กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา หรือ หอดูดาวรังสีเอกซ์จันทรา (อังกฤษ: Chandra X-ray Observatory) เป็นดาวเทียมของนาซา ที่มีอุปกรณ์ตรวจจับที่สามารถตรวจจับรังสีเอกซ์ได้ จึงเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับการศึกษารังสีเอกซ์ในห้วงอวกาศ ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศโดยยาน STS-93 เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 ตั้งชื่อตามสุพรหมัณยัน จันทรเศขร นักดาราศาสตร์ทฤษฎีชาวอินเดีย
กล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ภาพประกอบของจันทรา | |||||||||||
รายชื่อเก่า | Advanced X-ray Astrophysics Facility (AXAF) | ||||||||||
ประเภทภารกิจ | กล้องรังสีเอกซ์ | ||||||||||
ผู้ดำเนินการ | นาซ่า / / CXC | ||||||||||
COSPAR ID | 1999-040B | ||||||||||
SATCAT no. | 25867 | ||||||||||
เว็บไซต์ | chandra | ||||||||||
ระยะภารกิจ | วางแผน: 5 ปี ผ่านไป: 24 ปี 10 เดือน 24 วัน | ||||||||||
ข้อมูลยานอวกาศ | |||||||||||
ผู้ผลิต | |||||||||||
มวลขณะส่งยาน | 5,860 กิโลกรัม (12,930 ปอนด์) | ||||||||||
มวลแห้ง | 4,790 กิโลกรัม (10,560 ปอนด์) | ||||||||||
ขนาด | ปรับใช้: 13.8 × 19.5 เมตร (45.3 × 64.0 ฟุต) เก็บไว้: 11.8 × 4.3 เมตร (38.7 × 14.0 ฟุต) | ||||||||||
กำลังไฟฟ้า | 2,350 W | ||||||||||
เริ่มต้นภารกิจ | |||||||||||
วันที่ส่งขึ้น | 23 กรกฎาคม 1999, 04:30:59.984 UTC | ||||||||||
จรวดนำส่ง | กระสวยอวกาศ โคลัมเบีย () | ||||||||||
ฐานส่ง | ศูนย์อวกาศเคนเนดี | ||||||||||
ลักษณะวงโคจร | |||||||||||
ระบบอ้างอิง | วงโคจรค้างฟ้า | ||||||||||
ระบบวงโคจร | |||||||||||
กึ่งแกนเอก | 80,795.9 กิโลเมตร (50,204.2 ไมล์) | ||||||||||
ความเยื้อง | 0.743972 | ||||||||||
ระยะใกล้สุด | 14,307.9 กิโลเมตร (8,890.5 ไมล์) | ||||||||||
ระยะไกลสุด | 134,527.6 กิโลเมตร (83,591.6 ไมล์) | ||||||||||
ความเอียง | 76.7156° | ||||||||||
คาบการโคจร | 3809.3 นาที | ||||||||||
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น | 305.3107° | ||||||||||
มุมของจุดใกล้ที่สุด | 267.2574° | ||||||||||
มุมกวาดเฉลี่ย | 0.3010° | ||||||||||
0.3780 รอบต่อวัน | |||||||||||
วันที่ใช้อ้างอิง | 4 กันยายน 2015, 04:37:54 UTC | ||||||||||
รอบการโคจร | 1358 | ||||||||||
กล้องโทรทรรศน์หลัก | |||||||||||
ชนิด | |||||||||||
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 1.2 เมตร (3.9 ฟุต) | ||||||||||
ระยะโฟกัส | 10.0 เมตร (32.8 ฟุต) | ||||||||||
พื่นที่รับแสง | 0.04 ตารางเมตร (0.43 ตารางฟุต) | ||||||||||
ความยาวคลื่น | รังสีเอกซ์: 0.12–12 nm (0.1–10 keV) | ||||||||||
ความละเอียด | 0.5 arcsec | ||||||||||
| |||||||||||
อ้างอิง
- . Marshall Space Flight Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-12. สืบค้นเมื่อ September 16, 2017.
- "Chandra Specifications". NASA/Harvard. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
- "International Flight No. 210: STS-93". Spacefacts.de. สืบค้นเมื่อ April 29, 2018.
- "Chandra X-Ray Observatory - Orbit". Heavens Above. September 3, 2015. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
- "The Chandra X-ray Observatory: Overview". Chandra X-ray Center. สืบค้นเมื่อ September 3, 2015.
- Ridpath, Ian (2012). The Dictionary of Astronomy (2nd ed.). Oxford University Press. p. 82. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klxngothrthrrsnxwkascnthra hrux hxdudawrngsiexkscnthra xngkvs Chandra X ray Observatory epndawethiymkhxngnasa thimixupkrntrwccbthisamarthtrwccbrngsiexksid cungepnpraoychnxyangmaksahrbkarsuksarngsiexksinhwngxwkas thuksngkhunsuxwkasodyyan STS 93 emuxwnthi 23 krkdakhm kh s 1999 tngchuxtamsuphrhmnyn cnthreskhr nkdarasastrthvsdichawxinediyklxngothrthrrsnxwkascnthraphaphprakxbkhxngcnthraraychuxekaAdvanced X ray Astrophysics Facility AXAF praephthpharkicklxngrngsiexksphudaeninkarnasa CXCCOSPAR ID1999 040BSATCAT no 25867ewbistchandra wbr harvard wbr edurayapharkicwangaephn 5 pi phanip 24 pi 10 eduxn 24 wnkhxmulyanxwkasphuphlitmwlkhnasngyan5 860 kiolkrm 12 930 pxnd mwlaehng4 790 kiolkrm 10 560 pxnd khnadprbich 13 8 19 5 emtr 45 3 64 0 fut ekbiw 11 8 4 3 emtr 38 7 14 0 fut kalngiffa2 350 Werimtnpharkicwnthisngkhun23 krkdakhm 1999 04 30 59 984 UTCcrwdnasngkraswyxwkas okhlmebiy thansngsunyxwkasekhnendilksnawngokhcrrabbxangxingwngokhcrkhangfarabbwngokhcrkungaeknexk80 795 9 kiolemtr 50 204 2 iml khwameyuxng0 743972rayaiklsud14 307 9 kiolemtr 8 890 5 iml rayaiklsud134 527 6 kiolemtr 83 591 6 iml khwamexiyng76 7156 khabkarokhcr3809 3 nathilxngcicudkhxngcudohndkhun305 3107 mumkhxngcudiklthisud267 2574 mumkwadechliy0 3010 0 3780 rxbtxwnwnthiichxangxing4 knyayn 2015 04 37 54 UTCrxbkarokhcr1358klxngothrthrrsnhlkchnidesnphansunyklang1 2 emtr 3 9 fut rayaofks10 0 emtr 32 8 fut phunthirbaesng0 04 tarangemtr 0 43 tarangfut khwamyawkhlunrngsiexks 0 12 12 nm 0 1 10 keV khwamlaexiyd0 5 arcsecekhruxngmuxACISHRCklxngkhwamlaexiydsungHETGekrttingaebbsxngphanphlngngansungLETGekrttingaebbsxngphanphlngngantaokhrngkarhxdudawexk khxmptnspitesxr xangxingwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb klxngothrthrrsnxwkascnthra Marshall Space Flight Center khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2022 02 12 subkhnemux September 16 2017 Chandra Specifications NASA Harvard subkhnemux September 3 2015 International Flight No 210 STS 93 Spacefacts de subkhnemux April 29 2018 Chandra X Ray Observatory Orbit Heavens Above September 3 2015 subkhnemux September 3 2015 The Chandra X ray Observatory Overview Chandra X ray Center subkhnemux September 3 2015 Ridpath Ian 2012 The Dictionary of Astronomy 2nd ed Oxford University Press p 82 ISBN 978 0 19 960905 5