ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
เครื่องจักรไอน้ำ (อังกฤษ: Steam engine) ประดิษฐ์โดย (Thomas Newcomen) เมื่อ พ.ศ. 2248 (ค.ศ. 1705) ต่อมา เจมส์ วัตต์ ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำขึ้น ซึ่งหลังจากนั้น ได้มีการนำเอาชื่อท่านมาตั้งเป็นหน่วยของกำลังไฟฟ้าวัตต์
เครื่องจักรไอน้ำเป็นเครื่องจักรแรกๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น รถจักรไอน้ำ เรือกลไฟ
เครื่องจักรไอน้ำ เป็นเครื่องจักรประเภท สันดาปภายนอก สามารถนำมาเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าได้ โดยการนำไอน้ำมาหมุนกังหันของ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า (ไดนาโม) เครื่องจักรไอน้ำต้องมีหม้อต้มในการต้มน้ำในการทำให้เกิดไอน้ำ ไอน้ำที่ได้จากการต้ม จะนำไปเป็นแรงในการดันกระบอกสูบหรือกังหัน
ข้อดีของเครื่องจักรไอน้ำประการหนึ่งคือการที่สามารถใช้แหล่งความร้อนจากอะไรก็ได้ เช่น นิวเคลียร์ พลังงานแสงอาทิตย์ เอทานอล
นำมันจากพืช และอื่นได้ อีกมาก
และแม้แต่ในปัจจุบัน เครื่องจักรไอน้ำหรือกลไกที่ถูกพัฒนาขึ้นจากเครื่องจักรไอน้ำยังคงปรากฏซ่อนอยู่ในเครื่องจักรเครื่องกลแทบทุกประเภท เช่น โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน กระบอกสูบในรถยนต์ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าพลังงานไอนำ
การประดิษฐ์ริเริ่มและพัฒนา
เครื่องจักรไอน้ำเครื่องแรกที่มีการบันทึกไว้คือ Arolipile คนที่ประดิษฐ์คือวิศวกรและนักฟิสิกส์ชาวกรีก ในช่วงศตวรรษที่ 1 แต่ครั้งนั้นนำมาใช้เป็นของเล่น ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2206 (ค.ศ. 1663) นายเอ็ดเวิร์ด โซเมอร์เซ็ด ได้ออกแบบและนำไปใช้เป็นประโยชน์ในการปั้มน้ำ
เมื่อ พ.ศ. 2223 (ค.ศ. 1680) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส เดนนิส ปาปิน ( Denis Papin) สร้างหม้อต้มความดันจุดประสงค์เพื่อใช้ในการทำอาหาร ซึ่งถือเป็นหม้อความดันรุ่นแรก เพื่อเป็นการป้องกันการระเบิดของหม้อต้มความดัน เดนนิส ปาปิน ได้ออกแบบ (Release Valve) นอกจากนี้ยังสังเกตว่าคาบการทำงานของวาวล์ เป็นจังหวะขึ้นลงๆ ทำ ให้เกิดความคิดเกี่ยวกับเครื่องจักรแบบกระบอกสูบ แต่เขาก็ไม่ได้สร้างเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้งานได้จริง ต่อมาวิศวกร Thomas Savery (โทมัส ซาวารี่) ได้ใช้การออกแบบของปาปิน มาทำเป็นเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้งานได้
ในอุตสาหกรรมเครื่องจักรไอน้ำช่วงแรกเป็นการออกแบบของ (Thomas Savery) เมื่อ พ.ศ. 2255 (ค.ศ. 1712) เครื่องจักรไอน้ำแบบบรรยากาศ (atmospheric-engine) ของ โทมัส นิวโคเมน (Thomas Newcomen) ได้ทดลองและใช้ในอุตสาหกรรม
ต่อมา เซฟเวอรีและนิวโคเมนร่วมกันพัฒนา (beam engine) ที่สามารถใช้แบบความดันบรรยากาศและความดันสุญญากาศ ช่วงแรกของอุตสาหกรรมใช้เครื่องจักรไอน้ำแบบสุญญากาศในการปั๊มน้ำจากเหมือง เครื่องจักรไอน้ำของนิวโคเมน รุ่นแรกทำงานช้าและต้องใช้คนเปิด-ปิดวาล์วเอง ต่อมาจึงเปลี่ยนมาใช้ตัวเครื่องจักรเองในการเปิด-ปิดวาล์ว
ต่อมา เจมส์ วัตต์ (James Watt) ได้พัฒนาเครื่องจักรไอน้ำจากแบบของนิวโคเมน และ ได้จดสิทธิบัตร Watt Steam Engine ซึ่งทำงานเรียบกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า
การพัฒนาในเรื่องของประสิทธิภาพช่วงต่อมาจากการประดิษฐ์ของ Oliver Evans และ Rechard Trevithick โดยการใช้ไอน้ำแรงดันสูง ซึ่งเครื่องจักรไอน้ำที่ใช้แรงดันสูงที่ Trevithick สร้างไว้เป็นที่รู้จักในชื่อ (Cornish engines)
อย่างไรก็ตามเครื่องจักรไอน้ำแรงดันสูงมีอันตรายมาก จากหม้อต้มระเบิดเพราะไม่สามารถทนความดันสูงได้ และเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุหลายๆเหตุการณ์ สิ่งสำคัญของเครื่องจักรไอน้ำแบบความดันสูงคือ ความพิถีพิถันในการผลิต ซึ่งใช้ในการปล่อยความดันที่เกินของเครื่องจักรไอน้ำ และเหตุนี้เองจึงต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักรไอน้ำที่เข้มงวด และกำหนดมาตรฐานการผลิตวาล์วนิรภัย
ประเภทของเครื่องจักรไอน้ำ
เครื่องจักรไอน้ำแบบสูบขึ้นลง (Reciprocating Engines)
ความแตกต่างของการทำงานของเครื่องจักรไอน้ำแบบสูญญากาศและแบบความดันสูง ไอน้ำความดันสูงมีสีแดง, ความดันต่ำสีเหลือง และ ไอน้ำควบแน่นสีน้ำเงิน ด้านบนของเครื่องความดันแบบสูญญากาศต้องเปิดสู่บรรยากาศเพื่อให้ความดันบรรยากาศกระทำด้านบนกระบอกสูบ เครื่องจักรแบบ Reciprocating ใช้การทำงานของไอน้ำในการเคลื่อนที่สูกสูบในกระบอกสูบที่ปิดสนิท
เครื่องจักรไอน้ำแบบความดันสุญญากาศ (Vacuum engines)
จังหวะการทำงานของเครื่องจักรไอน้ำแบบสุญญากาศคือ การให้ไอน้ำความดันต่ำเข้าไปในกระบอกสูบและทำการปิดวาล์วทางเข้าลูกสูบเคลื่อนที่ไปอยู่บริเวณด้านบน หลังจากนั้นไอน้ำจะความแน่นกลายเป็นหยดน้ำ ซึ่งทำให้ปริมาตรของไอน้ำลดลงทำให้เกิดเป็นสุญญากาศ
จากนั้นความดันบรรยากาศจะกดอีกด้านของลูกสูบ ทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ไปอยู่ด้านล่าง และกระบอกสูบติดอยู่กับคานน้ำหนักค้านนอกเพียงพอจะที่ทำให้ไอน้ำความดันต่ำดันลูกสูบเคลื่อนที่ไปอยู่ด้านบนสุดได้อีกครั้ง ทำเช่นนี้กลับไปกลับมาทำให้สามารถนำมาใช้เป็นแรงกลได้
ในเครื่องจักรไอน้ำของนิวโคเมน น้ำเย็นได้ถูกฉีดโดยตรงเข้าไปในกระบอกสูบเลย แต่ในเครื่องจักรไอน้ำของวัตต์ มีการแยกกระบอกเป็นห้องไอน้ำควบแน่นและห้องหลักออกจากกันโดยกันด้วยวาล์ว ประสิทธิภาพของเครื่องจักรของนิวโคเมน ขึ้นอยู่กับการสูญเสียความร้อนในจังหวะควบแน่นและให้ความร้อนเพราะเกิดขึ้นในห้องหลักเพียงห้องเดียว การแยกกระบวนการความแน่นของไอน้ำไปอยู่อีกห้องทำให้ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
เครื่องจักรใบพัด
เป็นเครื่องจักรที่ทำงานโดยให้ไอนำยิ่งยวดดันกังหันหรือใบพัดในภาชนะรูปหอยโขงให้หมุน จึงเกิด พลังงานกล
เครื่องจักรแบบอื่นๆ
อ้างอิง
- พื้นฐานเครื่องยนต์ 2012-05-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud ekhruxngckrixna xngkvs Steam engine pradisthody Thomas Newcomen emux ph s 2248 kh s 1705 txma ecms wtt idphthnaekhruxngckrixnakhun sunghlngcaknn idmikarnaexachuxthanmatngepnhnwykhxngkalngiffawttaebbcalxngkhxngekhruxngckrixnaaebbkhanthimikhxtxaebbkhnan khxngecms wttsahrbkardbebilaexkchnekhruxngckrixna ekhruxngckrixnaepnekhruxngckraerk thimnusysrangkhun echn rthckrixna eruxklif ekhruxngckrixna epnekhruxngckrpraephth sndapphaynxk samarthnamaepliynepnphlngnganiffaid odykarnaixnamahmunknghnkhxng ekhruxngkaenidiffa idnaom ekhruxngckrixnatxngmihmxtminkartmnainkarthaihekidixna ixnathiidcakkartm canaipepnaernginkardnkrabxksubhruxknghn khxdikhxngekhruxngckrixnaprakarhnungkhuxkarthisamarthichaehlngkhwamrxncakxairkid echn niwekhliyr phlngnganaesngxathity exthanxl namncakphuch aelaxunid xikmak aelaaemaetinpccubn ekhruxngckrixnahruxklikthithukphthnakhuncakekhruxngckrixnayngkhngpraktsxnxyuinekhruxngckrekhruxngklaethbthukpraephth echn orngiffaphlngngankhwamrxn krabxksubinrthynt ekhruxngkaenidiffaphlngnganixnakarpradisthrierimaelaphthnaAeolipile ekhruxngckrixnaekhruxngaerkthimikarbnthukiwkhux Arolipile khnthipradisthkhuxwiswkraelankfisikschawkrik inchwngstwrrsthi 1 aetkhrngnnnamaichepnkhxngeln txmaemux ph s 2206 kh s 1663 nayexdewird osemxresd idxxkaebbaelanaipichepnpraoychninkarpmna ekhruxngckrixnaaebbluksub odynay Denis Papin emux ph s 2223 kh s 1680 nkfisikschawfrngess ednnis papin Denis Papin sranghmxtmkhwamdncudprasngkhephuxichinkarthaxahar sungthuxepnhmxkhwamdnrunaerk ephuxepnkarpxngknkarraebidkhxnghmxtmkhwamdn ednnis papin idxxkaebb Release Valve nxkcakniyngsngektwakhabkarthangankhxngwawl epncnghwakhunlng tha ihekidkhwamkhidekiywkbekhruxngckraebbkrabxksub aetekhakimidsrangekhruxngckrixnathiichnganidcring txmawiswkr Thomas Savery othms sawari idichkarxxkaebbkhxngpapin mathaepnekhruxngckrixnathiichnganid inxutsahkrrmekhruxngckrixnachwngaerkepnkarxxkaebbkhxng Thomas Savery emux ph s 2255 kh s 1712 ekhruxngckrixnaaebbbrryakas atmospheric engine khxng othms niwokhemn Thomas Newcomen idthdlxngaelaichinxutsahkrrm txma esfewxriaelaniwokhemnrwmknphthna beam engine thisamarthichaebbkhwamdnbrryakasaelakhwamdnsuyyakas chwngaerkkhxngxutsahkrrmichekhruxngckrixnaaebbsuyyakasinkarpmnacakehmuxng ekhruxngckrixnakhxngniwokhemn runaerkthanganchaaelatxngichkhnepid pidwalwexng txmacungepliynmaichtwekhruxngckrexnginkarepid pidwalw txma ecms wtt James Watt idphthnaekhruxngckrixnacakaebbkhxngniwokhemn aela idcdsiththibtr Watt Steam Engine sungthanganeriybkwaaelamiprasiththiphaphmakkwa karphthnaineruxngkhxngprasiththiphaphchwngtxmacakkarpradisthkhxng Oliver Evans aela Rechard Trevithick odykarichixnaaerngdnsung sungekhruxngckrixnathiichaerngdnsungthi Trevithick srangiwepnthiruckinchux Cornish engines xyangirktamekhruxngckrixnaaerngdnsungmixntraymak cakhmxtmraebidephraaimsamarththnkhwamdnsungid aelaepnsaehtukhxngxubtiehtuhlayehtukarn singsakhykhxngekhruxngckrixnaaebbkhwamdnsungkhux khwamphithiphithninkarphlit sungichinkarplxykhwamdnthiekinkhxngekhruxngckrixna aelaehtuniexngcungtxngmikarbarungrksaekhruxngckrixnathiekhmngwd aelakahndmatrthankarphlitwalwnirphypraephthkhxngekhruxngckrixnaekhruxngckrixnaaebbsubkhunlng Reciprocating Engines khwamaetktangkhxngkarthangankhxngekhruxngckrixnaaebbsuyyakasaelaaebbkhwamdnsung ixnakhwamdnsungmisiaedng khwamdntasiehluxng aela ixnakhwbaennsinaengin danbnkhxngekhruxngkhwamdnaebbsuyyakastxngepidsubrryakasephuxihkhwamdnbrryakaskrathadanbnkrabxksub ekhruxngckraebb Reciprocating ichkarthangankhxngixnainkarekhluxnthisuksubinkrabxksubthipidsnith ekhruxngckrixnaaebbkhwamdnsuyyakas Vacuum engines cnghwakarthangankhxngekhruxngckrixnaaebbsuyyakaskhux karihixnakhwamdntaekhaipinkrabxksubaelathakarpidwalwthangekhaluksubekhluxnthiipxyubriewndanbn hlngcaknnixnacakhwamaennklayepnhydna sungthaihprimatrkhxngixnaldlngthaihekidepnsuyyakas caknnkhwamdnbrryakascakdxikdankhxngluksub thaihluksubekhluxnthiipxyudanlang aelakrabxksubtidxyukbkhannahnkkhannxkephiyngphxcathithaihixnakhwamdntadnluksubekhluxnthiipxyudanbnsudidxikkhrng thaechnniklbipklbmathaihsamarthnamaichepnaerngklid inekhruxngckrixnakhxngniwokhemn naeynidthukchidodytrngekhaipinkrabxksubely aetinekhruxngckrixnakhxngwtt mikaraeykkrabxkepnhxngixnakhwbaennaelahxnghlkxxkcakknodykndwywalw prasiththiphaphkhxngekhruxngckrkhxngniwokhemn khunxyukbkarsuyesiykhwamrxnincnghwakhwbaennaelaihkhwamrxnephraaekidkhuninhxnghlkephiynghxngediyw karaeykkrabwnkarkhwamaennkhxngixnaipxyuxikhxngthaihprasiththiphaphkarthanganldlng ekhruxngckribphd epnekhruxngckrthithanganodyihixnayingywddnknghnhruxibphdinphachnaruphxyokhngihhmun cungekid phlngngankl ekhruxngckraebbxun ekhruxngyntsndabphaynxk ekhruxngyntsetxrlingxangxingphunthanekhruxngynt 2012 05 11 thi ewyaebkaemchchinaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb ekhruxngckrixna