เศรษฐศาสตร์ (อังกฤษ: economics) หรือศัพท์เก่าคือ เศรษฐวิทยา เป็นวิชาทางสังคมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการผลิต การกระจาย การบริโภคสินค้าและ
เศรษฐศาสตร์มุ่งศึกษาพฤติกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงทางเศรษฐกิจและการทำงานของเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาควิเคราะห์องค์ประกอบหลักในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งตัวแสดงและตลาดที่เป็นปัจเจกบุคคล การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์นั้น ตัวอย่างของตัวแสดงที่เป็นปัจเจกรวมถึงครัวเรือน ภาคธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย เศรษฐศาสตร์มหภาควิเคราะห์เศรษฐกิจในภาพรวม (หมายถึงการผลิตมวลรวม การบริโภค การออม และการลงทุน) และปัญหาที่กระทบมัน รวมทั้งการไม่ได้ใช้ของทรัพยากรต่าง ๆ (แรงงาน, ทุน, และที่ดิน) เงินเฟ้อ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และนโยบายสาธารณะที่จัดการปัญหาเหล่านั้น (การเงิน การคลัง และนโยบายอื่นๆ)
คำจำกัดความ
ตามคำจำกัดความของนักเศรษฐศาสตร์และนักการเมือง แล้ว "เศรษฐศาสตร์คือศาสตร์แห่งการจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด เศรษฐศาสตร์พิจารณาถึงรูปแบบที่พฤติกรรมมนุษย์ได้เลือกในการบริหารทรัพยากรเหล่านี้ อีกทั้งวิเคราะห์และอธิบายวิถีที่บุคคลหรือบริษัททำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด"
คำว่า เศรษฐศาสตร์ มาจากคำภาษากรีก oikonomia ซึ่งแปลว่าการจัดการครัวเรือน (oikos แปลว่าบ้าน และ nomos แปลว่าจารีตประเพณีหรือกฎหมาย ซึ่งรวมกันหมายความว่ากฎเกณฑ์ของครัวเรือน) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันแยกออกมาจากขอบเขตที่กว้างของวิชาเศรษฐศาสตร์การเมืองเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ถูกประยุกต์ใช้ครอบคลุมทั้งสังคมในด้าน ธุรกิจ, การเงิน และรัฐบาล แม้แต่ทั้งด้านอาชญากรรม, การศึกษา, ครอบครัว, สุขภาพ, กฎหมาย, การเมือง, ศาสนา, สถาบันสังคม, สงคราม และวิทยาศาสตร์
วิชาเศรษฐศาสตร์จัดเป็นวิชา (เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็น) เมื่อเศรษฐศาสตร์ได้ถูกใช้เพื่อเลือกทางเลือกอันหนึ่งอันใด หรือเมื่อมีการตัดสินคุณค่าบางสิ่งบางอย่างแบบอัตวิสัย ในทางตรงข้ามเราจะเรียกเศรษฐศาสตร์ว่าเป็นวิชา (เศรษฐศาสตร์ตามที่เป็นจริง) เมื่อเศรษฐศาสตร์นั้นได้ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการทำนายและอธิบายถึงผลลัพธ์ที่ตามมาเมื่อมีการเลือกเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากสมมติฐาน และชุดของ ทางเลือกใดก็ตามที่เกิดจากการใช้สมมติฐานสร้างเป็นแบบจำลอง หรือเกิดจากชุดข้อมูลสังเกตการณ์ที่สัมพันธ์กันนั้น ก็เป็นข้อมูลเชิงบรรทัดฐานด้วยเช่นเดียวกัน
เศรษฐศาสตร์จะให้ความสนใจกับตัวแปรที่สามารถวัดค่าได้เท่านั้น โดยสาขาของวิชาเศรษฐศาสตร์จะถูกจำแนกออกตามเนื้อหาเป็นสองสาขาใหญ่ ๆ คือ
- เศรษฐศาสตร์จุลภาค ซึ่งสนใจพฤติกรรมขององค์ประกอบพื้นฐานในระบบเศรษฐกิจซึ่งรวมถึง ตลาดแต่ละตลาดและตัวแทนทางเศรษฐกิจ (เช่นครัวเรือน หน่วยธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย)
- เศรษฐศาสตร์มหภาค จะสนใจเศรษฐกิจในภาพรวม ตัวอย่างเช่น และอุปสงค์มวลรวม การว่างงาน เงินเฟ้อ การเติบโตของเศรษฐกิจ นโยบายการเงินและนโยบายการคลัง เป็นต้น
นอกจากนี้ยังสามารถจำแนกออกตามการวิเคราะห์ปัญหาได้แก่
- หรือเศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริง (Positive economics)
- หรือเศรษฐศาสตร์ตามที่ควรจะเป็น (Normative economics)
สำหรับประเด็นหลัก ๆ ที่เศรษฐศาสตร์ให้ความสนใจจะอยู่ที่ การผลิต การกระจายสินค้า การค้า และการแข่งขัน โดยหลักการแล้วคำอธิบายทางเศรษฐศาสตร์จะถูกนำไปประยุกต์ใช้เพื่ออธิบายปัญหาที่เกี่ยวข้องกับทางเลือกภายใต้ข้อจำกัดด้านความขาดแคลนมากขึ้นเรื่อย ๆ หรืออาจจะเรียกได้ว่ามีการกำหนดมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ให้กับทางเลือกนั้น ๆ นั่นเอง
ในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยธุรกิจของประเทศอุตสาหกรรมส่วนใหญ่จะนิยมสอนทฤษฎีเศรษฐศาสตร์กระแสหลักที่เรียกว่า (Neo - Classical Economics) ทั้งนี้ เศรษฐศาสตร์กระแสหลักจะวิเคราะห์ถึง "ความเป็นเหตุเป็นผล-ความเป็นปัจเจกชน-ดุลยภาพ" ตรงกันข้ามกับที่เน้นวิเคราะห์ "สถาบัน-ประวัติศาสตร์-โครงสร้างสังคม" เป็นหลัก
จุดเริ่มต้นของเศรษฐศาสตร์
ข้อเขียนทางเศรษฐศาสตร์สามารถย้อนกลับไปได้ถึงยุคสมัยเมโสโปเตเมีย, กรีซโบราณ, โรมันโบราณ, อนุทวีปอินเดีย, จีน, เปอร์เซีย และอารยธรรมอาหรับ ปราชญ์ที่มีชื่อเสียงในยุคโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 14 ได้แก่ อริสโตเติล, , จันนากียะ หรือ วิษณุคุปต์, จักรพรรดิฉินที่ 1, โทมัส อควีนาส และอิบน์ ค็อลดูน ผลงานของอริสโตเติลมีอิทธิพลอย่างมากต่องานของอควีนาส ผู้ซึ่งมีอิทธิพลต่อปรัชญาเมธีรุ่นหลัง ๆ ในคริสต์ศตวรรษที่ 14–17 บรรยายถึงอควีนาสไว้ว่าเป็นผู้ที่ "ใกล้เคียงกว่าคณะอื่นใดที่จะได้ชื่อว่าเป็น 'ผู้ก่อตั้ง' เศรษฐศาสตร์" ในเชิงทัศน์กฎธรรมชาติด้าน, ดอกเบี้ย และทฤษฎีด้านมูลค่า
แม้การถกเถียงเรื่องการซื้อขายและการจัดสรรจะมีประวัติศาสตร์มายาวนาน เศรษฐศาสตร์ในความคิดของคนสมัยใหม่นั้นจะถือเอาวันที่อดัม สมิธได้เผยแพร่หนังสือเรื่อง "ความมั่งคั่งของประชาชาติ" (The Wealth of Nations) ในปี ค.ศ. 1776 เป็นการเริ่มต้น
เดิมอดัม สมิธเรียกวิชานี้ว่า เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy) เนื่องจากในขณะนั้นยังไม่มีคำศัพท์คำว่า Economics ต่อมาคำว่าเศรษฐกิจ (Economy) ได้ถูกปรับรูปเป็นคำว่า เศรษฐศาสตร์ (Economics) และกลายเป็นสาขาวิชาอีกแขนงหนึ่งเป็นต้นมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1870 อดัม สมิธเป็นนักปรัชญาคนแรกที่เสนอว่าความร่ำรวยของประเทศไม่ได้ขึ้นอยู่กับเงินคงคลัง แต่ขึ้นอยู่กับขนาดเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นแนวคิดเกี่ยวกับผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) การส่งออกไม่แน่ว่าจะเป็นประโยชน์ หรือการนำเข้าก็ไม่แน่ว่าจะเป็นการขาดทุน การค้าขายอาจจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่ายคู่ค้า (win-win situation) และกลไกการตลาดเปรียบเสมือน "มือที่มองไม่เห็น" (Invisible Hand) ซึ่งในระยะยาว (long run) มีแนวโน้มจะปรับตัวเข้าสู่จุดสมดุล
เศรษฐศาสตร์จุลภาค
ตลาด
เศรษฐศาสตร์จุลภาคถือเป็นแนวทางหลักในการวิเคราะห์เศรษฐกิจอย่างเป็นระบบ โดยมองว่าครัวเรือนและบริษัทที่ต่างก็ทำธุรกรรมระหว่างกันผ่านตลาดนั้นเป็นหน่วยย่อยที่สุดในระบบเศรษฐกิจซึ่งเผชิญกับความขาดแคลนและกฎระเบียบแห่งรัฐ ตลาดนั้นอาจมีขึ้นสำหรับสินค้า เช่น ข้าวสาร หรือบริการสำหรับ เช่น การก่อสร้าง ก็ได้ ทฤษฎีจุลภาคนั้นจะพิจารณาปริมาณความต้องการมวลรวมของผู้ซื้อและปริมาณที่ผลิตโดยผู้ขายในทุกระดับราคาต่อหน่วย และเชื่อมโยงทั้งสองปริมาณเข้าด้วยกันเพื่ออธิบายการที่ตลาดเข้าสู่จุดทางด้านราคาและปริมาณ และการตอบสนองของตลาดเมื่อเวลาผ่านไปเรื่อย ๆ
ทฤษฎีอุปสงค์และอุปทานเป็นหนึ่งในทฤษฎีการวิเคราะห์ข้างต้น นอกจากนี้ เศรษฐศาสตร์จุลภาคยังวิเคราะห์ถึงโครงสร้างของตลาด เช่น ตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผูกขาด เพื่อทราบถึงพฤติกรรมและประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงในตลาดหนึ่ง ๆ มักเริ่มต้นจากสมมติฐานให้ตลาดอื่น ๆ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้เพื่อง่ายต่อความเข้าใจ ดังนี้ เรียกว่าการวิเคราะห์ (partial-equilibrium analysis) ขณะที่ทฤษฎีจะอนุญาตให้มีการเปลี่ยนแปลงในตลาดอื่น ๆ และใช้วิธีคำนวณปริมาณโดยรวมในทุกตลาด รวมไปถึงความเคลื่อนไหวของปริมาณดังกล่าวและปฏิสัมพันธ์เพื่อเข้าสู่จุดดุลยภาพ
การผลิต, ต้นทุน และประสิทธิภาพ
การผลิตในทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค คือการแปลงวัตถุดิบให้กลายเป็นผลผลิต กระบวนการทางเศรษฐศาสตร์นี้ใช้วัตถุดิบเพื่อผลิตเป็นสินค้าสำหรับการแลกเปลี่ยนหรือเพื่อใช้งานโดยตรง การผลิตมีลักษณะเป็น "กระแส" (flow) ดังนั้นจึงนิยามเป็นอัตราผลผลิตต่อหน่วยเวลา
ต้นทุนค่าเสียโอกาสหมายความถึงต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์ของการผลิต หรือคือมูลค่าที่สูญไปของโอกาสที่ดีที่สุดในลำดับถัดไป อันเนื่องมาจากการที่เลือกได้เพียงอย่างหนึ่งอย่างใด ทั้งนี้ เราอาจอธิบายได้อีกอย่างว่าเป็น "ความสัมพันธ์เบื้องต้นระหว่างความขาดแคลนและทางเลือก" ต้นทุนค่าเสียโอกาสของกิจกรรมหนึ่ง ๆ คือองค์ประกอบสำคัญที่จะรับประกันได้ว่าทรัพยากรอันมีจำกัดนั้นจะถูกใช้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยที่ต้นทุนจะถูกพิจารณาเปรียบเทียบกับมูลค่าของกิจกรรมนั้น ๆ ในการตัดสินใจว่าควรเพิ่มหรือลดลง ต้นทุนค่าเสียโอกาสนั้นไม่ได้จำกัดว่าจะต้องเป็นเพียงตัวเงิน แต่อาจวัดโดยต้นทุนที่แท้จริงของผลผลิตที่สูญเสียไป, ความพึงพอใจ หรืออื่นใดที่ให้
ความชำนาญเฉพาะ
ความชำนาญเฉพาะ หรือภาษาอังกฤษ Specialization ถือเป็นปัจจัยสำคัญต่อประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจทั้งในเชิงทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์ แต่ละบุคคล/ประเทศอาจจะมีต้นทุนค่าเสียโอกาสที่แท้จริงแตกต่างกันไป เช่น ความแตกต่างในด้านปริมาณคงคลังของทุนมนุษย์ (human capital) ต่อหน่วยแรงงาน หรือ อัตราส่วน ทุนต่อแรงงาน เป็นต้น ในทางทฤษฎีแล้ว สิ่งเหล่านี้อาจนำไปสู่ (comparative advantage) ในการผลิตสินค้าที่ใช้ปัจจัยการผลิตที่มีปริมาณมากกว่าและถูกกว่าโดยเปรียบเทียบ ถึงแม้ประเทศหนึ่ง ๆ จะมี (absolute advantage) ในสัดส่วนปริมาณผลผลิตต่อปัจจัยการผลิตในทุกประเภทของผลผลิตแล้ว ประเทศนั้น ๆ ก็อาจจะยังคงมีความชำนาญเฉพาะในผลผลิตที่มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบแล้วทำการค้าขายกับอีกประเทศที่ไม่ได้มีความได้เปรียบเชิงสัมบูรณ์แต่มีความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบในการผลิตสินค้าอื่น ๆ
ความชำนาญเฉพาะถูกกล่าวถึงโดยอดัม สมิธ ในหนังสือ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nation) ว่า
"the division of labour is limited by the extent of the market. This is because it is by the exchange that each person can be specialised in their work and yet still have access to a wide range of goods and services. Hence, reductions in barriers to exchange lead to increases in the division of labour and so help to drive economic growth. Limitations to the division of labour have also been related to coordination and transportation costs".
กล่าวคือ ภาคแรงงานถูกจำกัดโดยการขยายตลาด เพราะว่า แต่ละบุคคลนั้นสามารถทำงานให้มีความชำนาญเฉพาะได้ แต่ว่าต้องมาทำงานหลากหลาย หลายอย่าง ทำให้เกิดข้อจำกัดในการแลกเปลี่ยน ซึ่งถ้าหากพัฒนาความชำนาญได้ก็จะเพิ่มผลิตภาพการผลิตได้ และยังเพิ่มการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ดังนั้น แนวคิดของสมิธ จึงกล่าวถึงการที่ภาคแรงงานสามารถสร้างความชำนาญเฉพาะ โดยใช้หลักแบ่งงานกันทำ (Division of Labour) ทำให้สามารถผลิตได้จำนวนมากกว่า และมีการประหยัดจากขนาด (Economies of Scale) เกิดขึ้น
อุปสงค์และอุปทาน
อุปสงค์และอุปทานเป็นแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายถึงความสัมพันธ์ของราคาและปริมาณสินค้าในตลาด กล่าวทั่วไปคือ ข้อมูลทางทฤษฎีจะระบุว่าเมื่อใดก็ตามที่สินค้าถูกขายในตลาด ณ ระดับราคาที่ผู้บริโภคมีความต้องการสินค้ามากกว่าจำนวนสินค้าที่สามารถผลิตได้แล้ว ก็จะเกิดการขาดแคลนสินค้าขึ้น ซึ่งสถานการณ์ดังกล่าวก็จะส่งผลให้มีการเพิ่มขึ้นของระดับราคาของสินค้า โดยที่ผู้บริโภคกลุ่มที่มีความพร้อมในการจ่ายชำระ ณ ระดับราคาที่เพิ่มขึ้นนั้นก็จะส่งผลให้ราคาตลาดสูงขึ้น ในทางตรงข้ามระดับราคาจะต่ำลงเมื่อปริมาณสินค้าที่มีให้นั้นมีมากกว่าความต้องการที่เกิดขึ้น กระบวนการดังกล่าวจะดำเนินไปจนกระทั่งตลาดเข้าสู่จุดดุลยภาพ ซึ่งเป็นจุดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดเกิดขึ้นอีก เมื่อใดก็ตามที่ผู้ผลิตทำการผลิตสินค้าที่จุดดุลยภาพนี้ ซึ่งเป็นจุดเดียวกับที่ผู้ซื้อตกลงซื้อที่ระดับราคาดังกล่าวแล้ว ณ จุดนี้กล่าวได้ว่าตลาดเข้าสู่จุดสมดุลแล้ว
ระดับราคา
ระดับราคาเป็นตัวแปรที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้ประโยชน์ในการวัดการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคานั้นเป็นอัตราการแลกเปลี่ยนระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายในตลาด ดังนั้นทฤษฎีราคาจะกล่าวถึงเส้นกราฟที่แทนการเคลื่อนไหวของปริมาณที่สามารถวัดค่าได้ ณ เวลาต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างราคากับตัวแปรที่วัดค่าได้อื่น ๆ ในหนังสือ ความมั่งคั่งของประชาชาติ (The Wealth of Nations) ของอดัม สมิธ ได้กล่าวเอาไว้ว่า มักจะมีภาวะได้อย่างเสียอย่างเสมอระหว่างราคาและความสะดวกสบาย ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่จะถูกสร้างขึ้นอยู่บนพื้นฐานของระดับราคาและทฤษฎี อุปสงค์และอุปทาน (demand and supply) ในทางทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แล้วเราสามารถส่งผ่านสัญญาณไปทั่วทั้งสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผ่านทางระดับราคา เช่น ระดับราคาที่ต่ำลงจะแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ ในขณะที่ระดับราคาที่สูงขึ้นจะแสดงให้เห็นถึงการเพิ่มขึ้นของอุปทาน เป็นต้น
แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ในความเป็นจริงหลายชิ้นได้ชี้ให้เห็นว่ามีรูปแบบของ ระดับราคาที่ไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งจะแสดงถึงข้อเท็จจริงที่ระดับราคาไม่สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระในหลาย ๆ ตลาด ผู้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจมักจะเข้ามาแสดงประเด็นโต้แย้งเพื่อให้เห็นถึงสาเหตุของความติดขัดในทางเศรษฐกิจ หรือระดับราคาที่ไม่เปลี่ยนแปลงซึ่งในที่สุดแล้วก็จะทำให้ไม่สามารถบรรลุดุลยภาพของอุปสงค์และอุปทานได้
มีเศรษฐศาสตร์บางสาขาจะให้ความสนใจว่าระดับราคานั้นสามารถวัดมูลค่าได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ในระบบเศรษฐกิจแบบตลาดที่เป็นกระแสหลักมักจะพบว่าภาวะความขาดแคลนซึ่งเป็นปัจจัยหลักนั้นไม่ได้สะท้อนลงไปยังระดับราคา จึงอาจจะกล่าวได้ว่ามีผลกระทบภายนอกของต้นทุน ด้วยเหตุที่ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดจะทำนายว่าสินค้าที่มีการขาดแคลนแต่มีราคาต่ำกว่าปกติ จะถูกบริโภคมากเกินพอดี (ให้ดู ต้นทุนทางสังคม) นี่จึงเป็นที่มาของทฤษฎีสินค้าสาธารณะ
ความล้มเหลวของตลาด
การที่ "ตลาดล้มเหลว" นั้นหมายความว่าเกิดอุปสรรคที่ขัดต่อสมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์ขึ้น แม้ว่าอาจจะมีการแบ่งประเภทความล้มเหลวของตลาดแตกต่างกันไป แต่อาจหมายรวมถึงประเภทเหล่านี้
(information asymmetry) และตลาดไม่สมบูรณ์ อาจก่อให้เกิดความไม่มีประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ หรือเป็นไปได้ที่อาจจะนำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพผ่านตลาด, กฎหมาย และการชดเชยทางด้านระเบียบข้อบังคับ
การผูกขาดตามธรรมชาติ อันเนื่องมาจากความล้มเหลวในการแข่งขัน ซึ่งอธิบายได้ว่าต้นทุนการผลิตยิ่งต่ำลงเรื่อย ๆ หากผลิตสินค้านั้นเพิ่ม
เศรษฐศาสตร์มหภาค
เศรษฐศาสตร์มหภาคนั้นจะพิจารณาระบบเศรษฐกิจในภาพรวมเพื่ออธิบายอุปสงค์-อุปทานมวลรวมและความสัมพันธ์ในลักษณะ "บนลงล่าง" กล่าวคือ ใช้ทฤษฎีดุลยภาพทั่วไปอย่างง่ายในการอธิบาย ไม่ว่าจะเป็น รายได้ประชาชาติ, ผลผลิตประชาชาติ, , ภาวะเงินเฟ้อ ย่อยลงมาก็ได้แก่ การบริโภคโดยรวม, การลงทุนและองค์ประกอบของการลงทุน นอกจากนี้ เศรษฐศาสตร์มหภาคยังทำการศึกษาผลกระทบของนโยบายการเงินและนโยบายการคลัง
ในการจะอธิบายหัวข้อดังกล่าวนั้น จำเป็นต้องจำลองภาพระบบเศรษฐกิจระดับมหภาคในรูปแบบที่สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย โดยใช้แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งบรรยายตัวระบบโดยคร่าว ๆ เพื่อประโยชน์ในการอภิปราย แบบจำลองดังกล่าวอาจมีรูปแบบแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็น แผนภาพ, สมการ, การเปรียบเปรยในเชิงเทคนิค, ตารางเลออนเทียฟ เป็นต้น
นับตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1960 เป็นต้นมา เศรษฐศาสตร์มหภาคได้เริ่มผนวกเอาแนวคิดแบบจำลองเศรษฐศาสตร์จุลภาคเข้ามาใช้ ทั้งในแง่ของภาคการผลิต, รวมเอาความมีเหตุมีผลของตัวประกอบในระบบเศรษฐกิจ, การใช้ข้อมูลสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และการแข่งขันแบบไม่สมบูรณ์ ซึ่งได้แก้ปมประเด็นที่เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์ทั้งสองแขนง
การวิเคราะห์ในด้านเศรษฐศาสตร์มหภาคนอกจากนี้ยังคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อระดับความเติบโตในระยะยาวของรายได้ประชาชาติ อันได้แก่ การสะสมทุน, การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และการขยายตัวของกำลังแรงงาน
ความเติบโตทางเศรษฐกิจ
เศรษฐศาสตร์ด้านความเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นมุ่งเน้นศึกษาปัจจัยที่อธิบายความเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือคือการเพิ่มขึ้นของผลผลิตต่อหัวของประเทศในระยะยาว ปัจจัยดังกล่าวก็ยังใช้ในการอธิบายความแตกต่างระหว่างระดับผลผลิตต่อหัวระหว่างประเทศอีกด้วย โดยเฉพาะว่าทำไมบางประเทศเติบโตได้รวดเร็วกว่าประเทศอื่น ๆ หรือว่าบางกลุ่มประเทศมีแนวโน้มเติบโตเท่าทันกันหรือไม่ เป็นต้น
ปัจจัยที่มีการวิจัยศึกษาค่อนข้างมากก็ได้แก่ อัตราการลงทุน, การเติบโตของประชากร และการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งหมดนี้มีปรากฏทั้งในรูปทฤษฎีและผลการศึกษาเชิงประจักษ์ ทั้งในแบบจำลองคลาสสิกใหม่, แบบจำลองการเติบโตภายใน (endogeneous growth) และในการบันทึกบัญชีการเติบโต (growth accounting)
วัฏจักรธุรกิจ
ในช่วงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจราวทศวรรษ 1930 นี้เองที่เป็นจุดกำเนิดให้กับเศรษฐศาสตร์มหภาคที่แตกแขนงออกไปเป็นศาสตร์เฉพาะทาง ระหว่างภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่นั้น จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์ได้แต่งหนังสือที่ชื่อว่า โดยวางรากฐานทฤษฎีหลัก ๆ ของเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ไว้ แต่ต่อมาก็มีทฤษฎีและแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์มหภาคที่ถกเถียงและวิพากษ์วิจารณ์ข้อผิดพลาดในแบบจำลองดังกล่าว
เศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิกใหม่ใช้สมมติฐานว่าระดับราคาและค่าแรงนั้นปรับตัวโดยอัตโนมัติเพื่อเข้าสู่ภาวะการจ้างงานสมบูรณ์ ขณะที่เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ใหม่นั้นมองว่าการจ้างงานสมบูรณ์นั้นมีได้แต่ในระยะยาว ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีนโยบายรัฐและธนาคารกลางแทรกแซงเพราะว่า "ระยะยาว" ที่ว่าอาจจะยาวนานเกินไป
ภาวะเงินเฟ้อและนโยบายการเงิน
เงินตราเป็นสื่อกลางในการชำระหนี้สำหรับสินค้าในระบบเศรษฐกิจที่อิงราคาเป็นหลัก และยังเป็นหน่วยทางบัญชีที่มักไว้ใช้ระบุราคา โดยเงินตรารวมถึงสกุลเงินที่ถือครองโดยสาธารณะที่ไม่ใช่ธนาคารและเงินฝากที่ขึ้นเงินได้
เมื่อเงินตราเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนธุรกรรม เงินจึงช่วยให้การค้าดำเนินไปได้อย่างสะดวก หน้าที่ดังกล่าวสามารถนำมาเปรียบเทียบได้กับระบบแลกเปลี่ยนสินค้า (barter) ที่มีข้อเสียหลักคือการจับคู่ผู้ซื้อและผู้ขายที่มีความต้องการตรงกัน เพราะประเภทสินค้ามีหลากหลาย เงินตรานั้นช่วยลดของการแลกเปลี่ยนลงเนื่องจากการยอมรับที่เป็นสากล
หากมองในระดับประเทศแล้ว ทฤษฎีและหลักฐานเชิงประจักษ์นั้นต่างลงความเห็นว่าปริมาณโดยรวมนั้นสัมพันธ์ในเชิงบวกกับมูลค่าที่เป็นตัวเงินของผลผลิตโดยรวมและระดับราคาโดยรวม ด้วยเหตุนี้ การจัดการอุปสงค์เงินตราจึงเป็นประเด็นหลักของนโยบายการเงิน
นโยบายการคลัง
การจัดทำบัญชีประชาชาติเป็นกรรมวิธีในการสรุปกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ บัญชีประชาชาติมีลักษณะเป็นระบบการบัญชีแบบจดบันทึกคู่ (double-entry accounting system) ที่เจาะจงรายละเอียดวิธีที่ใช้วัดแต่ละรายการไว้อย่างละเอียด อันได้แก่ บัญชีรายได้และผลิตภัณฑ์ประชาชาติ ซึ่งระบุมูลค่าประเมินของรายได้และผลผลิตต่อไตรมาสหรือต่อปี
บัญชีรายได้และผลิตภัณฑ์ประชาชาติช่วยให้รัฐสามารถติดตามผลการดำเนินงานของระบบเศรษฐกิจและองค์ประกอบภายในวัฏจักรธุรกิจหรือติดตามข้ามช่วงเวลา ข้อมูลเกี่ยวกับราคาอาจช่วยให้สามารถแยกแยะมูลค่าที่เป็นตัวเงินออกจากมูลค่าที่แท้จริง (nominal vs. real) ได้ หรือคือการปรับฐานค่าเงินตามการเปลี่ยนแปลงระดับราคาตามระยะเวลาที่ผ่านไป บัญชีประชาชาติยังรวมเอาการวัดมูลค่าทุนสะสม, ความมั่งคั่งของประเทศ และกระแสทุนระหว่างประเทศอีกด้วย
ชนิดของเศรษฐศาสตร์
- (Mainstream Economics)
- (Classical Economics)
- เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ (Keynesian Economics)
- (Neo - Classical Economics)
- เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
- เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
- (Heterodox Economics)
- (Post Keynesian Economics)
- (Marxist Economics)
- เศรษฐศาสตร์แนวจอร์จ (Georgist Economics)
- เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economics)
- (Evolutionary Institutional Economics)
- (New Institutional Economics)
- เศรษฐศาสตร์พฤติกรรม (Behavioral Economics)
- (Experimental Economics)
- (Feminist Economics)
- (Social Economics)
อ้างอิง
- Political Economy, PUF, 1959.
- Davis, John B. (2006). "Heterodox Economics, the Fragmentation of the Mainstream, and Embedded Individual Analysis, ” in Future Directions in Heterodox Economics. Ann Arbor: University of Michigan Press.
- "The history of economic thought: a reader". Steven G. Medema, Warren J. Samuels (2003). . p.3. ISBN .
- Schumpeter, Joseph A. (1954). History of Economic Analysis, pp. 97–115. Oxford.
- (2007). "The Social Sciences: Economics, " Microeconomics, The New Encyclopædia Britannica, v. 27, pp. 347–49. Chicago. ISBN .
• (1987). "microeconomics", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 461–63. London and New York: Macmillan and Stockton. ISBN . - (1987). "opportunity cost", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 718–21.
- The Economist, Economics A-Z, "Opportunity Cost." 2011-06-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2010.
- "Division of Labor and Specialization". Econlib (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- "What Are Economies of Scale?". Investopedia (ภาษาอังกฤษ).
- Blaug, Mark (2007). "The Social Sciences: Economics", The New Encyclopædia Britannica, v. 27, p. 345.
- (1992). "Business Confidence and Depression Prevention: A Mesoeconomic Perspective, " American Economic Review 82 (2), pp. 365–371.
- Howitt, Peter M. (1987). "Macroeconomics: Relations with Microeconomics".John Eatwell; Murray Milgate; Peter Newman, บ.ก. (1987). The New Palgrave: A Dictionary of Economics, pp. 273–76. London and New York: Macmillan and Stockton. ISBN .
- Blaug, Mark (2007). "The Social Sciences: Economics, " Macroeconomics, The New Encyclopædia Britannica, v. 27, p. 349.
• Blanchard, Olivier Jean (1987). "neoclassical synthesis", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 3, pp. 634–36. - Samuelson, Paul A., and William D. Nordhaus (2004). , ch. 27, "The Process of Economic Growth" McGraw-Hill. ISBN .
• Uzawa, H.(1987). "models of growth", , v. 3, pp. 483–89. - James Tobin|Tobin, James(1992). "Money" (Money as a Social Institution and Public Good), The New Palgrave Dictionary of Finance and Money, v. 2, pp. 770–71.
- • Milton Friedman (1987). "quantity theory of money", The New Palgrave: A Dictionary of Economics, v. 4, pp. 15–19.
• Samuelson, Paul A., and William D. Nordhaus (2004). Economics, ch. 2, "Money: The Lubroicant of Exchange" section, ch. 33, Fig. 33–3. - Ruggles, Nancy D. (1987), "social accounting". edited by John Eatwell, Murray Milgate, Peter Newman. (1987). The New Palgrave: A Dictionary of Economics. London & New York: Macmillan and Stockton. pp. v. 3, 377. ISBN .
บรรณานุกรม
- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์ อังกฤษ-ไทย ไทย-อังกฤษ
- Barr, Nicholas(2004) Economics of the Welfare State, 4th ed., Oxford University Press
- Charles Robert McCann, Jr., 2003. The Elgar Dictionary of Economic Quotations, Edward Elgar. Preview.
- Stiglitz, Joseph (2000) Economics of the Public Sector, 3rd ed., Norton Press
แหล่งข้อมูลอื่น
- Economics ที่เว็บไซต์ Curlie
- Economic journals on the web 10 กรกฎาคม 2013 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Economics at Encyclopædia Britannica.
- Intute: Economics: Internet directory of UK universities.
- Research Papers in Economics (RePEc)
- Resources For Economists 2013-05-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: American Economic Association-sponsored guide to 2,000+ Internet resources from "Data" to "Neat Stuff, " updated quarterly.
- www.pkarchive.org เว็บไซต์ของพอล ครุกแมน
- MBE economics เศรษฐศาสตร์ nida mbe 11 นิด้า พัฒนาการเศรษฐกิจ 29 พฤศจิกายน 2005 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน รวมบทความจากแหล่งข่าวต่าง ๆ
- รวมงานเขียนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ 22 มิถุนายน 2006 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ของปกป้อง จันวิทย์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
esrsthsastr xngkvs economics hruxsphthekakhux esrsthwithya epnwichathangsngkhmsastrthisuksaekiywkbkarphlit karkracay karbriophkhsinkhaaela esrsthsastrmungsuksaphvtikrrmaelakarmiptismphnthrahwangtwaesdngthangesrsthkicaelakarthangankhxngesrsthkic esrsthsastrculphakhwiekhraahxngkhprakxbhlkinrabbesrsthkic rwmthngtwaesdngaelatladthiepnpceckbukhkhl karmiptismphnthrahwangkn aelaphllphthkhxngptismphnthnn twxyangkhxngtwaesdngthiepnpceckrwmthungkhrweruxn phakhthurkic phusux aelaphukhay esrsthsastrmhphakhwiekhraahesrsthkicinphaphrwm hmaythungkarphlitmwlrwm karbriophkh karxxm aelakarlngthun aelapyhathikrathbmn rwmthngkarimidichkhxngthrphyakrtang aerngngan thun aelathidin enginefx karecriyetibotthangesrsthkic aelanoybaysatharnathicdkarpyhaehlann karengin karkhlng aelanoybayxun khacakdkhwamtamkhacakdkhwamkhxngnkesrsthsastraelankkaremuxng aelw esrsthsastrkhuxsastraehngkarcdkarthrphyakrxnmicakd esrsthsastrphicarnathungrupaebbthiphvtikrrmmnusyideluxkinkarbriharthrphyakrehlani xikthngwiekhraahaelaxthibaywithithibukhkhlhruxbrisththakarcdsrrthrphyakrxncakdephuxtxbsnxngkhwamtxngkarmakmayaelaimcakd khawa esrsthsastr macakkhaphasakrik oikonomia sungaeplwakarcdkarkhrweruxn oikos aeplwaban aela nomos aeplwacaritpraephnihruxkdhmay sungrwmknhmaykhwamwakdeknthkhxngkhrweruxn aebbcalxngthangesrsthsastrpccubnaeykxxkmacakkhxbekhtthikwangkhxngwichaesrsthsastrkaremuxngemuxplaykhriststwrrsthi 19 karwiekhraahthangesrsthsastrthukprayuktichkhrxbkhlumthngsngkhmindan thurkic karengin aelarthbal aemaetthngdanxachyakrrm karsuksa khrxbkhrw sukhphaph kdhmay karemuxng sasna sthabnsngkhm sngkhram aelawithyasastr phaphaesdngphusuxaelaphukhaykalngtxrxngrakhaxyuhnatladchichikhasethnanok inpraethskwetmala wichaesrsthsastrcdepnwicha esrsthsastrthikhwrcaepn emuxesrsthsastridthukichephuxeluxkthangeluxkxnhnungxnid hruxemuxmikartdsinkhunkhabangsingbangxyangaebbxtwisy inthangtrngkhameracaeriykesrsthsastrwaepnwicha esrsthsastrtamthiepncring emuxesrsthsastrnnidthukichepnekhruxngmuxinkarthanayaelaxthibaythungphllphththitammaemuxmikareluxkekidkhun odyphicarnacaksmmtithan aelachudkhxng thangeluxkidktamthiekidcakkarichsmmtithansrangepnaebbcalxng hruxekidcakchudkhxmulsngektkarnthismphnthknnn kepnkhxmulechingbrrthdthandwyechnediywkn esrsthsastrcaihkhwamsnickbtwaeprthisamarthwdkhaidethann odysakhakhxngwichaesrsthsastrcathukcaaenkxxktamenuxhaepnsxngsakhaihy khux esrsthsastrculphakh sungsnicphvtikrrmkhxngxngkhprakxbphunthaninrabbesrsthkicsungrwmthung tladaetlatladaelatwaethnthangesrsthkic echnkhrweruxn hnwythurkic phusux aelaphukhay esrsthsastrmhphakh casnicesrsthkicinphaphrwm twxyangechn aelaxupsngkhmwlrwm karwangngan enginefx karetibotkhxngesrsthkic noybaykarenginaelanoybaykarkhlng epntn nxkcakniyngsamarthcaaenkxxktamkarwiekhraahpyhaidaek hruxesrsthsastrtamkhwamepncring Positive economics hruxesrsthsastrtamthikhwrcaepn Normative economics sahrbpraednhlk thiesrsthsastrihkhwamsniccaxyuthi karphlit karkracaysinkha karkha aelakaraekhngkhn odyhlkkaraelwkhaxthibaythangesrsthsastrcathuknaipprayuktichephuxxthibaypyhathiekiywkhxngkbthangeluxkphayitkhxcakddankhwamkhadaekhlnmakkhuneruxy hruxxaccaeriykidwamikarkahndmulkhathangesrsthsastrihkbthangeluxknn nnexng inmhawithyalyaelawithyalythurkickhxngpraethsxutsahkrrmswnihycaniymsxnthvsdiesrsthsastrkraaeshlkthieriykwa Neo Classical Economics thngni esrsthsastrkraaeshlkcawiekhraahthung khwamepnehtuepnphl khwamepnpceckchn dulyphaph trngknkhamkbthiennwiekhraah sthabn prawtisastr okhrngsrangsngkhm epnhlkcuderimtnkhxngesrsthsastrkhxekhiynthangesrsthsastrsamarthyxnklbipidthungyukhsmyemosopetemiy krisobran ormnobran xnuthwipxinediy cin epxresiy aelaxarythrrmxahrb prachythimichuxesiynginyukhobrancnthungkhriststwrrsthi 14 idaek xrisotetil cnnakiya hrux wisnukhupt ckrphrrdichinthi 1 othms xkhwinas aelaxibn khxldun phlngankhxngxrisotetilmixiththiphlxyangmaktxngankhxngxkhwinas phusungmixiththiphltxprchyaemthirunhlng inkhriststwrrsthi 14 17 brryaythungxkhwinasiwwaepnphuthi iklekhiyngkwakhnaxunidthicaidchuxwaepn phukxtng esrsthsastr inechingthsnkdthrrmchatidan dxkebiy aelathvsdidanmulkha aemkarthkethiyngeruxngkarsuxkhayaelakarcdsrrcamiprawtisastrmayawnan esrsthsastrinkhwamkhidkhxngkhnsmyihmnncathuxexawnthixdm smithidephyaephrhnngsuxeruxng khwammngkhngkhxngprachachati The Wealth of Nations inpi kh s 1776 epnkarerimtn edimxdm smitheriykwichaniwa esrsthkickaremuxng Political Economy enuxngcakinkhnannyngimmikhasphthkhawa Economics txmakhawaesrsthkic Economy idthukprbrupepnkhawa esrsthsastr Economics aelaklayepnsakhawichaxikaekhnnghnungepntnmatngaetpi kh s 1870 xdm smithepnnkprchyakhnaerkthiesnxwakhwamrarwykhxngpraethsimidkhunxyukbenginkhngkhlng aetkhunxyukbkhnadesrsthkic sungepnaenwkhidekiywkbphlphlitmwlrwmprachachati GDP karsngxxkimaenwacaepnpraoychn hruxkarnaekhakimaenwacaepnkarkhadthun karkhakhayxaccakxihekidpraoychntxthngsxngfaykhukha win win situation aelaklikkartladepriybesmuxn muxthimxngimehn Invisible Hand sunginrayayaw long run miaenwonmcaprbtwekhasucudsmdulesrsthsastrculphakhtlad esrsthsastrculphakhthuxepnaenwthanghlkinkarwiekhraahesrsthkicxyangepnrabb odymxngwakhrweruxnaelabrisththitangkthathurkrrmrahwangknphantladnnepnhnwyyxythisudinrabbesrsthkicsungephchiykbkhwamkhadaekhlnaelakdraebiybaehngrth tladnnxacmikhunsahrbsinkha echn khawsar hruxbrikarsahrb echn karkxsrang kid thvsdiculphakhnncaphicarnaprimankhwamtxngkarmwlrwmkhxngphusuxaelaprimanthiphlitodyphukhayinthukradbrakhatxhnwy aelaechuxmoyngthngsxngprimanekhadwyknephuxxthibaykarthitladekhasucudthangdanrakhaaelapriman aelakartxbsnxngkhxngtlademuxewlaphaniperuxy thvsdixupsngkhaelaxupthanepnhnunginthvsdikarwiekhraahkhangtn nxkcakni esrsthsastrculphakhyngwiekhraahthungokhrngsrangkhxngtlad echn tladaekhngkhnsmburnaelatladphukkhad ephuxthrabthungphvtikrrmaelaprasiththiphaphkhxngrabbesrsthkic karwiekhraahkarepliynaeplngintladhnung mkerimtncaksmmtithanihtladxun immikarepliynaeplng thngniephuxngaytxkhwamekhaic dngni eriykwakarwiekhraah partial equilibrium analysis khnathithvsdicaxnuyatihmikarepliynaeplngintladxun aelaichwithikhanwnprimanodyrwminthuktlad rwmipthungkhwamekhluxnihwkhxngprimandngklawaelaptismphnthephuxekhasucuddulyphaph karphlit tnthun aelaprasiththiphaph karphlitinthangesrsthsastrculphakh khuxkaraeplngwtthudibihklayepnphlphlit krabwnkarthangesrsthsastrniichwtthudibephuxphlitepnsinkhasahrbkaraelkepliynhruxephuxichnganodytrng karphlitmilksnaepn kraaes flow dngnncungniyamepnxtraphlphlittxhnwyewla tnthunkhaesiyoxkashmaykhwamthungtnthunthangesrsthsastrkhxngkarphlit hruxkhuxmulkhathisuyipkhxngoxkasthidithisudinladbthdip xnenuxngmacakkarthieluxkidephiyngxyanghnungxyangid thngni eraxacxthibayidxikxyangwaepn khwamsmphnthebuxngtnrahwangkhwamkhadaekhlnaelathangeluxk tnthunkhaesiyoxkaskhxngkickrrmhnung khuxxngkhprakxbsakhythicarbpraknidwathrphyakrxnmicakdnncathukichxyangmiprasiththiphaph odythitnthuncathukphicarnaepriybethiybkbmulkhakhxngkickrrmnn inkartdsinicwakhwrephimhruxldlng tnthunkhaesiyoxkasnnimidcakdwacatxngepnephiyngtwengin aetxacwdodytnthunthiaethcringkhxngphlphlitthisuyesiyip khwamphungphxic hruxxunidthiih khwamchanayechphaa khwamchanayechphaa hruxphasaxngkvs Specialization thuxepnpccysakhytxprasiththiphaphkhxngrabbesrsthkicthnginechingthvsdiaelahlkthanechingpracks aetlabukhkhl praethsxaccamitnthunkhaesiyoxkasthiaethcringaetktangknip echn khwamaetktangindanprimankhngkhlngkhxngthunmnusy human capital txhnwyaerngngan hrux xtraswn thuntxaerngngan epntn inthangthvsdiaelw singehlanixacnaipsu comparative advantage inkarphlitsinkhathiichpccykarphlitthimiprimanmakkwaaelathukkwaodyepriybethiyb thungaempraethshnung cami absolute advantage insdswnprimanphlphlittxpccykarphlitinthukpraephthkhxngphlphlitaelw praethsnn kxaccayngkhngmikhwamchanayechphaainphlphlitthimikhwamidepriybechingepriybethiybaelwthakarkhakhaykbxikpraethsthiimidmikhwamidepriybechingsmburnaetmikhwamidepriybechingepriybethiybinkarphlitsinkhaxun khwamchanayechphaathukklawthungodyxdm smith inhnngsux khwammngkhngkhxngprachachati The Wealth of Nation wa the division of labour is limited by the extent of the market This is because it is by the exchange that each person can be specialised in their work and yet still have access to a wide range of goods and services Hence reductions in barriers to exchange lead to increases in the division of labour and so help to drive economic growth Limitations to the division of labour have also been related to coordination and transportation costs klawkhux phakhaerngnganthukcakdodykarkhyaytlad ephraawa aetlabukhkhlnnsamarththanganihmikhwamchanayechphaaid aetwatxngmathanganhlakhlay hlayxyang thaihekidkhxcakdinkaraelkepliyn sungthahakphthnakhwamchanayidkcaephimphlitphaphkarphlitid aelayngephimkarecriyetibotthangesrsthkic dngnn aenwkhidkhxngsmith cungklawthungkarthiphakhaerngngansamarthsrangkhwamchanayechphaa odyichhlkaebngngankntha Division of Labour thaihsamarthphlitidcanwnmakkwa aelamikarprahydcakkhnad Economies of Scale ekidkhun xupsngkhaelaxupthan xupsngkhaelaxupthanepnaebbcalxngthangesrsthsastrthixthibaythungkhwamsmphnthkhxngrakhaaelaprimansinkhaintlad klawthwipkhux khxmulthangthvsdicarabuwaemuxidktamthisinkhathukkhayintlad n radbrakhathiphubriophkhmikhwamtxngkarsinkhamakkwacanwnsinkhathisamarthphlitidaelw kcaekidkarkhadaekhlnsinkhakhun sungsthankarndngklawkcasngphlihmikarephimkhunkhxngradbrakhakhxngsinkha odythiphubriophkhklumthimikhwamphrxminkarcaychara n radbrakhathiephimkhunnnkcasngphlihrakhatladsungkhun inthangtrngkhamradbrakhacatalngemuxprimansinkhathimiihnnmimakkwakhwamtxngkarthiekidkhun krabwnkardngklawcadaeninipcnkrathngtladekhasucuddulyphaph sungepncudthiimmikarepliynaeplngidekidkhunxik emuxidktamthiphuphlitthakarphlitsinkhathicuddulyphaphni sungepncudediywkbthiphusuxtklngsuxthiradbrakhadngklawaelw n cudniklawidwatladekhasucudsmdulaelw radbrakha radbrakhaepntwaeprthithukkhidkhnkhunmaephuxichpraoychninkarwdkarekhluxnihwepliynaeplngkhxngxupsngkhaelaxupthan radbrakhannepnxtrakaraelkepliynrahwangphusuxaelaphukhayintlad dngnnthvsdirakhacaklawthungesnkrafthiaethnkarekhluxnihwkhxngprimanthisamarthwdkhaid n ewlatang aelakhwamsmphnthrahwangrakhakbtwaeprthiwdkhaidxun inhnngsux khwammngkhngkhxngprachachati The Wealth of Nations khxngxdm smith idklawexaiwwa mkcamiphawaidxyangesiyxyangesmxrahwangrakhaaelakhwamsadwksbay thvsdithangesrsthsastrswnihycathuksrangkhunxyubnphunthankhxngradbrakhaaelathvsdi xupsngkhaelaxupthan demand and supply inthangthvsdiesrsthsastraelwerasamarthsngphansyyanipthwthngsngkhmidxyangmiprasiththiphaph odyphanthangradbrakha echn radbrakhathitalngcaaesdngihehnthungkarephimkhunkhxngxupsngkh inkhnathiradbrakhathisungkhuncaaesdngihehnthungkarephimkhunkhxngxupthan epntn aebbcalxngthangesrsthsastrinkhwamepncringhlaychinidchiihehnwamirupaebbkhxng radbrakhathiimepliynaeplng sungcaaesdngthungkhxethccringthiradbrakhaimsamarthekhluxnihwidxyangxisrainhlay tlad phukahndnoybaythangesrsthkicmkcaekhamaaesdngpraednotaeyngephuxihehnthungsaehtukhxngkhwamtidkhdinthangesrsthkic hruxradbrakhathiimepliynaeplngsunginthisudaelwkcathaihimsamarthbrrludulyphaphkhxngxupsngkhaelaxupthanid miesrsthsastrbangsakhacaihkhwamsnicwaradbrakhannsamarthwdmulkhaidxyangthuktxnghruxim inrabbesrsthkicaebbtladthiepnkraaeshlkmkcaphbwaphawakhwamkhadaekhlnsungepnpccyhlknnimidsathxnlngipyngradbrakha cungxaccaklawidwamiphlkrathbphaynxkkhxngtnthun dwyehtuthirabbesrsthkicaebbtladcathanaywasinkhathimikarkhadaekhlnaetmirakhatakwapkti cathukbriophkhmakekinphxdi ihdu tnthunthangsngkhm nicungepnthimakhxngthvsdisinkhasatharna khwamlmehlwkhxngtlad karthi tladlmehlw nnhmaykhwamwaekidxupsrrkhthikhdtxsmmtithanthangesrsthsastrkhun aemwaxaccamikaraebngpraephthkhwamlmehlwkhxngtladaetktangknip aetxachmayrwmthungpraephthehlani information asymmetry aelatladimsmburn xackxihekidkhwamimmiprasiththiphaphkhxngrabbesrsthkic hruxepnipidthixaccanaipsukarphthnaprasiththiphaphphantlad kdhmay aelakarchdechythangdanraebiybkhxbngkhb karphukkhadtamthrrmchati xnenuxngmacakkhwamlmehlwinkaraekhngkhn sungxthibayidwatnthunkarphlityingtalngeruxy hakphlitsinkhannephimesrsthsastrmhphakhesrsthsastrmhphakhnncaphicarnarabbesrsthkicinphaphrwmephuxxthibayxupsngkh xupthanmwlrwmaelakhwamsmphnthinlksna bnlnglang klawkhux ichthvsdidulyphaphthwipxyangngayinkarxthibay imwacaepn rayidprachachati phlphlitprachachati phawaenginefx yxylngmakidaek karbriophkhodyrwm karlngthunaelaxngkhprakxbkhxngkarlngthun nxkcakni esrsthsastrmhphakhyngthakarsuksaphlkrathbkhxngnoybaykarenginaelanoybaykarkhlng inkarcaxthibayhwkhxdngklawnn caepntxngcalxngphaphrabbesrsthkicradbmhphakhinrupaebbthisamarththakhwamekhaicidngay odyichaebbcalxngthangesrsthsastrmhphakh sungbrryaytwrabbodykhraw ephuxpraoychninkarxphipray aebbcalxngdngklawxacmirupaebbaetktangknip imwacaepn aephnphaph smkar karepriybepryinechingethkhnikh tarangelxxnethiyf epntn nbtngaetchwngthswrrs 1960 epntnma esrsthsastrmhphakhiderimphnwkexaaenwkhidaebbcalxngesrsthsastrculphakhekhamaich thnginaengkhxngphakhkarphlit rwmexakhwammiehtumiphlkhxngtwprakxbinrabbesrsthkic karichkhxmulsarsnethsxyangmiprasiththiphaph aelakaraekhngkhnaebbimsmburn sungidaekpmpraednthiekiywkbkhwamaetktangrahwangesrsthsastrthngsxngaekhnng karwiekhraahindanesrsthsastrmhphakhnxkcakniyngkhanungthungpccytang thimiphlkrathbtxradbkhwametibotinrayayawkhxngrayidprachachati xnidaek karsasmthun karepliynaeplngthangethkhonolyi aelakarkhyaytwkhxngkalngaerngngan khwametibotthangesrsthkic esrsthsastrdankhwametibotthangesrsthkicnnmungennsuksapccythixthibaykhwametibotthangesrsthkic hruxkhuxkarephimkhunkhxngphlphlittxhwkhxngpraethsinrayayaw pccydngklawkyngichinkarxthibaykhwamaetktangrahwangradbphlphlittxhwrahwangpraethsxikdwy odyechphaawathaimbangpraethsetibotidrwderwkwapraethsxun hruxwabangklumpraethsmiaenwonmetibotethathnknhruxim epntn pccythimikarwicysuksakhxnkhangmakkidaek xtrakarlngthun karetibotkhxngprachakr aelakarepliynaeplngthangethkhonolyi thnghmdnimipraktthnginrupthvsdiaelaphlkarsuksaechingpracks thnginaebbcalxngkhlassikihm aebbcalxngkaretibotphayin endogeneous growth aelainkarbnthukbychikaretibot growth accounting wtckrthurkic inchwngthiekidwikvtiesrsthkicrawthswrrs 1930 niexngthiepncudkaenidihkbesrsthsastrmhphakhthiaetkaekhnngxxkipepnsastrechphaathang rahwangphawaesrsthkictktakhrngihynn cxhn emynard ekhnsidaetnghnngsuxthichuxwa odywangrakthanthvsdihlk khxngesrsthsastraebbekhnsiw aettxmakmithvsdiaelaaenwkhidthangesrsthsastrmhphakhthithkethiyngaelawiphakswicarnkhxphidphladinaebbcalxngdngklaw esrsthsastrsankkhlassikihmichsmmtithanwaradbrakhaaelakhaaerngnnprbtwodyxtonmtiephuxekhasuphawakarcangngansmburn khnathiesrsthsastraebbekhnsihmnnmxngwakarcangngansmburnnnmiidaetinrayayaw dngnncungcaepntxngminoybayrthaelathnakharklangaethrkaesngephraawa rayayaw thiwaxaccayawnanekinip phawaenginefxaelanoybaykarengin engintraepnsuxklanginkarcharahnisahrbsinkhainrabbesrsthkicthixingrakhaepnhlk aelayngepnhnwythangbychithimkiwichraburakha odyengintrarwmthungskulenginthithuxkhrxngodysatharnathiimichthnakharaelaenginfakthikhunenginid emuxengintraepntwklanginkaraelkepliynthurkrrm engincungchwyihkarkhadaeninipidxyangsadwk hnathidngklawsamarthnamaepriybethiybidkbrabbaelkepliynsinkha barter thimikhxesiyhlkkhuxkarcbkhuphusuxaelaphukhaythimikhwamtxngkartrngkn ephraapraephthsinkhamihlakhlay engintrannchwyldkhxngkaraelkepliynlngenuxngcakkaryxmrbthiepnsakl hakmxnginradbpraethsaelw thvsdiaelahlkthanechingpracksnntanglngkhwamehnwaprimanodyrwmnnsmphnthinechingbwkkbmulkhathiepntwenginkhxngphlphlitodyrwmaelaradbrakhaodyrwm dwyehtuni karcdkarxupsngkhengintracungepnpraednhlkkhxngnoybaykarengin noybaykarkhlng karcdthabychiprachachatiepnkrrmwithiinkarsrupkickrrmthangesrsthkicodyrwmkhxngpraeths bychiprachachatimilksnaepnrabbkarbychiaebbcdbnthukkhu double entry accounting system thiecaacngraylaexiydwithithiichwdaetlaraykariwxyanglaexiyd xnidaek bychirayidaelaphlitphnthprachachati sungrabumulkhapraeminkhxngrayidaelaphlphlittxitrmashruxtxpi bychirayidaelaphlitphnthprachachatichwyihrthsamarthtidtamphlkardaeninngankhxngrabbesrsthkicaelaxngkhprakxbphayinwtckrthurkichruxtidtamkhamchwngewla khxmulekiywkbrakhaxacchwyihsamarthaeykaeyamulkhathiepntwenginxxkcakmulkhathiaethcring nominal vs real id hruxkhuxkarprbthankhaengintamkarepliynaeplngradbrakhatamrayaewlathiphanip bychiprachachatiyngrwmexakarwdmulkhathunsasm khwammngkhngkhxngpraeths aelakraaesthunrahwangpraethsxikdwychnidkhxngesrsthsastr Mainstream Economics Classical Economics esrsthsastraebbekhns Keynesian Economics Neo Classical Economics esrsthsastrculphakh Microeconomics esrsthsastrmhphakh Macroeconomics Heterodox Economics Post Keynesian Economics Marxist Economics esrsthsastraenwcxrc Georgist Economics esrsthsastrkaremuxng Political Economics Evolutionary Institutional Economics New Institutional Economics esrsthsastrphvtikrrm Behavioral Economics Experimental Economics Feminist Economics Social Economics xangxingPolitical Economy PUF 1959 Davis John B 2006 Heterodox Economics the Fragmentation of the Mainstream and Embedded Individual Analysis in Future Directions in Heterodox Economics Ann Arbor University of Michigan Press The history of economic thought a reader Steven G Medema Warren J Samuels 2003 p 3 ISBN 0 415 20550 6 Schumpeter Joseph A 1954 History of Economic Analysis pp 97 115 Oxford 2007 The Social Sciences Economics Microeconomics The New Encyclopaedia Britannica v 27 pp 347 49 Chicago ISBN 0 85229 423 9 1987 microeconomics The New Palgrave A Dictionary of Economics v 3 pp 461 63 London and New York Macmillan and Stockton ISBN 0 333 37235 2 1987 opportunity cost The New Palgrave A Dictionary of Economics v 3 pp 718 21 The Economist Economics A Z Opportunity Cost 2011 06 05 thi ewyaebkaemchchin subkhnemux 3 singhakhm 2010 Division of Labor and Specialization Econlib phasaxngkvsaebbxemrikn What Are Economies of Scale Investopedia phasaxngkvs Blaug Mark 2007 The Social Sciences Economics The New Encyclopaedia Britannica v 27 p 345 1992 Business Confidence and Depression Prevention A Mesoeconomic Perspective American Economic Review 82 2 pp 365 371 Howitt Peter M 1987 Macroeconomics Relations with Microeconomics John Eatwell Murray Milgate Peter Newman b k 1987 The New Palgrave A Dictionary of Economics pp 273 76 London and New York Macmillan and Stockton ISBN 0 333 37235 2 Blaug Mark 2007 The Social Sciences Economics Macroeconomics The New Encyclopaedia Britannica v 27 p 349 Blanchard Olivier Jean 1987 neoclassical synthesis The New Palgrave A Dictionary of Economics v 3 pp 634 36 Samuelson Paul A and William D Nordhaus 2004 ch 27 The Process of Economic Growth McGraw Hill ISBN 0 07 287205 5 Uzawa H 1987 models of growth v 3 pp 483 89 James Tobin Tobin James 1992 Money Money as a Social Institution and Public Good The New Palgrave Dictionary of Finance and Money v 2 pp 770 71 Milton Friedman 1987 quantity theory of money The New Palgrave A Dictionary of Economics v 4 pp 15 19 Samuelson Paul A and William D Nordhaus 2004 Economics ch 2 Money The Lubroicant of Exchange section ch 33 Fig 33 3 Ruggles Nancy D 1987 social accounting edited by John Eatwell Murray Milgate Peter Newman 1987 The New Palgrave A Dictionary of Economics London amp New York Macmillan and Stockton pp v 3 377 ISBN 0 333 37235 2 brrnanukrm rachbnthitysthan phcnanukrmsphthesrsthsastr xngkvs ithy ithy xngkvs Barr Nicholas 2004 Economics of the Welfare State 4th ed Oxford University Press Charles Robert McCann Jr 2003 The Elgar Dictionary of Economic Quotations Edward Elgar Preview Stiglitz Joseph 2000 Economics of the Public Sector 3rd ed Norton Pressaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb esrsthsastr wikiphcnanukrm mikhwamhmaykhxngkhawa esrsthsastr Economics thiewbist Curlie Economic journals on the web 10 krkdakhm 2013 thi ewyaebkaemchchin Economics at Encyclopaedia Britannica Intute Economics Internet directory of UK universities Research Papers in Economics RePEc Resources For Economists 2013 05 11 thi ewyaebkaemchchin American Economic Association sponsored guide to 2 000 Internet resources from Data to Neat Stuff updated quarterly www pkarchive org ewbistkhxngphxl khrukaemn MBE economics esrsthsastr nida mbe 11 nida phthnakaresrsthkic 29 phvscikayn 2005 thi ewyaebkaemchchin rwmbthkhwamcakaehlngkhawtang rwmnganekhiynekiywkbesrsthsastr 22 mithunayn 2006 thi ewyaebkaemchchin khxngpkpxng cnwithy