กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน หรือ หอดูดาวรังสีแกมมาคอมป์ตัน (อังกฤษ: Compton Gamma-ray Observatory) เป็นหอสังเกตการณ์ดวงที่สองของนาซาในโครงการหอดูดาวเอกที่ส่งขึ้นสู่อวกาศ หลังจากที่ส่งกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลขึ้นไปก่อนหน้านั้น กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตันตั้งชื่อตาม อาร์เทอร์ คอมป์ตัน นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบลที่สร้างผลงานโดดเด่นด้านฟิสิกส์รังสีแกมมา กล้องคอมป์ตันสร้างโดยสถาบัน TRW (ปัจจุบันคือสถาบันเทคโนโลยีอวกาศนอร์ทธรอป กรัมแมน) ในแคลิฟอร์เนีย ใช้เวลาสร้างทั้งสิ้น 14 ปี ขึ้นสู่อวกาศโดยกระสวยอวกาศแอตแลนติส เที่ยวบิน STS-37 เมื่อวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1991 และได้ทำงานจนกระทั่งปลดระวางในวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 2000 กล้องคอมป์ตันโคจรอยู่ในวงโคจรต่ำของโลกที่ระดับความสูงประมาณ 450 กิโลเมตร เพื่อหลบหลีกผลกระทบจากแถบรังสีแวนอัลเลน นับเป็นเครื่องมือทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์ที่มีน้ำหนักมากที่สุดเท่าที่เคยส่งขึ้นสู่อวกาศ ด้วยน้ำหนักถึง 17,000 กิโลกรัม
หอดูดาวรังสีแกมมาคอมป์ตัน | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
CGRO deployed in 1991 | |||||||||||
ประเภทภารกิจ | ดาราศาสตร์ | ||||||||||
ผู้ดำเนินการ | นาซา | ||||||||||
COSPAR ID | 1991-027B | ||||||||||
SATCAT no. | 21225 | ||||||||||
เว็บไซต์ | cossc | ||||||||||
ระยะภารกิจ | 9 ปี, 2 เดือน | ||||||||||
ข้อมูลยานอวกาศ | |||||||||||
ผู้ผลิต | |||||||||||
มวลขณะส่งยาน | 17,000 กิโลกรัม (37,000 ปอนด์) | ||||||||||
กำลังไฟฟ้า | 2000.0 วัตต์ | ||||||||||
เริ่มต้นภารกิจ | |||||||||||
วันที่ส่งขึ้น | 5 เมษายน 1991, 14:22:45 UTC | ||||||||||
จรวดนำส่ง | กระสวยอวกาศ แอตแลนติส | ||||||||||
ฐานส่ง | เคนเนดี | ||||||||||
สิ้นสุดภารกิจ | |||||||||||
เข้าสู่ชั้นบรรยากาศ | 4 มิถุนายน 2000, 23:29:55 UTC | ||||||||||
ลักษณะวงโคจร | |||||||||||
ระบบอ้างอิง | วงโคจรค้างฟ้า | ||||||||||
ระบบวงโคจร | วงโคจรต่ำของโลก | ||||||||||
ความเยื้อง | 0.006998 | ||||||||||
ระยะใกล้สุด | 362 กิโลเมตร (225 ไมล์) | ||||||||||
ระยะไกลสุด | 457 กิโลเมตร (284 ไมล์) | ||||||||||
ความเอียง | 28.4610 องศา | ||||||||||
คาบการโคจร | 91.59 นาที | ||||||||||
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น | 68.6827 องศา | ||||||||||
วันที่ใช้อ้างอิง | 7 เมษายน 1991, 18:37:00 UTC | ||||||||||
กล้องโทรทรรศน์ (สี่)หลัก | |||||||||||
ชนิด | หัววัดซินทิลเลชัน | ||||||||||
ระยะโฟกัส | เครื่องมือหลากหลาย | ||||||||||
พื่นที่รับแสง | เครื่องมือหลากหลาย | ||||||||||
ความยาวคลื่น | รังสีเอกซ์ ถึง รังสีแกมมา, 20 keV – 30 GeV (40 pm – 60 ) | ||||||||||
| |||||||||||
กล้องโทรทรรศน์อวกาศคอมป์ตัน เป็นหนึ่งในสี่หอดูดาวขนาดใหญ่ในโครงการหอดูดาวเอกของนาซา ร่วมกับหอดูดาวอื่น ๆ ได้แก่ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล กล้องรังสีเอ็กซ์จันทรา และกล้องโทรทรรศน์อวกาศสปิตเซอร์
อ้างอิง
- "NASA – NSSDCA – Spacecraft – Details". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 2018-04-30.
- "NASA – NSSDCA – Spacecraft – Trajectory Details". nssdc.gsfc.nasa.gov. สืบค้นเมื่อ 2018-04-30.
- "Gamma-Ray Astronomy in the Compton Era: The Instruments". Gamma-Ray Astronomy in the Compton Era. NASA/ GSFC. เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-12-07.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klxngothrthrrsnxwkaskhxmptn hrux hxdudawrngsiaekmmakhxmptn xngkvs Compton Gamma ray Observatory epnhxsngektkarndwngthisxngkhxngnasainokhrngkarhxdudawexkthisngkhunsuxwkas hlngcakthisngklxngothrthrrsnxwkashbebilkhunipkxnhnann klxngothrthrrsnxwkaskhxmptntngchuxtam xarethxr khxmptn nkwithyasastrrangwloneblthisrangphlnganoddedndanfisiksrngsiaekmma klxngkhxmptnsrangodysthabn TRW pccubnkhuxsthabnethkhonolyixwkasnxrththrxp krmaemn inaekhlifxreniy ichewlasrangthngsin 14 pi khunsuxwkasodykraswyxwkasaextaelntis ethiywbin STS 37 emuxwnthi 5 emsayn kh s 1991 aelaidthangancnkrathngpldrawanginwnthi 4 mithunayn kh s 2000 klxngkhxmptnokhcrxyuinwngokhcrtakhxngolkthiradbkhwamsungpraman 450 kiolemtr ephuxhlbhlikphlkrathbcakaethbrngsiaewnxleln nbepnekhruxngmuxthangfisiksdarasastrthiminahnkmakthisudethathiekhysngkhunsuxwkas dwynahnkthung 17 000 kiolkrmhxdudawrngsiaekmmakhxmptnCGRO deployed in 1991praephthpharkicdarasastrphudaeninkarnasaCOSPAR ID1991 027BSATCAT no 21225ewbistcossc wbr gsfc wbr nasa wbr govrayapharkic9 pi 2 eduxnkhxmulyanxwkasphuphlitmwlkhnasngyan17 000 kiolkrm 37 000 pxnd kalngiffa2000 0 wtterimtnpharkicwnthisngkhun5 emsayn 1991 14 22 45 UTCcrwdnasngkraswyxwkas aextaelntisthansngekhnendisinsudpharkicekhasuchnbrryakas4 mithunayn 2000 23 29 55 UTClksnawngokhcrrabbxangxingwngokhcrkhangfarabbwngokhcrwngokhcrtakhxngolkkhwameyuxng0 006998rayaiklsud362 kiolemtr 225 iml rayaiklsud457 kiolemtr 284 iml khwamexiyng28 4610 xngsakhabkarokhcr91 59 nathilxngcicudkhxngcudohndkhun68 6827 xngsawnthiichxangxing7 emsayn 1991 18 37 00 UTCklxngothrthrrsn si hlkchnidhwwdsinthilelchnrayaofksekhruxngmuxhlakhlayphunthirbaesngekhruxngmuxhlakhlaykhwamyawkhlunrngsiexks thung rngsiaekmma 20 keV 30 GeV 40 pm 60 ekhruxngmuxklxngiklxinfraerdaelasepkotrmietxrhlaywtthuekhruxngtrwccbechphaacudklxngothrthrrsnxwkasklxngthayphaphsnamkwang klxngothrthrrsnxwkaskhxmptn epnhnunginsihxdudawkhnadihyinokhrngkarhxdudawexkkhxngnasa rwmkbhxdudawxun idaek klxngothrthrrsnxwkashbebil klxngrngsiexkscnthra aelaklxngothrthrrsnxwkasspitesxrxangxing NASA NSSDCA Spacecraft Details nssdc gsfc nasa gov subkhnemux 2018 04 30 NASA NSSDCA Spacecraft Trajectory Details nssdc gsfc nasa gov subkhnemux 2018 04 30 Gamma Ray Astronomy in the Compton Era The Instruments Gamma Ray Astronomy in the Compton Era NASA GSFC ekbkhxmulemux 2007 12 07