ในทางคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะกับทฤษฎีเซต สองเซต X, Y จะกล่าวว่ามี ภาวะเชิงอันดับที่ (อังกฤษ: order type, ordinality) เท่ากัน ก็ต่อเมื่อเซตทั้งสอง (order isomorphic) นั่นคือ มีฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง (bijection) f : X → Y อย่างน้อยหนึ่งฟังก์ชัน ที่ทั้ง f และ f −1 เป็น (monotone function) (ยังคงเรียงตามลำดับ)
ตัวอย่างเช่น เซตของจำนวนเต็มและเซตของจำนวนคู่ มีภาวะเชิงอันดับที่เท่ากัน เพราะว่าการจับคู่ n ↦ 2n ยังคงเรียงตามลำดับ แต่เซตของจำนวนเต็มกับเซตของจำนวนตรรกยะไม่สมสัณฐานเชิงอันดับ ถึงแม้ว่าจะมีขนาดเท่ากัน เพราะไม่มีการจับคู่แบบหนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึงที่ยังคงเรียงตามลำดับระหว่างสองเซตนั้น
อันเนื่องจากความเทียบเท่าเชิงอันดับเป็น (equivalence relation) มันจึงแบ่งคลาสของเซตทั้งหมด ให้เป็นคลาสที่สมมูลกันหลายคลาส
ภาวะเชิงอันดับที่ของเซตอันดับดี
(well-ordered set) ทุกเซตถือว่ามีความเทียบเท่าเชิงอันดับเท่ากับจำนวนเชิงอันดับที่หนึ่งตัว จำนวนเชิงอันดับที่ถูกนำมาใช้เป็นตัวแทน (canonical representative) ต่อคลาสของมันเอง และเช่นเดียวกับภาวะเชิงอันดับที่ของเซตอันดับดี ซึ่งมักจะถูกระบุโดยจำนวนเชิงอันดับที่ที่เกี่ยวข้อง เช่นภาวะเชิงอันดับที่ของจำนวนธรรมชาติคือ ω
ภาวะเชิงอันดับที่ของเซตอันดับดี V บางครั้งก็เขียนแทนด้วย ord (V)
ยกตัวอย่างการพิจารณาเซตของ (even ordinal) ที่น้อยกว่า ω·2+7 ซึ่งหมายความว่า
- V = {0, 2, 4, 6, ...; ω, ω+2, ω+4, ...; ω·2, ω·2+2, ω·2+4, ω·2+6}
ภาวะเชิงอันดับที่ของ V คือ
- ord (V) = ω·2+4 = {0, 1, 2, 3, ...; ω, ω+1, ω+2, ...; ω·2, ω·2+1, ω·2+2, ω·2+3}
สัญกรณ์
ภาวะเชิงอันดับที่ของจำนวนตรรกยะมักจะเขียนแทนด้วย η
ถ้าหากเซต S มีภาวะเชิงอันดับที่เท่ากับ σ แล้ว เซต (dual) ของ S (ในลำดับที่กลับกัน) จะเขียนแทนด้วย σ*
อ้างอิง
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-10-27. สืบค้นเมื่อ 2009-07-27.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Order Type" จากแมทเวิลด์.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangkhnitsastr odyechphaakbthvsdiest sxngest X Y caklawwami phawaechingxndbthi xngkvs order type ordinality ethakn ktxemuxestthngsxng order isomorphic nnkhux mifngkchnhnungtxhnungthwthung bijection f X Y xyangnxyhnungfngkchn thithng f aela f 1 epn monotone function yngkhngeriyngtamladb twxyangechn estkhxngcanwnetmaelaestkhxngcanwnkhu miphawaechingxndbthiethakn ephraawakarcbkhu n 2n yngkhngeriyngtamladb aetestkhxngcanwnetmkbestkhxngcanwntrrkyaimsmsnthanechingxndb thungaemwacamikhnadethakn ephraaimmikarcbkhuaebbhnungtxhnungthwthungthiyngkhngeriyngtamladbrahwangsxngestnn xnenuxngcakkhwamethiybethaechingxndbepn equivalence relation mncungaebngkhlaskhxngestthnghmd ihepnkhlasthismmulknhlaykhlasphawaechingxndbthikhxngestxndbdi well ordered set thukestthuxwamikhwamethiybethaechingxndbethakbcanwnechingxndbthihnungtw canwnechingxndbthithuknamaichepntwaethn canonical representative txkhlaskhxngmnexng aelaechnediywkbphawaechingxndbthikhxngestxndbdi sungmkcathukrabuodycanwnechingxndbthithiekiywkhxng echnphawaechingxndbthikhxngcanwnthrrmchatikhux w phawaechingxndbthikhxngestxndbdi V bangkhrngkekhiynaethndwy ord V yktwxyangkarphicarnaestkhxng even ordinal thinxykwa w 2 7 sunghmaykhwamwa V 0 2 4 6 w w 2 w 4 w 2 w 2 2 w 2 4 w 2 6 dd phawaechingxndbthikhxng V khux ord V w 2 4 0 1 2 3 w w 1 w 2 w 2 w 2 1 w 2 2 w 2 3 dd sykrnphawaechingxndbthikhxngcanwntrrkyamkcaekhiynaethndwy h thahakest S miphawaechingxndbthiethakb s aelw est dual khxng S inladbthiklbkn caekhiynaethndwy s xangxing khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2009 10 27 subkhnemux 2009 07 27 aehlngkhxmulxunexrik dbebilyu iwssitn Order Type cakaemthewild