบัน) พอมาถึงปลายยุคเหล็ก (สมัยลาแตน) เคลต์ก็ขยายตัวไปในดินแดนต่าง ๆ ที่รวมทั้งทางตะวันตกที่ไปถึงไอร์แลนด์และคาบสมุทรไอบีเรีย ทางตะวันออกไปสุดที่ (Galatia) (กลางอานาโตเลีย) และทางเหนือสุดที่สกอตแลนด์
หลักฐานแรกที่บ่งถึงภาษาเคลต์อยู่ในคำจารึกใน (Lepontic language) จากคริสต์ศตวรรษที่ 6 กลุ่มภาษาเคลต์ภาคพื้นยุโรปมีหลักฐานเฉพาะชื่อสถานที่ (Insular Celtic) ปรากฏในหลักฐานจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 ใน (Ogham inscription) อารยธรรมทางวรรณกรรมเริ่มด้วยการใช้ตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 8 วรรณกรรมไอริชสมัยต้น เช่น "Táin Bó Cúailnge" มีหลักฐานมาจนถึงฉบับแก้ในคริสต์ศตวรรษที่ 12
เมื่อมาถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่หนึ่งหลังการขยายดินแดนของจักรวรรดิโรมันและ (Migration Period) ของกลุ่มชนเจอร์แมนิกแล้ว อารยธรรมเคลต์ก็จำกัดอยู่แต่เพียง (ภาษาเคลต์เกาะ) และก็หยุดใช้กันไปในคริสต์ศตวรรษที่ 6 เคลต์เกาะที่ว่าหมายถึงดินแดนรอบทะเลไอริช รวมทั้งคอร์นวอลล์และเบรอตาญบนสองฝั่งของช่องแคบอังกฤษ
ที่มาของชื่อ
ที่มาของการเรียกชาวเคลต์มีมาตั้งแต่เป็นประวัติที่ไม่มีหลักฐานแน่นอนและเป็นการสันนิษฐานที่ยังคงเป็นที่ขัดแย้งกันอยู่ โดยเฉพาะในการเรียกชื่อกลุ่มมีหลักฐานในการใช้คำว่า "" (pict) หลายแห่งในการเรียกผู้ที่ตั้งถิ่นฐานในไอร์แลนด์และบริเตนก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 18
ภาษาละติน "Celtus" (พหูพจน์: "Celti" หรือ "Celtae") กรีก: Κέλτης (พหูพจน์: Κέλται หรือ Κελτός, พหูพจน์: Κελτοί, "Keltai" หรือ "Keltoi") ดูเหมือนว่าจะมีรากฐานมาจากภาษาท้องถิ่นของเคลต์ แต่หลักฐานแรกที่บันทึกเกี่ยวกับชาวเคลต์ในชื่อ "Κελτοί" ("Κeltoi") เขียนโดยนักประวัติศาสตร์กรีก (Hecataeus of Miletus) ราว 517 ปีก่อนคริสต์ศักราช ที่กล่าวถึงเมือง "Massilia" (มาร์เซย์ ปัจจุบัน) ที่อยู่ใกล้เคลต์ และกล่าวถึงเมืองเคลต์ชื่อ "Nyrex" (อาจจะเป็นเมืองนอร์เรียในออสเตรียปัจจุบัน) เฮโรโดทัสนักประวัติศาสตร์กรีกอีกผู้หนึ่งดูเหมือนจะกล่าวว่าเคลต์ตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณต้นแม่น้ำดานูบและ/หรือในไอบีเรีย
คำว่า "เคลต์" ในภาษาอังกฤษเป็นคำใหม่ที่ใช้ในงานเขียนโดย (Edward Lhuyd) ในปี ค.ศ. 1707 งานเขียนของลุยด์และผู้อื่นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 17 ก่อให้เกิดความสนใจในหมู่นักวิชาการในการศึกษาเกี่ยวกับภาษาและประวัติของผู้ตั้งถิ่นฐานในบริเตนใหญ่ในยุคแรก
ภาษาละตินคำว่า "Gallus" (กอลลัส) เดิมอาจจะมาจากชาวเคลต์หรือชื่อเผ่าพันธ์ที่นำมาใช้ราวต้น 400 ปีก่อนคริสต์ศตวรรษในช่วงที่ชาวเคลต์ขยายดินแดนไปยังอิตาลี รากของคำอาจจะมาจากภาษาเคลต์ดั้งเดิม "galno" ที่แปลว่า "อำนาจ" หรือ "ความแข็งแกร่ง" ภาษากรีก "Galatai" (กาลาไต) ดูเหมือนว่ามาจากรากเดียวกันที่ขอยืมโดยตรงมาจากที่สันนิษฐานกันว่าเป็นภาษาเคลต์ที่กลายมาเป็นคำว่า "Galli" (กอลไล)
ภาษาอังกฤษคำว่า "Gaul" (กอล) มาจากภาษาฝรั่งเศส "Gaule" และ "Gaulois" ที่มาจากภาษาละติน "Gallia" และ "Gallus, -icus" ตามลำดับ แต่สระประสมสองเสียง "au" ชี้ให้เห็นว่าเป็นคำที่มาจากแหล่งอื่น ที่น่าจะเป็นการแปลงของภาษาโรมานซ์ของคำจากภาษาเยอรมันว่า "Walha-" ภาษาอังกฤษคำว่า "Welsh" เดิมมาจากคำว่า "wælisc" จากภาษาแองโกล-แซ็กซอนของคำว่า "walhiska-" ที่เป็นคำภาษาเจอร์แมนิกที่ใช้เรียกชาวต่างประเทศ
"ความเป็นเคลต์" (Celticity) โดยทั่วไปมักจะหมายถึงการมีวัฒนธรรมที่ร่วมกันหรือใกล้เคียงกันของกลุ่มชนที่มีรากฐานมาจากความคล้ายคลึงกันทางภาษา, เครื่องใช้สอย, ระบบสังคม และ (Celtic mythology|mythological]] ทฤษฎีก่อนหน้านี้รวมถึงความคล้ายคลึงทางชาติพันธุ์ด้วยแต่ทฤษฎีในสมัยปัจจุบันจะเน้นแต่เฉพาะความคล้ายคลึงกันทางวัฒนธรรมและภาษาเท่านั้น อารยธรรมเคลต์มีลักษณะแตกต่างออกไปหลายอย่างแต่สิ่งที่คล้ายคลึงกันระหว่างความแตกต่างกันเหล่านี้อยู่ที่ภาษาเคลต์
"ของเคลต์" หรือ "เคลต์" (Celtic) เป็นคำที่ใช้ในการบรรยายตระกูลภาษาและโดยทั่วไปหมายถึงภาษา "ของชาวเคลต์" หรือภาษา "ในรูปแบบของชาวเคลต์" และยังใช้ในการบรรยายถึงวัฒนธรรมทางโบราณคดีที่พบในวัตถุที่ขุดพบ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัตถุที่ขุดพบอยู่ที่คำจารึกบนวัตถุ
ในปัจจุบันคำว่า "เคลต์" โดยทั่วไปใช้ในการบรรยายภาษาและอารยธรรมของไอร์แลนด์, สกอตแลนด์, เวลส์, คอร์นวอลล์, เกาะแมนและ หรือที่เรียกว่า (Six Celtic Nations) ในปัจจุบันยังมีบริเวณสี่บริเวณที่ยังใช้ภาษาเคลต์เป็นภาษาแม่อยู่บ้าง: เกลิกไอริช, , เวลส์ และเบรอตาญ และอีกสองบริเวณที่เพิ่งเริ่มเข้ามาคอร์นิช (หนึ่งใน (Brythonic languages)) และ (หนึ่งใน (Goidelic languages)) นอกจากนั้นก็ยังมีการพยายามที่จะฟื้นฟูการใช้ (Cumbric language) (หนึ่งในจากทางตะวันตกเฉียงเหนือของอังกฤษและตะวันตกเฉียงใต้ของสกอตแลนด์)
"เคลต์" บางครั้งก็ใช้ในการบรรยายอาณาบริเวณในแผ่นดินใหญ่ยุโรป ที่มีรากฐานมาจากเคลต์แต่ไม่ได้ใช้ภาษาเคลต์ซึ่งได้แก่บริเวณทางตะวันตกของคาบสมุทรไอบีเรีย (โปรตุเกส) ทางตอนกลางตอนเหนือของสเปน (กาลิเซีย, อัสตูเรียส, กันตาเบรีย, กัสติยาและเลออน, เอซเตรมาดูรา) และบางส่วนของฝรั่งเศส
"" (Continental Celtic) หมายถึงผู้ที่พูดภาษาเคลต์บนแผ่นดินใหญ่ยุโรป ส่วน "" (Insular Celts) หมายถึงผู้ที่พูดภาษาเคลต์บน ผู้สืบเชื้อสายเคลต์ในที่มาจากชาวเคลต์เกาะจากทางตะวันตกเฉียงใต้ของอังกฤษจึงจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกัน
ที่มาทางภูมิศาสตร์
กลุ่มภาษาเคลต์เป็นสาขาหนึ่งของตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน เมื่อผู้ใช้ภาษากลุ่มเคลต์เข้ามามีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ราว 400 ปีก่อนคริสต์ศักราช (เมื่อ (Brennus) หัวหน้าเผ่าหนึ่งของกอลโจมตีโรม เมื่อ 387 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ก็ได้แยกตัวเป็นกลุ่มภาษาย่อยแล้วและแผ่ขยายไปทั่วยุโรปตอนกลาง คาบสมุทรไอบีเรีย ไอร์แลนด์ และบริเตน
นักวิชาการบางท่านมีความเห็นว่า (Urnfield culture) ของทางด้านเหนือของเยอรมนีและเนเธอร์แลนด์เป็นบริเวณต้นกำเนิดของเคลต์ที่เป็นอารยธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของสาขาอารยธรรมตระกูลอินโด-ยูโรเปียน อารยธรรมนี้มีศูนย์กลางอยู่ตอนกลางของทวีปยุโรป ระหว่างปลายยุคสำริดตั้งแต่ราว 1200 ปีก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งถึง 700 ปีก่อนคริสต์ศักราชที่สืบเนื่องมาจาก (Únětice culture) และ (Tumulus cultures) ระหว่างสมัยอารยธรรมเอิร์นฟีลด์ก็มีขยายจำนวนประชากรขึ้นเป็นจำนวนมากในบริเวณที่ว่าซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการปรับปรุงวิธีการเกษตรกรรม นักประวัติศาสตร์กรีก (Ephorus) แห่งไซม์ในเอเชียไมเนอร์บันทึกเมื่อสี่ร้อยปีก่อนคริสต์ศักราชว่าชาวเคลต์มาจากเกาะที่ปากแม่น้ำไรน์ผู้ถูก "ขับจากบริเวณนั้นเพราะสงครามที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ และความรุนแรงเมื่อน้ำทะเลสูงขึ้น"
การเผยแพร่ของการตีเหล็กเป็นการวิวัฒนาการของโดยตรงจาก (ราว 700 ถึง 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ภาษาเคลต์ดั้งเดิมที่เป็นภาษาที่มาก่อนภาษากลุ่มเคลต์เชื่อกันว่าเป็นภาษาที่ใช้พูดในปลายสมัยเอิร์นฟีลด์หรือต้นสมัยฮัลชตัทเมื่อต้นพันปีก่อนคริสต์ศักราช การแพร่ขยายของกลุ่มภาษาเคลต์ไปยังไอบีเรีย ไอร์แลนด์ และบริเตนสันนิษฐานกันว่าเกิดขึ้นราวครึ่งแรกของพันปีก่อนคริสต์ศักราช -- จากหลักฐานการฝังรถม้ากับผู้ตายที่พบในอังกฤษที่คาดว่าเกิดขึ้นราว 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช หลายร้อยปีต่อมากลุ่มภาษาเคลต์ก็แบ่งแยกออกเป็น (Celtiberian language), และ
อารยธรรมฮัลชตัทตามมาด้วยวัฒนธรรมลาแตนของยุโรปตอนกลางและระหว่างปลายก็ค่อย ๆ กลายเป็นอารยธรรมเคลต์ แม่น้ำหลายแม่น้ำที่มีชื่อเป็นภาษาเคลต์พบในบริเวณตอนบนของแม่น้ำดานูบและแม่น้ำไรน์ที่นักวิชาการเกี่ยวกับอารยธรรมเคลต์สันนิษฐานกันว่าเป็นบริเวณที่เป็นบ่อเกิดของชาติพันธุ์ (ethnogenesis) เคลต์
นักประวัติศาสตร์กรีก (Diodorus Siculus) และสตราโบ (Strabo) ต่างก็สันนิษฐานว่าศูนย์กลางของอารยธรรมเคลต์อยู่ทางใต้ของฝรั่งเศส ซิคัลลัสกล่าวว่ากอลอยู่ทางเหนือของเคลต์ และโรมันเรียกคนทั้งสองกลุ่มว่า "กอล" ก่อนหน้าที่จะพบและวัฒนธรรมลาแตนเป็นที่เชื่อกันว่าศูนย์กลางของอารยธรรมเคลต์อยู่ทางไต้ของฝรั่งเศส (สารานุกรมบริตานิคา ค.ศ. 1813)
อัลมาโกร-กอร์เบอา เสนอว่าที่มาของอารยธรรมเคลต์เริ่มขึ้นเมื่อสามพันปีก่อนคริสต์ศักราชที่เดิมมีต้นตอมาจาก (Bell Beaker culture) ซึ่งเป็นการทำให้อารยธรรมนี้เผยแพร่ไปทั่วยุโรปตะวันตกและสร้างความแตกต่างในหมู่ชาวเคลต์เอง นอกจากนั้นก็ยังเป็นการก่อสร้างประเพณีโบราณต่าง ๆ
ขณะเดียวกันการค้นคว้าทางด้านพันธุศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และโบราณคดีและนักเขียนสตีเฟน ออปเพนไฮเมอร์ก็เสนอว่าเคลต์เป็นชนเมดิเตอร์เรเนียนที่เข้ามาตั้งถิ่นฐานครั้งแรกทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศสในปลายยุคน้ำแข็งครั้งสุดท้ายราว 11,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช และตั้งแต่นั้นมาก็อาจจะรวมตัวกับชนกลุ่มบาสก์ดั้งเดิม และขยายตัวไปยังอิตาลี สเปน เกาะอังกฤษ และเยอรมนี ซึ่งตรงกับตำนานที่มาจากเคลต์ที่บันทึกในสมัยกลางของสกอตแลนด์และไอร์แลนด์ที่กล่าวเป็นนัยยะถึงต้นตอว่ามาจากอานาโตเลีย และต่อมาไอบีเรียโดยทางอียิปต์ แต่ในหนังสือ "ที่มาของชนบริติช" (The Origins of the British) ฉบับปรับปรุง ค.ศ. 2007 ออปเพนไฮเมอร์กล่าวค้านทฤษฎีเดิมว่าทั้งชาวแองโกล-แซกซันและชาวเคลต์ไม่มีอิทธิพลต่อพันธุกรรมของผู้อยู่อาศัยในหมู่เกาะบริเตนเท่าใดนักและบรรพบุรุษของชนบริติชส่วนใหญ่สืบมาจากชนไอบีเรียของยุคหินเก่าที่ปัจจุบันคือชาวบาสก์
อ้างอิง
- Koch, John (2005). Celtic Culture : A Historical Encyclopedia. ABL-CIO. pp. xx. ISBN .
- Britannica (Turkey) People and Culture
- Julius Caesar, "Commentarii de Bello Gallico" s:Commentaries on the Gallic War/Book 1: "All Gaul is divided into three parts, one of which the Belgae live, another in which the Aquitani live, and the third are those who in their own tongue are called Celts ("Celtae"), in our language Gauls ("Galli").
- (Lhuyd, p. 290) Lhuyd, E. "Archaeologia Britannica; An account of the languages, histories, and customs of the original inhabitants of Great Britain." (reprint ed.) Irish University Press, 1971.
- Neilson, William A., บ.ก. (1957). Webster's New International Dictionary of the English Language, second edition. G & C Merriam Co. p. 2903.
- 2001 p 95. La lengua de los Celtas y otros pueblos indoeuropeos de la península ibérica. In Almagro-Gorbea, M., Mariné, M. and Álvarez-Sanchís, J.R. (eds) Celtas y Vettones, pp. 115-121. Ávila: Diputación Provincial de Ávila.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ เคลต์ วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศิลปะเคลต์ วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ แผนที่เกี่ยวกับเคลต์ วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ วัฒนธรรมฮัลชตัท
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidbthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha ekhlt hrux eslt xngkvs Celts xxkesiyng kelts hrux selts epnkhathiicheriykchnyuorpthiedimphudhruxyngphudphasaklumekhlt Celtic languages nxkcaknnkyngepnkhathiichinkhwamhmaykwang inkarbrryaythiyngkhngrksaxyukarkracaykhxngchawekhltinthwipyuorp xanabriewnhlkin inkhriststwrrsthi 6 kxnkhristskrach chwngthichawekhltkhyaytwmakinkhriststwrrsthi 3 kxnkhristskrach briewnlusithaeniyinixbieriythiimthrabaenwamihruxim thnghk thirwmphuphudphasaklumekhltmaepn briewnthiyngmikarichphasaklumekhltxyangkwangkhwanginpccubn ekhltinprawtisastrepnklumchnhlayklumin xarythrrmerimkxtnginsmytnyukhehlkintxnklangkhxngthwipyuorp smythitngchuxtambriewnthiepnxxsetriypccubn phxmathungplayyukhehlk smylaaetn ekhltkkhyaytwipindinaedntang thirwmthngthangtawntkthiipthungixraelndaelakhabsmuthrixbieriy thangtawnxxkipsudthi Galatia klangxanaoteliy aelathangehnuxsudthiskxtaelnd hlkthanaerkthibngthungphasaekhltxyuinkhacarukin Lepontic language cakkhriststwrrsthi 6 klumphasaekhltphakhphunyuorpmihlkthanechphaachuxsthanthi Insular Celtic praktinhlkthancakkhriststwrrsthi 4 in Ogham inscription xarythrrmthangwrrnkrrmerimdwykarichtngaetrawkhriststwrrsthi 8 wrrnkrrmixrichsmytn echn Tain Bo Cuailnge mihlkthanmacnthungchbbaekinkhriststwrrsthi 12 emuxmathungtnkhriststwrrsthihnunghlngkarkhyaydinaednkhxngckrwrrdiormnaela Migration Period khxngklumchnecxraemnikaelw xarythrrmekhltkcakdxyuaetephiyng phasaekhltekaa aelakhyudichknipinkhriststwrrsthi 6 ekhltekaathiwahmaythungdinaednrxbthaelixrich rwmthngkhxrnwxllaelaebrxtaybnsxngfngkhxngchxngaekhbxngkvsthimakhxngchuxthitngthinthankhxngchawekhltinkhxrnwxllhinthuortkaetngdwylwdlayekhltthihmubanbullxninixraelnd thimakhxngkareriykchawekhltmimatngaetepnprawtithiimmihlkthanaennxnaelaepnkarsnnisthanthiyngkhngepnthikhdaeyngknxyu odyechphaainkareriykchuxklummihlkthaninkarichkhawa pict hlayaehnginkareriykphuthitngthinthaninixraelndaelabrietnkxnkhriststwrrsthi 18 phasalatin Celtus phhuphcn Celti hrux Celtae krik Kelths phhuphcn Keltai hrux Keltos phhuphcn Keltoi Keltai hrux Keltoi duehmuxnwacamirakthanmacakphasathxngthinkhxngekhlt aethlkthanaerkthibnthukekiywkbchawekhltinchux Keltoi Keltoi ekhiynodynkprawtisastrkrik Hecataeus of Miletus raw 517 pikxnkhristskrach thiklawthungemuxng Massilia maresy pccubn thixyuiklekhlt aelaklawthungemuxngekhltchux Nyrex xaccaepnemuxngnxreriyinxxsetriypccubn ehorodthsnkprawtisastrkrikxikphuhnungduehmuxncaklawwaekhlttngthinthanxyubriewntnaemnadanubaela hruxinixbieriy khawa ekhlt inphasaxngkvsepnkhaihmthiichinnganekhiynody Edward Lhuyd inpi kh s 1707 nganekhiynkhxngluydaelaphuxuninplaykhriststwrrsthi 17 kxihekidkhwamsnicinhmunkwichakarinkarsuksaekiywkbphasaaelaprawtikhxngphutngthinthaninbrietnihyinyukhaerk phasalatinkhawa Gallus kxlls edimxaccamacakchawekhlthruxchuxephaphnththinamaichrawtn 400 pikxnkhriststwrrsinchwngthichawekhltkhyaydinaednipyngxitali rakkhxngkhaxaccamacakphasaekhltdngedim galno thiaeplwa xanac hrux khwamaekhngaekrng phasakrik Galatai kalait duehmuxnwamacakrakediywknthikhxyumodytrngmacakthisnnisthanknwaepnphasaekhltthiklaymaepnkhawa Galli kxlil phasaxngkvskhawa Gaul kxl macakphasafrngess Gaule aela Gaulois thimacakphasalatin Gallia aela Gallus icus tamladb aetsraprasmsxngesiyng au chiihehnwaepnkhathimacakaehlngxun thinacaepnkaraeplngkhxngphasaormanskhxngkhacakphasaeyxrmnwa Walha phasaxngkvskhawa Welsh edimmacakkhawa waelisc cakphasaaexngokl aesksxnkhxngkhawa walhiska thiepnkhaphasaecxraemnikthiicheriykchawtangpraeths khwamepnekhlt Celticity odythwipmkcahmaythungkarmiwthnthrrmthirwmknhruxiklekhiyngknkhxngklumchnthimirakthanmacakkhwamkhlaykhlungknthangphasa ekhruxngichsxy rabbsngkhm aela Celtic mythology mythological thvsdikxnhnanirwmthungkhwamkhlaykhlungthangchatiphnthudwyaetthvsdiinsmypccubncaennaetechphaakhwamkhlaykhlungknthangwthnthrrmaelaphasaethann xarythrrmekhltmilksnaaetktangxxkiphlayxyangaetsingthikhlaykhlungknrahwangkhwamaetktangknehlanixyuthiphasaekhlt khxngekhlt hrux ekhlt Celtic epnkhathiichinkarbrryaytrakulphasaaelaodythwiphmaythungphasa khxngchawekhlt hruxphasa inrupaebbkhxngchawekhlt aelayngichinkarbrryaythungwthnthrrmthangobrankhdithiphbinwtthuthikhudphb khwamsmphnthrahwangphasaaelawtthuthikhudphbxyuthikhacarukbnwtthu inpccubnkhawa ekhlt odythwipichinkarbrryayphasaaelaxarythrrmkhxngixraelnd skxtaelnd ewls khxrnwxll ekaaaemnaela hruxthieriykwa Six Celtic Nations inpccubnyngmibriewnsibriewnthiyngichphasaekhltepnphasaaemxyubang eklikixrich ewls aelaebrxtay aelaxiksxngbriewnthiephingerimekhamakhxrnich hnungin Brythonic languages aela hnungin Goidelic languages nxkcaknnkyngmikarphyayamthicafunfukarich Cumbric language hnungincakthangtawntkechiyngehnuxkhxngxngkvsaelatawntkechiyngitkhxngskxtaelnd ekhlt bangkhrngkichinkarbrryayxanabriewninaephndinihyyuorp thimirakthanmacakekhltaetimidichphasaekhltsungidaekbriewnthangtawntkkhxngkhabsmuthrixbieriy oprtueks thangtxnklangtxnehnuxkhxngsepn kaliesiy xstueriys kntaebriy kstiyaaelaelxxn exsetrmadura aelabangswnkhxngfrngess Continental Celtic hmaythungphuthiphudphasaekhltbnaephndinihyyuorp swn Insular Celts hmaythungphuthiphudphasaekhltbn phusubechuxsayekhltinthimacakchawekhltekaacakthangtawntkechiyngitkhxngxngkvscungcdxyuinklumediywknthimathangphumisastraelawthnthrrmlaaetnodythwip sunyklangxanabriewnhlchtth HaC 800 pikxn kh s siehluxng briewntxmathiidrbxiththiphlkhxnghlchtth raw 500 pikxn kh s HaD siehluxngxxn sunyklangxanabriewnlaaetn 450 pikxn kh s siekhiyw briewntxmathiidrbxiththiphlkhxnglaaetn raw 50 pikxn kh s siekhiywxxn xanabriewnkhxngklumekhltsakhy khxngplaysmylaaetnmichuxrabuiw klumphasaekhltepnsakhahnungkhxngtrakulphasaxinod yuorepiyn emuxphuichphasaklumekhltekhamamihlkthanthangprawtisastrraw 400 pikxnkhristskrach emux Brennus hwhnaephahnungkhxngkxlocmtiorm emux 387 pikxnkhristskrach kidaeyktwepnklumphasayxyaelwaelaaephkhyayipthwyuorptxnklang khabsmuthrixbieriy ixraelnd aelabrietn nkwichakarbangthanmikhwamehnwa Urnfield culture khxngthangdanehnuxkhxngeyxrmniaelaenethxraelndepnbriewntnkaenidkhxngekhltthiepnxarythrrmthiepnexklksnkhxngsakhaxarythrrmtrakulxinod yuorepiyn xarythrrmnimisunyklangxyutxnklangkhxngthwipyuorp rahwangplayyukhsaridtngaetraw 1200 pikxnkhristskrachcnkrathngthung 700 pikxnkhristskrachthisubenuxngmacak Unetice culture aela Tumulus cultures rahwangsmyxarythrrmexirnfildkmikhyaycanwnprachakrkhunepncanwnmakinbriewnthiwasungxaccaepnphlmacakkarprbprungwithikarekstrkrrm nkprawtisastrkrik Ephorus aehngisminexechiyimenxrbnthukemuxsirxypikxnkhristskrachwachawekhltmacakekaathipakaemnairnphuthuk khbcakbriewnnnephraasngkhramthiekidkhunbxy aelakhwamrunaerngemuxnathaelsungkhun karephyaephrkhxngkartiehlkepnkarwiwthnakarkhxngodytrngcak raw 700 thung 500 pikxnkhristskrach phasaekhltdngedimthiepnphasathimakxnphasaklumekhltechuxknwaepnphasathiichphudinplaysmyexirnfildhruxtnsmyhlchtthemuxtnphnpikxnkhristskrach karaephrkhyaykhxngklumphasaekhltipyngixbieriy ixraelnd aelabrietnsnnisthanknwaekidkhunrawkhrungaerkkhxngphnpikxnkhristskrach cakhlkthankarfngrthmakbphutaythiphbinxngkvsthikhadwaekidkhunraw 500 pikxnkhristskrach hlayrxypitxmaklumphasaekhltkaebngaeykxxkepn Celtiberian language aela xarythrrmhlchtthtammadwywthnthrrmlaaetnkhxngyuorptxnklangaelarahwangplaykkhxy klayepnxarythrrmekhlt aemnahlayaemnathimichuxepnphasaekhltphbinbriewntxnbnkhxngaemnadanubaelaaemnairnthinkwichakarekiywkbxarythrrmekhltsnnisthanknwaepnbriewnthiepnbxekidkhxngchatiphnthu ethnogenesis ekhlt nkprawtisastrkrik Diodorus Siculus aelastraob Strabo tangksnnisthanwasunyklangkhxngxarythrrmekhltxyuthangitkhxngfrngess sikhllsklawwakxlxyuthangehnuxkhxngekhlt aelaormneriykkhnthngsxngklumwa kxl kxnhnathicaphbaelawthnthrrmlaaetnepnthiechuxknwasunyklangkhxngxarythrrmekhltxyuthangitkhxngfrngess saranukrmbritanikha kh s 1813 xlmaokr kxrebxa esnxwathimakhxngxarythrrmekhlterimkhunemuxsamphnpikxnkhristskrachthiedimmitntxmacak Bell Beaker culture sungepnkarthaihxarythrrmniephyaephripthwyuorptawntkaelasrangkhwamaetktanginhmuchawekhltexng nxkcaknnkyngepnkarkxsrangpraephniobrantang khnaediywknkarkhnkhwathangdanphnthusastr prawtisastr aelaobrankhdiaelankekhiynstiefn xxpephnihemxrkesnxwaekhltepnchnemdietxrereniynthiekhamatngthinthankhrngaerkthangtxnitkhxngpraethsfrngessinplayyukhnaaekhngkhrngsudthayraw 11 000 pikxnkhristskrach aelatngaetnnmakxaccarwmtwkbchnklumbaskdngedim aelakhyaytwipyngxitali sepn ekaaxngkvs aelaeyxrmni sungtrngkbtananthimacakekhltthibnthukinsmyklangkhxngskxtaelndaelaixraelndthiklawepnnyyathungtntxwamacakxanaoteliy aelatxmaixbieriyodythangxiyipt aetinhnngsux thimakhxngchnbritich The Origins of the British chbbprbprung kh s 2007 xxpephnihemxrklawkhanthvsdiedimwathngchawaexngokl aesksnaelachawekhltimmixiththiphltxphnthukrrmkhxngphuxyuxasyinhmuekaabrietnethaidnkaelabrrphburuskhxngchnbritichswnihysubmacakchnixbieriykhxngyukhhinekathipccubnkhuxchawbaskxangxingKoch John 2005 Celtic Culture A Historical Encyclopedia ABL CIO pp xx ISBN 978 1851094400 Britannica Turkey People and Culture Julius Caesar Commentarii de Bello Gallico s Commentaries on the Gallic War Book 1 All Gaul is divided into three parts one of which the Belgae live another in which the Aquitani live and the third are those who in their own tongue are called Celts Celtae in our language Gauls Galli Lhuyd p 290 Lhuyd E Archaeologia Britannica An account of the languages histories and customs of the original inhabitants of Great Britain reprint ed Irish University Press 1971 ISBN 0 7165 0031 0 Neilson William A b k 1957 Webster s New International Dictionary of the English Language second edition G amp C Merriam Co p 2903 2001 p 95 La lengua de los Celtas y otros pueblos indoeuropeos de la peninsula iberica In Almagro Gorbea M Marine M and Alvarez Sanchis J R eds Celtas y Vettones pp 115 121 Avila Diputacion Provincial de Avila duephimprawtisastryuorp prawtisastrxngkvs prawtisastreyxrmniaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb ekhlt wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb silpaekhlt wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb aephnthiekiywkbekhlt wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb wthnthrrmhlchtth bthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk