กันทรริยามหาเทวมนเทียร (เทวนาครี: कंदारिया महादेव मंदिर, Kandāriyā Mahādeva Mandir) แปลว่า "มหาเทพแห่งถ้ำ" เป็นโบสถ์พราหมณ์ที่ใหญ่ที่สุดและวิจิตรที่สุดในบรรดาหมู่มนเทียรยุคกลางที่พบในเมือง รัฐมัธยประเทศ ประเทศอินเดีย และได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในตัวอย่างที่ดีที่สุดของมนเทียรที่สามารถคงสภาพมาจนถึงปัจจุบัน
กันทาริยามหาเทวมนเทียร | |
---|---|
ศาสนา | |
ศาสนา | ศาสนาฮินดู |
เขต | |
เทพ | พระศิวะ (มหาเทวะ) |
ที่ตั้ง | |
ที่ตั้ง | |
รัฐ | มัธยประเทศ |
ประเทศ | อินเดีย |
พิกัดภูมิศาสตร์ | 24°51′11″N 79°55′11″E / 24.8530°N 79.9197°E |
สถาปัตยกรรม | |
ประเภท | อินเดียเหนือ |
ผู้สร้าง | |
เสร็จสมบูรณ์ | ราวปี 1030 |
ที่ตั้ง
กันทาริยามหาเทวมนเทียรตั้งอยู่ใน รัฐมัธยประเทศใน ตั้งอยู่ในหมู่บ้าน และเป็นหนึ่งในหมู่มนเทียรที่กินพื้นที่ราว 6 ตารางกิโลเมตร (2.3 ตารางไมล์) มนเทียรนี้ตั้งอยู่ในส่วนตะวันตกของหมู่บ้าน ทางตะวันตกของมนเทียรพระวิษณุ
หมู่มนเทียรแห่งหมู่บ้านขชุราโหนั้นตั้งอยู่ที่ความสูง 282 เมตร (925 ฟุต) และเชื่อมต่อกับทั้งทางถนน, ทางราง และทางอากาศ ขชุราโหนั้นตั้งอยู่ 55 กิโลเมตร (34 ไมล์) ทางใต้ของ, 47 กิโลเมตร (29 ไมล์) ทางตะวันออกจากตัวเมือง, 43 กิโลเมตร (27 ไมล์) จาก, 175 กิโลเมตร (109 ไมล์) ทางรถจากฌันสีทางเหนือ และ 600 กิโลเมตร (370 ไมล์) ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเดลี ขชุราโหตั้งอยู่ห่างจากสถานีรถไฟ 9 กิโลเมตร (5.6 ไมล์) และอยู่ภายใต้พื้นที่บริการของ (รหัสทีาอากาศยาน IATA: HJR) ซึ่งมีเที่ยวบินระหว่างขชุราโหกับเดลี, อัคระ และ มุมไบ ตัวท่าอากศยานตั้งอยู่ห่างออกไป 6 กิโลเมตร (3.7 ไมล์) จากมนเทียร
ประวัติ
ขชุราโหในอดีตเคยเป็นราชธานีของจักรวรรดิ กันทาริยามหาเทวมนเทียรซึ่งเป็นหนึ่งในมนเทียรที่มีการบำรุงรักษาไว้ได้ดีที่สุดจากยุคกลางของอินเดีย นั้นถือว่ามีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาหมู่มนเทียรทางตะวันตกซึ่งสร้างขึ้นโดยผู้ปกครองชาวจันเทละ เทพเจ้าองค์ประธานของมนเทียรนี้คือพระศิวะซึ่งประดิษฐานอยู่ภายในครรภคฤห์ของมนเทียร
กันทาริยามหาเทวมนเทียรสร้างขึ้นในรัชสมัยของ (ครองราชย์ 1003-1035) ในยุคสมัยต่าง ๆ ของจักรวรรดิจ้นเทละได้มีการสร้างมนเทียรที่มีชื่อเสียงหลายแห่งเพื่อถวายบูชาแด่พระวิษณุ, พระศิวะ, พระสูรยะ, พระศักติในศาสนาฮินดู และตีรถังกรต่าง ๆ ในศาสนาไชนะ พระเจ้าวิทยธารหรือ “บีดา” (Bida) ตามบันทึกของนักประวัติศาสตร์มุสลิม ทรงเป็นผู้ปกครองที่มีอำนาจมาก และเคยต่อสู้กับหลังถูกรุกรานในปี 1019 ศึกนี้ไม่สามารถหาผู้ชนะได้ และมะห์มุดก็ได้เดินทางกลับกันซี ก่อนจะทำสงครามต่อพระเจ้าวิทยธารอีกครั้งในปี 1022 มะห์มุดได้โจมตี แต่การยึดป้อมนั้นไม่สำเร็จและถูกยกเลิกไป ท้ายที่สุดทั่งมะห์มุดและพระเจ้าวิทยธารได้ตกลงสงบศึกกัน, ตกลงเป็นมิตรและแลกเปลี่ยนของขวัญซึ่งกันและกัน พระเจ้าวิทยธารฉลองชัยชนะเหนือมะห์มุดและผู้ปกครองอื่น ๆ ด้วยการสร้างกันทาริยามหาเทวมนเทียรขึ้น เพื่อถวายบูชาแด่พระศิวะ เทพเจ้าประจำตระกูลของพระองค์ จากการศึกษาตีความจารึกที่พบบนของมณฑปของมนเทียร พบว่าระบุชื่อผู้ก่อสร้างคือ วิริมทะ (Virimda) ที่ซึ่งตีความว่าเป็นอีกนามหนึ่งของพระเจ้าวิทยธาร การก่อสร้างนั้นดำเนินขึ้นระหว่างปี 1025 และ 1050
หมู่มนเทียรโดยรอบแห่งขชุราโห รวมถึงกันทาริยามหาเทวมนเทียร ได้รับการรับรองสถาเป็นแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกในปี 1986 ด้วยเกณฑ์ข้อ III สำหรับผลงานสร้างสรรค์ทางศิลปะ และเกณฑ์ข้อ V สำหรับวัฒนธรรมของชาวจันเทละที่เป็นที่นิยมในดินแดนจนกระทั่งถูกรุกรานโดยมุสลิมในปี 1202
องค์ประกอบ
กันทาริยามหาเทวมนเทียรมีความสูง 31 เมตร (102 ฟุต) และตั้งอยู่ในหมู่มนเทียรทางตะวันตก มีขนาดใหญ่ที่สุดในบรรดาทั้งสามกลุ่มของโบราณสถานแห่งขชุราโห หมู่มนเทียรตะวันตกซึ่งประกอบด้วยมนเทียรกันทาริยา, มตังเกศวร (Matangeshwara) และ นั้นมีการจัดเรียงที่เปรียบได้กับ "การออกแบบจักรวาลหกเหลี่ยม ( หรือภาพเขียนของจักรวาล)" อันสื่อถึงสามรูปของพระศิวะ สถาปัตยกรรมของมนเทียรประกอบด้วยระเบียงและหอคอยที่สุดท้ายบรรจบกันเป็นศิขระ องค์ประกอบซึ่งพบได้ทั่วไปในศตวรรษที่ 10 เป็นต้นมาในโดยเฉพาะในพื้นที่อินเดียกลาง
มนเทียรตั้งอยู่บนฐานขนาดมหึมา ความสูง 4 เมตร (13 ฟุต) ส่วนโครงสร้างของมนเทียรบนฐานนั้นออกแบบและก่อสร้างอย่างชาญฉลาดและวิจิตรตระการตา โครงสร้างหลักนั้นสร้างในรูปของภูเขาชัน (steep mountain) สัญลักษณ์สื่อถึงเขาเมรุ ที่ซึ่งเชื่อกันว่าเป็นจุดที่มาของการสร้างโลก โครงสร้างหลักนั้นประกอบด้วยหลังคาที่มีการประดับประดาอย่างวิจิตร ฐานมีขนาดใหญ่ก่อนจะบรรจบกันด้านบนในรูปของศิขระ ประกอบด้วยยอดขนาดเล็กย่อย ๆ อีก 84 ยอด
อ้างอิง
- Ring, Salkin & Boda 1994, p. 468.
- "Khajuraho Group of Monuments". UNESCO World Heritage Centre. United Nations Educational Scientific and Cultural Organization. สืบค้นเมื่อ 25 June 2023.
- "Kandariya Temple (built c. 1025–1050)". Oriental Architecture.
- Abram 2003, pp. 420–21.
- "Physical and Regional Setting of Khajuraho" (PDF). Shodhganga – INFLIBNET Centre.
- . Airport Authority of India (AAI). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 กรกฎาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2015.
- Bhatnagar, Asgwini (20 March 1999). "Ode to immortality Celebrating 1000 years of celestial ecstasy". The Tribune.
- . Asian Art Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-22. สืบค้นเมื่อ 2020-11-18.
- Sushil Kumar Sullerey 2004, p. 26.
- "Evaluation Report:World Heritage List No 240" (PDF). UNESCO Organization. สืบค้นเมื่อ 12 August 2015.
- "Kandarya Mahadeva". Encyclopædia Britannica.
- . Museum of World Religions. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2017. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2015.
- Allen 1991, p. 210.
บรรณานุกรม
- Abram, David (2003). Rough Guide to India. Rough Guides. ISBN .
- Allen, Margaret Prosser (1 January 1991). Ornament in Indian Architecture. University of Delaware Press. ISBN .
- Asher, Catherine B.; Talbot, Cynthia (16 March 2006). India Before Europe. Cambridge University Press. ISBN .
- Kramrisch, Stella (1988). The Presence of Siva. Motilal Banarsidass. ISBN .
- Leuthold, Steven (16 December 2010). Cross-Cultural Issues in Art: Frames for Understanding. Routledge. ISBN .
- Ring, Trudy; Salkin, Robert M.; Boda, Sharon La (1994). International Dictionary of Historic Places: Asia and Oceania. Taylor & Francis. ISBN .
- Ross, Leslie D. (4 June 2009). Art and Architecture of the World's Religions. ABC-CLIO. ISBN .
- Sushil Kumar Sullerey (2004). Chandella Art. Aakar. ISBN .
อ่านเพิ่มเติม
- Michell, George; Singh, Snehal. (PDF)
- Surface, Space and Intention: The Parthenon and the Kandariya Mahadeva. Gregory D. Alles. History of Religions, Vol. 28, No.1, August 1988, pp. 1–36.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Website with pictures of the Kandariya Mahadeva temple.
- The architecture of Khajuraho temples 2016-03-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- William J. Jackson, Academia website
- Detailed Article on Kandariya Mahadeva Temple. 2021-05-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
knthrriyamhaethwmnethiyr ethwnakhri क द र य मह द व म द र Kandariya Mahadeva Mandir aeplwa mhaethphaehngtha epnobsthphrahmnthiihythisudaelawicitrthisudinbrrdahmumnethiyryukhklangthiphbinemuxng rthmthypraeths praethsxinediy aelaidrbkaryxmrbwaepnhnungintwxyangthidithisudkhxngmnethiyrthisamarthkhngsphaphmacnthungpccubnknthariyamhaethwmnethiyrsasnasasnasasnahinduekhtethphphrasiwa mhaethwa thitngthitngrthmthypraethspraethsxinediyphikdphumisastr24 51 11 N 79 55 11 E 24 8530 N 79 9197 E 24 8530 79 9197sthaptykrrmpraephthxinediyehnuxphusrangesrcsmburnrawpi 1030thitngknthariyamhaethwmnethiyrtngxyuin rthmthypraethsin tngxyuinhmuban aelaepnhnunginhmumnethiyrthikinphunthiraw 6 tarangkiolemtr 2 3 tarangiml mnethiyrnitngxyuinswntawntkkhxnghmuban thangtawntkkhxngmnethiyrphrawisnu hmumnethiyraehnghmubankhchuraohnntngxyuthikhwamsung 282 emtr 925 fut aelaechuxmtxkbthngthangthnn thangrang aelathangxakas khchuraohnntngxyu 55 kiolemtr 34 iml thangitkhxng 47 kiolemtr 29 iml thangtawnxxkcaktwemuxng 43 kiolemtr 27 iml cak 175 kiolemtr 109 iml thangrthcakchnsithangehnux aela 600 kiolemtr 370 iml thangtawnxxkechiyngitkhxngedli khchuraohtngxyuhangcaksthanirthif 9 kiolemtr 5 6 iml aelaxyuphayitphunthibrikarkhxng rhsthiaxakasyan IATA HJR sungmiethiywbinrahwangkhchuraohkbedli xkhra aela mumib twthaxaksyantngxyuhangxxkip 6 kiolemtr 3 7 iml cakmnethiyrprawtikhchuraohinxditekhyepnrachthanikhxngckrwrrdi knthariyamhaethwmnethiyrsungepnhnunginmnethiyrthimikarbarungrksaiwiddithisudcakyukhklangkhxngxinediy nnthuxwamikhnadihythisudinbrrdahmumnethiyrthangtawntksungsrangkhunodyphupkkhrxngchawcnethla ethphecaxngkhprathankhxngmnethiyrnikhuxphrasiwasungpradisthanxyuphayinkhrrphkhvhkhxngmnethiyr knthariyamhaethwmnethiyrsrangkhuninrchsmykhxng khrxngrachy 1003 1035 inyukhsmytang khxngckrwrrdicnethlaidmikarsrangmnethiyrthimichuxesiynghlayaehngephuxthwaybuchaaedphrawisnu phrasiwa phrasurya phrasktiinsasnahindu aelatirthngkrtang insasnaichna phraecawithytharhrux bida Bida tambnthukkhxngnkprawtisastrmuslim thrngepnphupkkhrxngthimixanacmak aelaekhytxsukbhlngthukrukraninpi 1019 sukniimsamarthhaphuchnaid aelamahmudkidedinthangklbknsi kxncathasngkhramtxphraecawithytharxikkhrnginpi 1022 mahmudidocmti aetkaryudpxmnnimsaercaelathukykelikip thaythisudthngmahmudaelaphraecawithytharidtklngsngbsukkn tklngepnmitraelaaelkepliynkhxngkhwysungknaelakn phraecawithytharchlxngchychnaehnuxmahmudaelaphupkkhrxngxun dwykarsrangknthariyamhaethwmnethiyrkhun ephuxthwaybuchaaedphrasiwa ethphecapracatrakulkhxngphraxngkh cakkarsuksatikhwamcarukthiphbbnkhxngmnthpkhxngmnethiyr phbwarabuchuxphukxsrangkhux wirimtha Virimda thisungtikhwamwaepnxiknamhnungkhxngphraecawithythar karkxsrangnndaeninkhunrahwangpi 1025 aela 1050 hmumnethiyrodyrxbaehngkhchuraoh rwmthungknthariyamhaethwmnethiyr idrbkarrbrxngsthaepnaehlngmrdkolkkhxngyuensokinpi 1986 dwyeknthkhx III sahrbphlngansrangsrrkhthangsilpa aelaeknthkhx V sahrbwthnthrrmkhxngchawcnethlathiepnthiniymindinaedncnkrathngthukrukranodymusliminpi 1202xngkhprakxbxngkhprakxbthangsthaptykrrmhinduthipraktbnknthariyamhaethwmnethiyr knthariyamhaethwmnethiyrmikhwamsung 31 emtr 102 fut aelatngxyuinhmumnethiyrthangtawntk mikhnadihythisudinbrrdathngsamklumkhxngobransthanaehngkhchuraoh hmumnethiyrtawntksungprakxbdwymnethiyrknthariya mtngekswr Matangeshwara aela nnmikarcderiyngthiepriybidkb karxxkaebbckrwalhkehliym hruxphaphekhiynkhxngckrwal xnsuxthungsamrupkhxngphrasiwa sthaptykrrmkhxngmnethiyrprakxbdwyraebiyngaelahxkhxythisudthaybrrcbknepnsikhra xngkhprakxbsungphbidthwipinstwrrsthi 10 epntnmainodyechphaainphunthixinediyklang mnethiyrtngxyubnthankhnadmhuma khwamsung 4 emtr 13 fut swnokhrngsrangkhxngmnethiyrbnthannnxxkaebbaelakxsrangxyangchaychladaelawicitrtrakarta okhrngsranghlknnsranginrupkhxngphuekhachn steep mountain sylksnsuxthungekhaemru thisungechuxknwaepncudthimakhxngkarsrangolk okhrngsranghlknnprakxbdwyhlngkhathimikarpradbpradaxyangwicitr thanmikhnadihykxncabrrcbkndanbninrupkhxngsikhra prakxbdwyyxdkhnadelkyxy xik 84 yxdxangxingRing Salkin amp Boda 1994 p 468 Khajuraho Group of Monuments UNESCO World Heritage Centre United Nations Educational Scientific and Cultural Organization subkhnemux 25 June 2023 Kandariya Temple built c 1025 1050 Oriental Architecture Abram 2003 pp 420 21 Physical and Regional Setting of Khajuraho PDF Shodhganga INFLIBNET Centre Airport Authority of India AAI khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 krkdakhm 2015 subkhnemux 12 singhakhm 2015 Bhatnagar Asgwini 20 March 1999 Ode to immortality Celebrating 1000 years of celestial ecstasy The Tribune Asian Art Museum khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 06 22 subkhnemux 2020 11 18 Sushil Kumar Sullerey 2004 p 26 Evaluation Report World Heritage List No 240 PDF UNESCO Organization subkhnemux 12 August 2015 Kandarya Mahadeva Encyclopaedia Britannica Museum of World Religions khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 7 kumphaphnth 2017 subkhnemux 12 singhakhm 2015 Allen 1991 p 210 brrnanukrmAbram David 2003 Rough Guide to India Rough Guides ISBN 978 1 84353 089 3 Allen Margaret Prosser 1 January 1991 Ornament in Indian Architecture University of Delaware Press ISBN 978 0 87413 399 8 Asher Catherine B Talbot Cynthia 16 March 2006 India Before Europe Cambridge University Press ISBN 978 0 521 80904 7 Kramrisch Stella 1988 The Presence of Siva Motilal Banarsidass ISBN 978 81 208 0491 3 Leuthold Steven 16 December 2010 Cross Cultural Issues in Art Frames for Understanding Routledge ISBN 978 1 136 85455 2 Ring Trudy Salkin Robert M Boda Sharon La 1994 International Dictionary of Historic Places Asia and Oceania Taylor amp Francis ISBN 978 1 884964 04 6 Ross Leslie D 4 June 2009 Art and Architecture of the World s Religions ABC CLIO ISBN 978 0 313 34287 5 Sushil Kumar Sullerey 2004 Chandella Art Aakar ISBN 978 81 87879 32 9 xanephimetimMichell George Singh Snehal PDF Surface Space and Intention The Parthenon and the Kandariya Mahadeva Gregory D Alles History of Religions Vol 28 No 1 August 1988 pp 1 36 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb knthariyamhaethwmnethiyr Website with pictures of the Kandariya Mahadeva temple The architecture of Khajuraho temples 2016 03 02 thi ewyaebkaemchchin William J Jackson Academia website Detailed Article on Kandariya Mahadeva Temple 2021 05 26 thi ewyaebkaemchchin