บทความนี้ไม่มีจาก |
เศรษฐศาสตร์การเมือง (อังกฤษ: Political economy) มีความหมายกว้างขวางมาก คำจำกัดความจึงเป็นได้หลากหลายทาง ในทางหนึ่ง อาจหมายถึง ความหมายของเศรษฐศาสตร์ที่คิดรวมเอาปัจจัยด้านอื่นเข้าไปรวมด้วย เช่น สังคม วัฒนธรรม ประเพณี พฤติกรรมของคน กฎหมาย การเมือง(ความเกี่ยวข้องกับรัฐ) และพิจารณาถึงปูมหลังของแต่ละทฤษฎีด้วย อีกทั้งเป็นการศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างของระบบ มากกว่า ที่จะพิจารณาแต่ในเชิงคณิตศาสตร์และตรรกะบนการตั้งสมมติฐาน
ประวัติ
คำว่า Political economy (เศรษฐศาสตร์การเมือง) ได้ถูกนำมาใช้อย่างกว้างขวางก่อนคำว่า Economics (เศรษฐศาสตร์) เศรษฐศาสตร์การเมืองในสมัยแรกเป็นความพยายามแยกให้เห็นว่า การปกครองเมือง (Political) มีความแตกต่างจากการปกครองแบบเดิม ซึ่งคำว่า Economy มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก แปลว่าการจัดสรรครัวเรือน การเพิ่มคำ political เข้าไปอาจทำให้หมายถึง การจัดสรรในแบบที่แตกต่างไปจากครัวเรือนทั่วไปเป็นแบบเมือง ซึ่งเป็นเรื่องใหม่ในสมัยนั้น โดยที่การศึกษาจะเกี่ยวกับการดำเนินงานและการผลิตที่บริหารโดยรัฐ(รัฐเป็นสถาบันใหม่ในสังคม) ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังของระบบทุนนิยมที่เพิ่งเกิดใหม่และมีบทบาทมากขึ้น[] คำนี้ ได้ถูกใช้เป็นครั้งแรกในอังกฤษ สมัย คริสต์ศตวรรษที่18 เพื่อแทนที่ แนวคิดสำนักธรรมชาตินิยม (Physiocracy)ของฝรั่งเศส งานเขียนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์การเมืองชิ้นแรกๆ ได้แก่ The labour theory of value (ซึ่งเริ่มโดย จอห์น ล็อก), พัฒนาต่อโดย อดัม สมิธ และวิเคราะห์ต่อในเชิงวิพากษ์โดยคาร์ล มาร์กซ)
ใน คริสต์ศตวรรษที่19 เนื่องด้วยความเฟื่องฟูของวิชาเศรษฐศาสตร์ในแบบกระแสหลัก ทำให้ คำว่า เศรษฐศาสตร์การเมือง ถูกแทนที่ด้วย คำว่า เศรษฐศาสตร์ และทฤษฎีของเศรษฐศาสตร์ที่ว่านั้น ก็มีการใช้แนวคิดในเชิงองค์รวมน้อยลง เนื่องจากคำพยายามที่จะทำให้เศรษฐศาสตร์เป็น วิชาที่สามารถตัดออกจาก อารมความรู้สึกทางวัฒนธรรม สังคมและการเมือง เพื่อให้วิชาดังกล่าวมีความคิดเป็นเหตเป็นผลทางวิทยาศาสตร์มากขึ้น เป็นผลทำให้ เศรษฐศาสตร์กลายเป็นสาขาวิชาที่ ไม่ค่อยตอบโจกย์ปัญหาของสังคม การเมือง หรือวัฒนธรรมใดๆเลย
ในภายหลัง ที่เริ่มมีการวิพากษ์วิจารณ์เศรษฐศาสตร์กระแสหลักมาก ขึ้น เศรษฐศาสตร์การเมือง จึงปรากฏชัดขึ้นอีกครั้ง และมีบทบาทมาถึงปัจจุบัน
เศรษฐศาสตร์กระแสหลัก (Neo classic) มีความโดดเด่นในการชี้นำให้เห็นถึงสาเหตุการขยายตัวทางเศรษฐกิจ สังคมสามารถนำทรัพยากรมาใช้ในการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยกลไกตลาดที่ทำงานอย่างเสรี แต่ความเป็นจริง กลไกตลาดไม่เคยทำงานอย่างเป็นอิสระ ถูกครอบงำด้วยอำนาจที่ชัดเจนและที่ไม่ชัดเจน เป้าหมายการใช้อำนาจเหนือกลไกตลาดก็คือ การได้กรรมสิทธ์ส่วนเกิน(surplus) เศรษฐศาสตร์การเมือง วิเคราะห์เศรษฐกิจ บนพื้นฐานความจริงทางสังคม อำนาจทางการเมือง การกระทำในประวัติศาสตร์ เพื่ออธิบายรูปแบบเติบโตที่ขาดสมดุล ทำไมยิ่งพัฒนายิ่งทำให้สังคมแตกแยก
ตัวอย่างประเด็นปัญหาในเชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง
- อะไรเป็นบ่อเกิดของความมั่งคั่งโดยรวมของผู้คน (source of all wealth)
- ระบบเศรษฐกิจควรจะเปิดเสรี หรือ ควรจะมีการแทรกแซง
- ประเทศควรจะผลิตสินค้าและบริการแบบไหน (เพื่อให้ไม่ขาด)
- อะไรคือสาเหตุของ (economic crisis) อะไรกำหนด (business cycle)
- ปัญหาเรื่องการกระจายรายได้
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir esrsthsastrkaremuxng xngkvs Political economy mikhwamhmaykwangkhwangmak khacakdkhwamcungepnidhlakhlaythang inthanghnung xachmaythung khwamhmaykhxngesrsthsastrthikhidrwmexapccydanxunekhaiprwmdwy echn sngkhm wthnthrrm praephni phvtikrrmkhxngkhn kdhmay karemuxng khwamekiywkhxngkbrth aelaphicarnathungpumhlngkhxngaetlathvsdidwy xikthngepnkarsuksaaelawiekhraahokhrngsrangkhxngrabb makkwa thicaphicarnaaetinechingkhnitsastraelatrrkabnkartngsmmtithanJean Jacques Rousseau Discours sur l oeconomie politique 1758prawtikhawa Political economy esrsthsastrkaremuxng idthuknamaichxyangkwangkhwangkxnkhawa Economics esrsthsastr esrsthsastrkaremuxnginsmyaerkepnkhwamphyayamaeykihehnwa karpkkhrxngemuxng Political mikhwamaetktangcakkarpkkhrxngaebbedim sungkhawa Economy miraksphthmacakphasakrik aeplwakarcdsrrkhrweruxn karephimkha political ekhaipxacthaihhmaythung karcdsrrinaebbthiaetktangipcakkhrweruxnthwipepnaebbemuxng sungepneruxngihminsmynn odythikarsuksacaekiywkbkardaeninnganaelakarphlitthibriharodyrth rthepnsthabnihminsngkhm thikhbekhluxndwyphlngkhxngrabbthunniymthiephingekidihmaelamibthbathmakkhun txngkarxangxing khani idthukichepnkhrngaerkinxngkvs smy khriststwrrsthi18 ephuxaethnthi aenwkhidsankthrrmchatiniym Physiocracy khxngfrngess nganekhiynekiywkbesrsthsastrkaremuxngchinaerk idaek The labour theory of value sungerimody cxhn lxk phthnatxody xdm smith aelawiekhraahtxinechingwiphaksodykharl marks in khriststwrrsthi19 enuxngdwykhwamefuxngfukhxngwichaesrsthsastrinaebbkraaeshlk thaih khawa esrsthsastrkaremuxng thukaethnthidwy khawa esrsthsastr aelathvsdikhxngesrsthsastrthiwann kmikarichaenwkhidinechingxngkhrwmnxylng enuxngcakkhaphyayamthicathaihesrsthsastrepn wichathisamarthtdxxkcak xarmkhwamrusukthangwthnthrrm sngkhmaelakaremuxng ephuxihwichadngklawmikhwamkhidepnehtepnphlthangwithyasastrmakkhun epnphlthaih esrsthsastrklayepnsakhawichathi imkhxytxbockypyhakhxngsngkhm karemuxng hruxwthnthrrmidely inphayhlng thierimmikarwiphakswicarnesrsthsastrkraaeshlkmak khun esrsthsastrkaremuxng cungpraktchdkhunxikkhrng aelamibthbathmathungpccubn esrsthsastrkraaeshlk Neo classic mikhwamoddedninkarchinaihehnthungsaehtukarkhyaytwthangesrsthkic sngkhmsamarthnathrphyakrmaichinkarphlitxyangmiprasiththiphaph odyxasykliktladthithanganxyangesri aetkhwamepncring kliktladimekhythanganxyangepnxisra thukkhrxbngadwyxanacthichdecnaelathiimchdecn epahmaykarichxanacehnuxkliktladkkhux karidkrrmsiththswnekin surplus esrsthsastrkaremuxng wiekhraahesrsthkic bnphunthankhwamcringthangsngkhm xanacthangkaremuxng karkrathainprawtisastr ephuxxthibayrupaebbetibotthikhadsmdul thaimyingphthnayingthaihsngkhmaetkaeyktwxyangpraednpyhainechingesrsthsastrkaremuxngxairepnbxekidkhxngkhwammngkhngodyrwmkhxngphukhn source of all wealth rabbesrsthkickhwrcaepidesri hrux khwrcamikaraethrkaesng praethskhwrcaphlitsinkhaaelabrikaraebbihn ephuxihimkhad xairkhuxsaehtukhxng economic crisis xairkahnd business cycle pyhaeruxngkarkracayrayidbthkhwamesrsthsastr karengin thurkic hrux karkhaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk