ในสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุณหพลศาสตร์, เครื่องจักรความร้อน (Heat Engine) เป็นเครื่องจักรที่ใช้เปลี่ยนพลังงานความร้อนไปสู่ โดยอาศัยความแตกต่างทางอุณหภูมิของแหล่งกำเนิดอุณหภูมิสูง (heat source) และแหล่งกำเนิดอุณหภูมิต่ำ (heat sink). ความร้อนจะถูกถ่ายเทจากแหล่งกำเนิดอุณหภูมิสูงไปต่ำ และความร้อนบางส่วนจะถูกเปลี่ยนไปเป็นงานในกระบวนการนี้. ในอดีต เครื่องจักรความร้อนเป็นที่นิยมใช้ในงานต่าง ๆ เป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะพลังงานความร้อน เป็นพลังงานที่สร้างได้ง่ายมาก และเราสามารถควบคุมมันได้ง่ายเนื่องจากความร้อนจะมุ่งหน้าจากแหล่งอุณหภูมิสูงไปยังแหล่งอุณหภูมิต่ำเสมอ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์).
ประวัติและความสำคัญของเครื่องจักรความร้อน
ในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม มนุษย์เราได้ผลิดเครื่องจักรและเพื่อใช้งานแทนสัตว์ เช่น ม้า (สังเกตได้จากการที่มีหน่วยพลังงานเป็น แรงม้า เพื่อใช้เปรียบเทียบกับม้านั่นเอง). เครื่องจักรไอน้ำที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้นได้แก่ และ ซึ่งประสบความสำเร็จในอุตสาหกรรมเป็นอย่างมาก. อย่างไรก็ตามในสมัยนั้น ความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีของเครื่องจักรความร้อนมีน้อยมากและไม่สามารถอธิบายประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนได้ดี เช่น เราไม่ทราบว่าอัตราส่วนพลังงานความร้อนที่เรามอบให้เครื่องจักรนั้นถูกแปรเปลี่ยนไปเป็นงานทางกลศาสตร์กี่เปอร์เซ็นต์.
ในปี ค.ศ. 1824 ซาดี การ์โนต์ วิศวกรชาวฝรั่งเศสได้ตีพิมพ์ผลงาน Reflections on the Motive Power of Fire [1] 2005-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เมื่อกำหนดแหล่งกำเนิดอุณหภูมิสูงและต่ำคู่ใด ๆ แล้ว เครื่องจักรความร้อนการ์โนต์เป็นเครื่องจักรที่ให้งานทางกลศาสตร์มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ (ต่อมาเราทราบว่าทุกชนิดมีประสิทธิภาพสูงสุดเท่าเครื่องจักรการ์โนต์). งานของเครื่องจักรการ์โนต์ทำให้เราตระหนักถึงขอบเขตที่ดีที่สุดของเครื่องจักรความร้อนเท่าที่เราทำได้ และยังเป็นจุดเริ่มต้นของการศึกษาทฤษฎีทางอุณหพลศาสตร์อย่างจริงจังอีกด้วย ซึ่งทำให้ต่อมาลอร์ด เคลวินและค้นพบกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์. นักฟิสิกส์หลายท่านถือว่าการ์โนต์เป็นหนึ่งในผู้ค้นพบกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์
ตัวอย่างของเครื่องจักรความร้อนที่พบได้ในปัจจุบันมีมากมาย เช่น เครื่องจักรไอน้ำ (ดังเช่น ), เครื่องยนต์ดีเซล หรือ เป็นต้น. ในเครื่องยนต์ของรถยนต์ สิ่งที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งกำเนิดอุณหภูมิสูงจะอยู่ในตัวเครื่องยนต์ เช่น การเผาไหม้จากน้ำมัน และสิ่งที่เสมือนเป็นแหล่งกำเนิดอุณหภูมิต่ำก็คือสิ่งแวดล้อมภายนอกนั่นเอง. เครื่องจักรความร้อนอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงทั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติได้แก่ และตู้เย็น (ซึ่งสร้างได้จากการนำกระบวนการของเครื่องจักรความร้อนมาย้อนกลับ) เป็นต้น
เครื่องจักรความร้อนและกฎของอุณหพลศาสตร์
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนของการ์โนต์เป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญอย่างยิ่งจุดหนึ่งของอุณหพลศาสตร์. โดยทั่วไปเครื่องจักรความร้อนจะเป็นเครื่องจักรชนิด (cyclic device) นั่นคือเมื่อทำงานไปพักหนึ่ง สถานะของเครื่องจักรจะวนกลับเข้ามาที่สถานะเริ่มต้นใหม่ และจะวนไปมาเรื่อย ๆ. ทั้งนี้เนื่องจากจะมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในกระบวนการการทำงานของเครื่องจักรเสมอ ถ้าเราสร้างเครื่องจักรให้เป็นชนิดไม่วนรอบ เมื่อทำงานไปเรื่อย ๆ ไม่หยุดอุณหภูมิก็จะมากขึ้นเรื่อย ๆ จนระเบิด (หรืออุณหภูมิลดลงเรื่อย ๆ จนถึงจุดเยือกแข็ง). ถ้าเรานิยามประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนเป็น อัตราส่วนของงานที่ได้รับต่อพลังงานที่ให้เครื่องจักร, โดยพลังงานที่ให้คือพลังงานความร้อนขาเข้า และพลังงานที่ได้รับ ดังรูปด้านข้าง เราสามารถเขียนในรูปสมการได้ว่า
เนื่องจากจะมีความร้อนส่วนหนึ่ง ออกไปยังแหล่งกำเนิดอุณหภูมิระดับต่ำเสมอ และเนื่องจากเครื่องจักรความร้อนเป็นชนิดเครื่องจักรวนรอบ, ในแต่ละรอบการเปลี่ยนแปลงของเครื่องจักรจึงเท่ากับศูนย์. จากกฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์เราสามารถเขียนสมการงาน-พลังงานในแต่ละรอบของการทำงานของเครื่องจักรได้ดังนี้
หรือ
ฉะนั้นประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อนคือ
อนึ่ง การ์โนต์ได้พิสูจน์ไว้ในผลงานของเขาว่า เมื่อกำหนดแหล่งกำเนิดอุณหภูมิเดียวกัน เครื่องจักรการ์โนต์จะเป็นเครื่องจักรที่ให้พลังงานสูงสุด และมีค่าเท่ากับ
(ดู ) นั่นคือประสิทธิภาพของเครื่องจักรการ์โนต์จะขึ้นกับอุณหภูมิของแหล่งกำเนิดอุณหภูมิสูง และอุณหภูมิของแหล่งกำเนิดอุณหภูมิต่ำ เท่านั้น. โดยอุณหภูมิต้องวัดในหรือ ในเวลาต่อมาเราทราบว่าทุก ๆ จะให้ประสิทธิภาพการทำงานสูงสุดเทียบเท่าเครื่องจักรการ์โนต์.
กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์สามารถกล่าวในบริบทของเครื่องจักรความร้อนได้ว่า ไม่มีเครื่องจักรความร้อนใดที่มีประสิทธิภาพ 100% (กฎข้อที่สองในรูปแบบของเคลวิน-พลังค์). อย่างไรก็ตามในทางทฤษฎี เราสามารถทำให้เครื่องจักรการ์โนต์มีประสิทธิภาพใกล้เคียง 100% เท่าใดก็ได้ โดยการกำหนดให้ และ แตกต่างกันมาก ๆ. แต่จากกฎข้อที่สองทำให้ เป็นศูนย์ไม่ได้. และนี่คือที่มาของ กฎข้อที่สามของอุณหพลศาสตร์ นั่นคือ อุณหภูมิ 0 องศาสัมบูรณ์ไม่สามารถเกิดขึ้นได้
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Malcolm Longair. Theoretical Concepts in Physics : An Alternative View of Theoretical Reasoning in Physics, 2nd edition. Cambridge University Press, 2003.
- Ronald Lane Reese. University Physics. Brooks Cole, 1999.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Heat Engine
- Citat: "...The refrigeration cycle is basically the Rankine cycle run in reverse..."
- Red Rock Energy Solar Heliostats: Heat Engine Projects Citat: "...Choosing a Heat Engine..."
- Overview of heat engine types 2007-06-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insakhawiswkrrmsastraelaxunhphlsastr ekhruxngckrkhwamrxn Heat Engine epnekhruxngckrthiichepliynphlngngankhwamrxnipsu odyxasykhwamaetktangthangxunhphumikhxngaehlngkaenidxunhphumisung heat source aelaaehlngkaenidxunhphumita heat sink khwamrxncathukthayethcakaehlngkaenidxunhphumisungipta aelakhwamrxnbangswncathukepliynipepnnganinkrabwnkarni inxdit ekhruxngckrkhwamrxnepnthiniymichinngantang epnxyangmak thngniephraaphlngngankhwamrxn epnphlngnganthisrangidngaymak aelaerasamarthkhwbkhummnidngayenuxngcakkhwamrxncamunghnacakaehlngxunhphumisungipyngaehlngxunhphumitaesmx duraylaexiydephimetimthi kdkhxthisxngkhxngxunhphlsastr idxaaekrmkhxngekhruxngckrixnawttprawtiaelakhwamsakhykhxngekhruxngckrkhwamrxninyukhptiwtixutsahkrrm mnusyeraidphlidekhruxngckraelaephuxichnganaethnstw echn ma sngektidcakkarthimihnwyphlngnganepn aerngma ephuxichepriybethiybkbmannexng ekhruxngckrixnathimichuxesiynginsmynnidaek aela sungprasbkhwamsaercinxutsahkrrmepnxyangmak xyangirktaminsmynn khwamrukhwamekhaicinthvsdikhxngekhruxngckrkhwamrxnminxymakaelaimsamarthxthibayprasiththiphaphkhxngekhruxngckrkhwamrxniddi echn eraimthrabwaxtraswnphlngngankhwamrxnthieramxbihekhruxngckrnnthukaeprepliynipepnnganthangklsastrkiepxresnt inpi kh s 1824 sadi karont wiswkrchawfrngessidtiphimphphlngan Reflections on the Motive Power of Fire 1 2005 10 02 thi ewyaebkaemchchin sungaesdngihehnwa emuxkahndaehlngkaenidxunhphumisungaelatakhuid aelw ekhruxngckrkhwamrxnkarontepnekhruxngckrthiihnganthangklsastrmakthisudethathiepnipid txmaerathrabwathukchnidmiprasiththiphaphsungsudethaekhruxngckrkaront ngankhxngekhruxngckrkarontthaiheratrahnkthungkhxbekhtthidithisudkhxngekhruxngckrkhwamrxnethathierathaid aelayngepncuderimtnkhxngkarsuksathvsdithangxunhphlsastrxyangcringcngxikdwy sungthaihtxmalxrd ekhlwinaelakhnphbkdkhxthisxngkhxngxunhphlsastr nkfisikshlaythanthuxwakarontepnhnunginphukhnphbkdkhxthisxngkhxngxunhphlsastr twxyangkhxngekhruxngckrkhwamrxnthiphbidinpccubnmimakmay echn ekhruxngckrixna dngechn ekhruxngyntdiesl hrux epntn inekhruxngyntkhxngrthynt singthithahnathiepnaehlngkaenidxunhphumisungcaxyuintwekhruxngynt echn karephaihmcaknamn aelasingthiesmuxnepnaehlngkaenidxunhphumitakkhuxsingaewdlxmphaynxknnexng ekhruxngckrkhwamrxnxun thimichuxesiyngthnginthangthvsdiaelaptibtiidaek aelatueyn sungsrangidcakkarnakrabwnkarkhxngekhruxngckrkhwamrxnmayxnklb epntnekhruxngckrkhwamrxnaelakdkhxngxunhphlsastrkarwiekhraahprasiththiphaphkhxngekhruxngckrkhwamrxnkhxngkarontepncuderimtnthisakhyxyangyingcudhnungkhxngxunhphlsastr odythwipekhruxngckrkhwamrxncaepnekhruxngckrchnid cyclic device nnkhuxemuxthanganipphkhnung sthanakhxngekhruxngckrcawnklbekhamathisthanaerimtnihm aelacawnipmaeruxy thngnienuxngcakcamikarepliynaeplngxunhphumiinkrabwnkarkarthangankhxngekhruxngckresmx thaerasrangekhruxngckrihepnchnidimwnrxb emuxthanganiperuxy imhyudxunhphumikcamakkhuneruxy cnraebid hruxxunhphumildlngeruxy cnthungcudeyuxkaekhng thaeraniyamprasiththiphaphkhxngekhruxngckrkhwamrxnepn xtraswnkhxngnganthiidrbtxphlngnganthiihekhruxngckr odyphlngnganthiihkhuxphlngngankhwamrxnkhaekha Qin displaystyle Q in aelaphlngnganthiidrb W displaystyle W dngrupdankhang erasamarthekhiyninrupsmkaridwa Efficiency W Qin displaystyle Efficiency W Q in enuxngcakcamikhwamrxnswnhnung Qout displaystyle Q out xxkipyngaehlngkaenidxunhphumiradbtaesmx aelaenuxngcakekhruxngckrkhwamrxnepnchnidekhruxngckrwnrxb inaetlarxbkarepliynaeplngkhxngekhruxngckrcungethakbsuny cakkdkhxthihnungkhxngxunhphlsastrerasamarthekhiynsmkarngan phlngnganinaetlarxbkhxngkarthangankhxngekhruxngckriddngni 0 Qin Qout W displaystyle 0 Q in Q out W hrux W Qin Qout displaystyle W Q in Q out channprasiththiphaphkhxngekhruxngckrkhwamrxnkhux Efficiency 1 Qout Qin displaystyle Efficiency 1 Q out Q in xnung karontidphisucniwinphlngankhxngekhawa emuxkahndaehlngkaenidxunhphumiediywkn ekhruxngckrkarontcaepnekhruxngckrthiihphlngngansungsud aelamikhaethakb EfficiencyCarnot 1 TC TH displaystyle Efficiency Carnot 1 T C T H du nnkhuxprasiththiphaphkhxngekhruxngckrkarontcakhunkbxunhphumikhxngaehlngkaenidxunhphumisung TH displaystyle T H aelaxunhphumikhxngaehlngkaenidxunhphumita TC displaystyle T C ethann odyxunhphumitxngwdinhrux inewlatxmaerathrabwathuk caihprasiththiphaphkarthangansungsudethiybethaekhruxngckrkaront kdkhxthisxngkhxngxunhphlsastrsamarthklawinbribthkhxngekhruxngckrkhwamrxnidwa immiekhruxngckrkhwamrxnidthimiprasiththiphaph 100 kdkhxthisxnginrupaebbkhxngekhlwin phlngkh xyangirktaminthangthvsdi erasamarththaihekhruxngckrkarontmiprasiththiphaphiklekhiyng 100 ethaidkid odykarkahndih TH displaystyle T H aela TC displaystyle T C aetktangknmak aetcakkdkhxthisxngthaih TC displaystyle T C epnsunyimid aelanikhuxthimakhxng kdkhxthisamkhxngxunhphlsastr nnkhux xunhphumi 0 xngsasmburnimsamarthekidkhunidduephimtueyn ekhruxngprbxakasxangxingMalcolm Longair Theoretical Concepts in Physics An Alternative View of Theoretical Reasoning in Physics 2nd edition Cambridge University Press 2003 Ronald Lane Reese University Physics Brooks Cole 1999 aehlngkhxmulxunHeat Engine Citat The refrigeration cycle is basically the Rankine cycle run in reverse Red Rock Energy Solar Heliostats Heat Engine Projects Citat Choosing a Heat Engine Overview of heat engine types 2007 06 21 thi ewyaebkaemchchin