กฎของแก๊สอุดมคติ (อังกฤษ: ideal gas law) บ้างก็เรียกว่า สมการแก๊สทั่วไป เป็น (equation of state) ของ (ideal gas) สมมุติและเป็นการประมาณพฤติกรรมของแก๊สที่ดีภายใต้สภาวะต่าง ๆ แม้ยังมีข้อจำกัดอยู่หลายข้อ ถูกกล่าวถึงเป็นครั้งแรกโดย เบอนัว ปอล เอมีล กลาแปรง ในปี ค.ศ. 1834 เป็นการรวมกันของ (Boyle's law), (Charles's law), กฎของอาโวกาโดร และ (Gay-Lussac's law) ซึ่งเป็นเชิงประจักษ์ กฎของแก๊สอุดมคติมักถูกเขียนอยู่ในรูปเชิงประจักษ์:
โดย , และ คือความดัน, ปริมาตร และ (Thermodynamic temperature) คือ (amount of substance) และ คือค่าคงตัวของแก๊สซึ่งมีค่าเท่าเดิมไม่ว่าเป็นแก๊สชนิดใด เราสามารถอนุพัทธ์สมการนี้ได้จากทฤษฎีจลน์ของแก๊สในระดับจุลทรรศน์ดังเช่นที่ได้กระทำแล้ว (โดยอิสระจากกัน) โดย (August Krönig) ในปี ค.ศ. 1856 และ รูด็อล์ฟ เคลาซีอุส ในปี ค.ศ. 1857.
สมการ
(state function) ของแก๊สปริมาณหนึ่งถูกกำหนดโดยความดัน, ปริมาตร และอุณหภูมิ สมการรูปแบบปัจจุบันแสดงความสัมพันธ์เหล่านี้เป็นสองรูปแบบอย่างง่าย อุณหภูมิในสมการของสภาวะเป็นอุณหภูมิสัมบูรณ์ซึ่งมีหน่วย SI เป็นเคลวิน
รูปแบบสามัญ
รูปแบบที่พบได้บ่อยที่สุดคือ:
โดย:
- คือความดันของแก๊ส
- คือปริมาตรของแก๊ส
- คือของแก๊ส (หรือจำนวนโมล)
- คือค่าคงตัวของแก๊สอุดมคติหรือสากลซึ่งเท่ากับผลคูณของค่าคงตัวบ็อลทซ์มันกับค่าคงตัวอาโวกาโดร
- คือค่าคงตัวบ็อลทซ์มัน
- คือค่าคงตัวอาโวกาโดร
- คือของแก๊ส
ในหน่วย SI p ถูกวัดเป็นปาสกาล V ถูกวัดเป็นลูกบาศก์เมตร n ถูกวัดเป็นโมล และ T ถูกวัดเป็นเคลวิน (มาตราวัดเคลวินคือมาตราวัดเซลเซียสที่ถูกเลื่อนซึ่งอุณหภูมิที่ต่ำที่สุด 0.00 K = −273.15 °C) R มีค่าเท่ากับ 8.314 J/(K·mol) ≈ 2 cal/(K·mol) หรือ 0.0821 l·atm/(mol·K)
รูปแบบโมลาร์
เราสามารถระบุปริมาณแก๊สที่มีอยู่ได้จากมวลแทนปริมาณทางเคมีได้ ดังนั้นจึงมีประโยชน์หากเรามีกฎของแก๊สอุดมคติอีกรูปแบบหนึ่ง ปริมาณทางเคมี (n) (หน่วยเป็นโมล) เท่ากับมวลรวมของแก๊ส (m) (หน่วยเป็นกิโลกรัม) หารด้วย (molar mass) (M) (หน่วยเป็นกิโลกรัมต่อโมล):
เมื่อแทน n ด้วย m/M แล้วใส่ความหนาแน่น ρ = m/V ลงไปในสมการ เราจะได้:
ให้นิยามค่าคงตัวของแก๊สจำเพาะ Rspecific(r) เป็นอัตราส่วน R/M
กฎของแก๊สอุดมคติรูปแบบนี้มีประโยชน์อย่างมากมาก เพราะสามารถเชื่อมโยงความดัน ความหนาแน่น และอุณหภูมิเข้าด้วยกันในสูตรที่เป็นเอกลักษณ์ซึ่งไม่พึ่งพาปริมาณของแก๊สที่เราพิจารณา กฎนี้สามารถเขียนเป็นอีกแบบได้โดยใช้ค่าปริมาตรจำเพาะ v ซึ่งเป็นส่วนกลับของความหนาแน่น:
ในการใช้งานทางวิศวกรรมและอุตุนิยมวิทยา ค่าคงตัวของแก๊สจำเพาะมักถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ R และค่าคงตัวของแก๊สสากลจะใช้สัญลักษณ์ต่างจากเดิมเป็น หรือ เพื่อแยกแยะทั้งสองค่าจากกัน อย่างไรก็ตาม บริบทและ/หรือหน่วยของค่าคงตัวของแก๊สจะเป็นตัวบอกให้กระจ่างเองว่าสัญลักษณ์นั้นแทนค่าคงตัวของแก๊สแบบจำเพาะหรือสากล
กลศาสตร์สถิติ
ใน (statistical mechanics) เราสามารถอนุพัทธ์หาสมการเชิงโมเลกุลได้จาก ในสมการแรก
โดย P คือความดันสัมบูรณ์ของแก๊ส, n คือของโมเลกุล (กำหนดเป็นอัตราส่วน n = N/V ซึ่งต่างจากรูปสมการก่อนที่ n เป็นจำนวนโมล), T คือ และ kB คือค่าคงตัวบ็อลทซ์มันซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานและอุณหภูมิ กำหนดว่า:
โดย NA คือค่าคงตัวอาโวกาโดร
จากนี่เราพบว่าแก๊สมวล m มีมวลอนุภาคเฉลี่ยเท่ากับ μ คูณค่าคงตัวมวลอะตอม mu (หรือเท่ากับ μ u) จำนวนของโมเลกุลเท่ากับ:
เนื่องจาก ρ = m/V = nμmu เราจึงสามารถเขียนกฎของแก๊สอุดมคติอีกแบบได้เป็น
ในหน่วย SI P มีหน่วยเป็นปาสกาล, V มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร, T มีหน่วยเป็นเคลวิน และ kB = 1.38×10−23 J⋅K−1
กฎรวมของแก๊ส
นำกฎของชาร์ล กฏของบอยล์ และกฎของแก-ลูว์ซักมารวมกันแล้วได้กฎรวมของแก๊สซึ่งมีรูปแบบการใช้งานแบบเดียวกับกฎของแก๊สอุดมคติ หากแต่ไม่ระบุจำนวนโมลของแก็สและสมมุติว่าอัตราส่วน ต่อ เป็นค่าคงตัว ():
โดย คือความดันของแก๊ส, คือปริมาตรของแก๊ส, คือของแก๊ส และ เป็นค่าคงตัว เมื่อเราต้องการเปรียบเทียบสสารเดียวกันภายใต้สภาวะที่ต่างกันสองสภาวะ สามารถเขียนกฎนี้ได้เป็น
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊ส
ตามสมมติฐานจากทฤษฎีจลน์ของแก๊ส เราสามารถสมมุติได้ว่าโมเลกุลของแก๊สอุดมคตินั้นไม่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล หรือพูดอีกแบบคือไม่มีพลังงานศักย์ พลังงานทั้งหมดที่แก๊สมีจึงเป็นเพียงพลังงานจลน์ของแก๊สแต่ละโมเลกุล
คือสูตรสำหรับพลังงานจลน์ของจำนวน n โมลซึ่งมี 3 องศา; x, y, z
พลังงานของแก๊ส | นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ |
---|---|
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊สอะตอมเดี่ยวจำนวนหนึ่งโมล | |
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊สอะตอมเดี่ยวมวลหนึ่งกรัม | |
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊สอะตอมเดี่ยวจำนวนหนึ่งโมเลกุล (หรือหนึ่งอะตอม) |
การประยุกต์ใช้ในกระบวนการทางอุณหพลศาสตร์
ในตารางด้านล่าง สมการของแก๊สอุดมคติถูกทำให้ง่ายลงสำหรับการนำไปใช้กับกระบวนการเฉพาะต่าง ๆ และทำให้สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีเชิงตัวเลขง่ายยิ่งขึ้น
(thermodynamic process) มีนิยามเป็นระบบซึ่งเคลื่อนจากสภาวะที่ 1 ไปสู่สภาวะที่ 2 โดยเลขซึ่งบอกสภาวะแทนด้วยตัวห้อย โดยกระบวนการพื้นฐานถูกแบ่งออกเป็นแต่ละชนิดตามคุณสมบัติของแก๊สที่ถูกตรึงให้คงที่ไว้ตลอดกระบวนการ (P, V, T, S หรือ H) ดังที่แสดงในสดมภ์แรกของตาราง
จะต้องมีการระบุ (ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม) หนึ่งในอัตราส่วนระหว่างคุณสมบัติ (ซึ่งมีการจัดรายการไว้ในสดมภ์ที่ชื่อว่า "อัตราส่วนที่รู้จัก") เพื่อระบุขอบเขตของกระบวนการทางอุณหพลศาสตร์ชนิดหนึ่ง และคุณสมบัติซึ่งปรากฎอยู่ในอัตราส่วนจะต้องต่างจากคุณสมบัติที่คงที่ (ไม่เช่นนั้นแล้วอัตราส่วนก็จะเป็นเอกภาพ และเราจะไม่มีข้อมูลมากพอที่จะสามารถทำให้สมการง่ายลงได้)
ส่วนในสามสดมภ์สุดท้าย เราสามารถหาค่าของคุณสมบัติ (p, V หรือ T) ของสภาวะที่ 2 ได้จากการนำค่าของคุณสมบัติเหล่านั้นในสภาวะที่ 1 มาคำนวณในสมการซึ่งถูกจัดไว้อยู่ในรายการ
กระบวนการ | ค่าที่คงตัว | อัตราส่วนหรือผลต่างที่รู้จัก | p2 | V2 | T2 |
---|---|---|---|---|---|
(Isobaric process) | p2 = p1 | V2 = V1(V2/V1) | T2 = T1(V2/V1) | ||
p2 = p1 | V2 = V1(T2/T1) | T2 = T1(T2/T1) | |||
(Isochoric process) (Isovolumetric process) (Isometric process) | p2 = p1(p2/p1) | V2 = V1 | T2 = T1(p2/p1) | ||
p2 = p1(T2/T1) | V2 = V1 | T2 = T1(T2/T1) | |||
(Isothermal process) | p2 = p1(p2/p1) | V2 = V1/(p2/p1) | T2 = T1 | ||
p2 = p1/(V2/V1) | V2 = V1(V2/V1) | T2 = T1 | |||
(Isentropic process) (กระบวนการความร้อนคงที่ที่ผันกลับได้) | p2 = p1(p2/p1) | V2 = V1(p2/p1)(−1/γ) | T2 = T1(p2/p1)(γ − 1)/γ | ||
p2 = p1(V2/V1)−γ | V2 = V1(V2/V1) | T2 = T1(V2/V1)(1 − γ) | |||
p2 = p1(T2/T1)γ/(γ − 1) | V2 = V1(T2/T1)1/(1 − γ) | T2 = T1(T2/T1) | |||
(Polytropic process) | p2 = p1(p2/p1) | V2 = V1(p2/p1)(-1/n) | T2 = T1(p2/p1)(n − 1)/n | ||
p2 = p1(V2/V1)−n | V2 = V1(V2/V1) | T2 = T1(V2/V1)(1 − n) | |||
p2 = p1(T2/T1)n/(n − 1) | V2 = V1(T2/T1)1/(1 − n) | T2 = T1(T2/T1) | |||
(Isenthalpic process) (กระบวนการความร้อนคงที่ที่ผันกลับไม่ได้) | p2 = p1 + (p2 − p1) | T2 = T1 + μJT(p2 − p1) | |||
p2 = p1 + (T2 − T1)/μJT | T2 = T1 + (T2 − T1) |
^ a. ในกระบวนการเอนโทรปีคงที่ เอนโทรปี (S) ของระบบมีค่าคงที่ และ p1V1γ = p2V2γ ภายใต้เงื่อนไขนี้ โดย γ คือ (heat capacity ratio) ซึ่งในทางพลังงาน (calorically perfect gas) มีค่าคงที่ ค่าของ γ ที่ปกติใช้กับแก๊สสองอะตอม (diatomic gas) เช่นแก๊สไนโตรเจน (N2) และแก๊สออกซิเจน (O2) (และอากาศ ซึ่งประกอบไปด้วยแก๊สสองอะตอม 99%) มีค่าเท่ากับ 1.4 ส่วนค่าที่ใช้กับแก๊สอะตอมเดี่ยวเช่นแก๊สมีสกุล ฮีเลียม (He) และอาร์กอน (Ar) มีค่าเท่ากับ 1.6 ค่า γ ในเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในมีค่าระหว่าง 1.35 และ 1.15 ซึ่งขึ้นกับองค์ประกอบของแก๊สและอุณหภูมิ
^ b. ในกระบวนการเอนทาลปีคงที่ เอนทาลปี (H) ของระบบมีค่าคงที่ ในบริบทของ (free expansion) ของแก๊สอุดมคติ อุณหภูมิมีค่าคงที่และโมเลกุลไม่มีปฏิกิริยาระหว่างกัน กลับกันในแก๊สจริงนั้น โมเลกุลมีปฏิกิริยาระหว่างกันผ่านการดึงดูดหรือผลักไสขึ้นกับความดันและอุณหภูมิ และสามารถร้อนหรือเย็นลงได้ นี่เป็นที่รู้จักว่า (Joule-Thomson effect) สำหรับการอ้างอิง สัมประสิทธิ์จูล-ทอมสัน μJT สำหรับอากาศที่อุณหภูมิห้อง ณ ระดับน้ำทะเลเท่ากับ 0.22 °C/bar
การเบี่ยงเบนจากพฤติกรรมในอุดมคติของแก๊สจริง
สมการของสภาวะที่กำหนดมานี้ (PV=nRT) สามารถนำไปใช้กับแก๊สอุดมคติหรือนำไปใช้เพื่อประมาณพฤติกรรมของแก๊สจริงซึ่งมีความคล้ายกับแก๊สอุดมคติพอสมควรได้เท่านั้น ความจริงแล้ว สมการของสภาวะสมการนี้มีรูปแบบอยู่หลายรูปแบบ กฎของแก๊สอุดมคติไม่สนใจขนาดโมเลกุล (molecular size) และแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล (inter molecular attraction) จึงสามารถนำไปใช้ได้อย่างแม่นยำที่สุดกับ (monatomic) ที่อุณหภูมิสูงและความดันต่ำ ยิ่งความหนาแน่นลดลงหรือยิ่งปริมาตรสูงขึ้นและความดันต่ำลง ความสำคัญของขนาดโมเลกุลก็ยิ่งลดลงเช่นเดียวกัน เพราะระยะทางความห่างระหว่างโมเลกุลโดยเฉลี่ยจะมีค่าสูงกว่าขนาดของโมเลกุลอย่างมาก และยิ่งพลังงานจลน์ทางความร้อนสูงขึ้นหรือยิ่งอุณหภูมิสูงขึ้น ความสำคัญของแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลก็ยิ่งลดลงโดยสัมพัทธ์ ที่มีรายละเอียดสูงกว่าเช่น (van der Waals equation) จะมีการแก้ไขการเบี่ยงเบนจากอุดมคติซึ่งเกิดจากขนาดของโมเลกุลและแรงระหว่างโมเลกุล
(residual property (physics)) มีนิยามเป็นความแตกต่างระหว่างสมบัติของ (real gas) และสมบัติของแก๊สอุดมคติภายใต้ความดัน อุณหภูมิ และองค์ประกอบเดียวกัน
การอนุพัทธ์
เชิงประจักษ์
กฎเชิงประจักษ์ซึ่งนำไปสู่การอนุพัทธ์กฎของแก๊สอุดมคติถูกค้นพบผ่านการทดลอง โดยใช้การเปลี่ยนตัวแปรสภาวะของแก๊สเพียงสองอย่างและตรึงตัวแปรที่เหลือให้คงที่
กฎของแก๊สทั้งหมดที่สามารถค้นพบได้ด้วยการจัดเตรียมการทดลองแบบนี้มี:
- หรือ (1) เรียกว่า
- หรือ (2) เรียกว่า
- หรือ (3) เรียกว่ากฎของอาโวกาโดร
- หรือ (4) เรียกว่า
- หรือ (5)
- หรือ (6)
โดย "P" แทนความดัน, "V" แทนปริมาตร, "N" แทนจำนวนอนุภาคของแก๊ส และ "T" แทนอุณหภูมิ โดย ไม่ใช่ค่าคงตัวของจริง แต่เป็นค่าคงตัวในบริบทนี้ เพราะแต่ละสมการต้องการตัวแปรที่ระบุไว้อย่างชัดเจนให้เปลี่ยนเท่านั้น
เราไม่จำเป็นต้องรู้กฎของแก๊สทั้งหกสูตรเพื่ออนุพัทธ์กฎของแก๊สอุดมคติ เพียงรู้แค่สามกฎเราจะสามารถอนุพัทธ์กฎที่เหลือได้ และเราต้องรู้แค่สี่กฎเพื่อที่จะสามารถอนุพัทธ์กฎของแก๊สอุดมคติได้
ในเมื่อสูตรแต่ละสูตรจะเป็นจริงก็ต่อเมื่อตัวแปรสภาวะที่อยู่ในสูตรเท่านั้นที่เปลี่ยนแปลงในขณะที่ตัวแปรที่เหลือมีค่าคงที่ เราไม่สามารถใช้พีชคณิตเพื่อรวมสูตรโดยตรงได้ เราต้องพิจารณาถึงการทดลองของบอยล์ว่าเขาทำการทดลองโดยตรึงค่า N และ T ไว้ให้คงที่
เมื่อคำนึงถึงสิ่งนี้ เราจำเป็นต้องจินตนาการว่าแก๊สเปลี่ยนสถาวะผ่านกระบวนการทีละกระบวนการเพื่อให้อนุพัทธ์ได้อย่างถูกต้อง การอนุพัทธ์ซึ่งใช้สูตรสี่สูตรเป็นดังนี้:
ในตอนแรก แก๊สมีพารามิเตอร์
ให้เริ่มเปลี่ยนเฉพาะความดันและปริมาตรตาม แล้ว:
- (7) เมื่อจบกระบวนการนี้ แก๊สจะมีพารามิเตอร์เท่ากับ
จากนั้นใช้สมการที่ (5) เพื่อเปลี่ยนจำนวนอนุภาคและอุณหภูมิของแก๊ส
- (8) เมื่อจบกระบวนการนี้ แก๊สจะมีพารามิเตอร์เท่ากับ
จากนั้นใช้สมการที่ (6) เพื่อเปลี่ยนความดันและจำนวนอนุภาค
- (9) เมื่อจบกระบวนการนี้ แก๊สจะมีพารามิเตอร์เท่ากับ
จากนั้นใช้เพื่อเปลี่ยนปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส
- (10) เมื่อจบกระบวนการนี้ แก๊สจะมีพารามิเตอร์เท่ากับ
จากนั้นใช้พีชคณิตรวมสมการที่ (7), (8), (9) และ (10) จะได้:
- หรือ โดย แทนค่าคงตัวบ็อลทซ์มัน
ในทางเดียวกัน ในเมื่อ โดย "n" คือจำนวนโมลของแก๊ส และ "R" คือค่าคงตัวของแก๊สสากล เราจะได้:
- ซึ่งเป็นที่รู้จักในชื่อว่ากฎของแก๊สอุดมคติ
หากเราทำการทดลองและพบสูตรเพียงสามสูตรจากทั้งหกสูตร เราสามารถอนุพัทธ์สูตรที่เหลือได้ผ่านวิธีการที่เขียนอธิบายไว้ด้านบน แต่เพราะแต่ละสมการมีตัวแปรแค่สองตัวเท่านั้น เราไม่สามารถใช้สูตรสามสูตรสูตรใดก็ได้ เช่นหากเรามีสมการที่ (1), (2) และ (4) เราไม่สามารถอนุพัทธ์สมการอื่นได้ เพราะการรวมสมการสองสมการใด ๆ จะให้ผลเป็นสมการอันที่สามที่เราเลือกมา แต่หากเรามีสมการที่ (1), (2) และ (3) เราจะสามารถหาสมการทั้งหกสมการได้โดยไม่จำเป็นต้องทำการทดลองอื่นอีก เพราะการรวมสมการที่ (1) และ (2) จะให้ผลเป็นสมการที่ (4), (1) และ (3) จะได้สมการที่ (6), (4) และ (6) หรือ (2) และ (3) จะได้สมการที่ (5) ตามที่มีการอธิบายให้เห็นเป็นรูปภาพที่แสดงความสัมพันธ์ดังต่อไปนี้:
โดยเลขแต่ละตัวแทนกฎของแก๊สตามที่เรียงเลขที่ไว้ด้านบน
หากเราทำตามวิธีการด้านบนกับกฎสองกฎจากเลขที่อยู่บนมุมสองมุมจากทั้งสามมุมของสามเหลี่ยมที่มีเลข "O" อยู่ภายใน เราจะได้ผลออกมาเป็นกฎตามเลขที่ปรากฏบนมุมที่สาม
ตัวอย่างเช่น:
เปลี่ยนแค่ความดันและปริมาตรก่อน: (1´)
จากนั้นเปลี่ยนแค่ปริมาตรและอุณหภูมิ: (2´)
และในเมื่อเราสามารถให้ แทนค่าใดก็ได้ เราจะให้ และสมการที่ (2´) จะกลายเป็น: (3´)
การรวมสมการที่ (1´) และ (3´) จะได้ผลเป็น ซึ่งก็คือสมการที่ (4) โดยเราไม่เคยรู้จักสมการนี้มาก่อนจนกระทั่งเราได้อนุพัทธ์มันออกมา
เชิงทฤษฎี
ทฤษฎีจลน์
เราสามารถอนุพัทธ์กฎของแก๊สอุดมคติได้จาก (first principle) โดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สซึ่งมีสมมติฐานที่ทำให้ง่ายลงหลายข้อ เช่นการสมมติว่าโมเลกุลหรืออะตอมของแก๊สเป็นมวลจุดหรือมีมวลแต่มีปริมาตรที่น้อยจนไม่มีนัยสำคัญ และชนกับผนังของภาชนะและชนกันอย่างยืดหยุ่นเท่านั้น โดยอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงเส้นและพลังงานจลน์
สมมติฐานพื้นฐานของทฤษฎีจลน์ของแก๊สบอกเป็นนัยว่า
จากนั้น ตาม (Maxwell-Boltzmann distribution) โมเลกุลส่วนหนึ่งที่มีอัตราเร็วอยู่ในช่วง ถึง เท่ากับ โดย
และ คือค่าคงตัวบ็อลทซ์มัน ค่าเฉลี่ยกำลังสองหาได้จากการคำนวณดังนี้
ด้วยสูตรของปริพันธ์
เราจึงได้
และจากนั้น เราก็จะได้กฎของแก๊สอุดมคติ:
กลศาสตร์สถิติ
ให้ q = (qx, qy, qz) และ p = (px, py, pz) แสดงถึงเวกเตอร์ตำแหน่งและเวกเตอร์โมเมนตัมของอนุภาคแก๊สอุดมคติตามลำดับ ให้ F แสดงถึงแรงสุทธิที่กระทำบนอนุภาคนั้น แล้วพลังงานจลน์เฉลี่ยกับเวลาของอนุภาคเท่ากับ:
โดยสมการแรกคือกฎข้อที่สองของนิวตัน บรรทัดที่สองใช้สมการของแฮมิลตันและ (equipartition theorem) ผลบวกรวมทั้งระบบของอนุภาค N อนุภาคเท่ากับ
ตามกฎข้อที่สามของนิวตันและสมมติฐานของแก๊สอุดมคติ แรงสุทธิที่กระทำบนระบบคือแรงที่ผนังของภาชนะกระทำ และแรงนี้ถูกกำหนดโดยความดัน P ของแก๊ส ดังนั้น
โดย dS คือองค์ประกอบพื้นที่ขนาดกณิกนันต์รอบผนังของภาชนะ ในเมื่อ (divergence) หรือความลู่ออกของเวกเตอร์ตำแหน่ง q เท่ากับ
(divergence theorem) บอกเป็นนัยว่า
โดย dV คือปริมาตรขนาดกณิกนันต์ภายในภาชนะ และ V คือปริมาตรทั้งหมดของภาชนะ
เมื่อนำสมการทั้งหมดมารวมกัน จะได้ผลเป็น
ซึ่งแสดงถึงกฎของแก๊สอุดมคติของอนุภาค N อนุภาค:
โดย n = N/NA คือจำนวนโมลของแก๊ส และ R = NAkB คือค่าคงตัวของแก๊ส
ในมิติอื่น
ความดันของแก๊สอุดมคติในระบบ d มิติเท่ากับ:
โดย คือปริมาตรของขอบเขต d มิติที่มีแก๊สอยู่ สังเกตว่ามิติ (หรือหน่วย) ของความดันเปลี่ยนตามมิติที่เปลี่ยนไป
ดูเพิ่ม
- (Van der Waals equation)
- ค่าคงตัวบ็อลทซ์มัน
- (Partition function (statistical mechanics))
- (Dynamic pressure)
- (Internal pressure)
อ้างอิง
- (2001). "Mémoire sur la puissance motrice de la chaleur". (ภาษาฝรั่งเศส). XIV: 153–90. Facsimile at the Bibliothèque nationale de France (pp. 153–90).
- (2001). "Grundzüge einer Theorie der Gase". (ภาษาเยอรมัน). 99 (10): 315–22. Bibcode:1856AnP...175..315K. doi:10.1002/andp.18561751008. Facsimile at the Bibliothèque nationale de France (pp. 315–22).
- Clausius, R. (1857). "Ueber die Art der Bewegung, welche wir Wärme nennen". (ภาษาเยอรมัน). 176 (3): 353–79. Bibcode:1857AnP...176..353C. doi:10.1002/andp.18571760302. Facsimile at the Bibliothèque nationale de France (pp. 353–79).
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-23. สืบค้นเมื่อ 2010-08-29.
- Moran; Shapiro (2000). Fundamentals of Engineering Thermodynamics (4th ed.). Wiley. ISBN .
- Raymond, Kenneth W. (2010). General, organic, and biological chemistry : an integrated approach (3rd ed.). John Wiley & Sons. p. 186. ISBN . สืบค้นเมื่อ 29 January 2019.
- J. R. Roebuck (1926). "The Joule-Thomson Effect in Air". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America. 12 (1): 55–58. Bibcode:1926PNAS...12...55R. doi:10.1073/pnas.12.1.55. PMC 1084398. PMID 16576959.
- Khotimah, Siti Nurul; Viridi, Sparisoma (2011-06-07). "Partition function of 1-, 2-, and 3-D monatomic ideal gas: A simple and comprehensive review". Jurnal Pengajaran Fisika Sekolah Menengah. 2 (2): 15–18. :1106.1273. Bibcode:2011arXiv1106.1273N.
แหล่งข้อมูลอื่น
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 5, 2007.
- where an alternative statistical mechanics derivation of the ideal-gas law, using the relationship between the and the , but without using the equipartition theorem, is provided. Vu-Quoc, L., , 2008. this wiki site is down; see .
- Gas equations in detail
- Davis; Masten (2002). Principles of Environmental Engineering and Science. New York: McGraw-Hill. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdkhxngaeksxudmkhti xngkvs ideal gas law bangkeriykwa smkaraeksthwip epn equation of state khxng ideal gas smmutiaelaepnkarpramanphvtikrrmkhxngaeksthidiphayitsphawatang aemyngmikhxcakdxyuhlaykhx thukklawthungepnkhrngaerkody ebxnw pxl exmil klaaeprng inpi kh s 1834 epnkarrwmknkhxng Boyle s law Charles s law kdkhxngxaowkaodr aela Gay Lussac s law sungepnechingpracks kdkhxngaeksxudmkhtimkthukekhiynxyuinrupechingpracks Isothermal process khxng ideal gas esnokhngaethnkhwamsmphnthrahwangkhwamdn aeknaenwtng kb Volume thermodynamics aeknaenwnxn khxngaeksxudmkhtithixunhphumitang esnthiyingiklcakcudkaenidaesdngthungxunhphumithisungkwa nnkhux esnthixyuiklmumkhwabnkhxngaephnphaphmakkwa PV nRT displaystyle PV nRT ody P displaystyle P V displaystyle V aela T displaystyle T khuxkhwamdn primatr aela Thermodynamic temperature n displaystyle n khux amount of substance aela R displaystyle R khuxkhakhngtwkhxngaekssungmikhaethaedimimwaepnaekschnidid erasamarthxnuphththsmkarniidcakthvsdiclnkhxngaeksinradbculthrrsndngechnthiidkrathaaelw odyxisracakkn ody August Kronig inpi kh s 1856 aela rudxlf ekhlasixus inpi kh s 1857 smkarphaphaesdngkarchnknkhxngomelkulphayinphachnapid thngophrephn khwa luksraethnkarekhluxnthiaelakarchnknaebbiraebbaephnkhxngomelkulehlani khwamdnaelaxunhphumiaeprphnsungknaelaknodytrng emuxxunhphumisungkhun khwamdnkhxngophrephncaephimkhundwysdswnediywkn dwyehtuni thngcatxngsamarththnaerngdnkhxngaeksthiephimkhuninwnthixakasrxnid state function khxngaeksprimanhnungthukkahndodykhwamdn primatr aelaxunhphumi smkarrupaebbpccubnaesdngkhwamsmphnthehlaniepnsxngrupaebbxyangngay xunhphumiinsmkarkhxngsphawaepnxunhphumismburnsungmihnwy SI epnekhlwin rupaebbsamy rupaebbthiphbidbxythisudkhux pV nRT nkBNAT displaystyle pV nRT nk text B N text A T ody p displaystyle p khuxkhwamdnkhxngaeks V displaystyle V khuxprimatrkhxngaeks n displaystyle n khuxkhxngaeks hruxcanwnoml R displaystyle R khuxkhakhngtwkhxngaeksxudmkhtihruxsaklsungethakbphlkhunkhxngkhakhngtwbxlthsmnkbkhakhngtwxaowkaodr kB displaystyle k text B khuxkhakhngtwbxlthsmn NA displaystyle N A khuxkhakhngtwxaowkaodr T displaystyle T khuxkhxngaeks inhnwy SI p thukwdepnpaskal V thukwdepnlukbaskemtr n thukwdepnoml aela T thukwdepnekhlwin matrawdekhlwinkhuxmatrawdeslesiysthithukeluxnsungxunhphumithitathisud 0 00 K 273 15 C R mikhaethakb 8 314 J K mol 2 cal K mol hrux 0 0821 l atm mol K rupaebbomlar erasamarthrabuprimanaeksthimixyuidcakmwlaethnprimanthangekhmiid dngnncungmipraoychnhakeramikdkhxngaeksxudmkhtixikrupaebbhnung primanthangekhmi n hnwyepnoml ethakbmwlrwmkhxngaeks m hnwyepnkiolkrm hardwy molar mass M hnwyepnkiolkrmtxoml n mM displaystyle n frac m M emuxaethn n dwy m M aelwiskhwamhnaaenn r m V lngipinsmkar eracaid pV mMRT displaystyle pV frac m M RT p mVRTM displaystyle p frac m V frac RT M p rRMT displaystyle p rho frac R M T ihniyamkhakhngtwkhxngaekscaephaa Rspecific r epnxtraswn R M p rRspecificT displaystyle p rho R text specific T kdkhxngaeksxudmkhtirupaebbnimipraoychnxyangmakmak ephraasamarthechuxmoyngkhwamdn khwamhnaaenn aelaxunhphumiekhadwykninsutrthiepnexklksnsungimphungphaprimankhxngaeksthieraphicarna kdnisamarthekhiynepnxikaebbidodyichkhaprimatrcaephaa v sungepnswnklbkhxngkhwamhnaaenn pv RspecificT displaystyle pv R text specific T inkarichnganthangwiswkrrmaelaxutuniymwithya khakhngtwkhxngaekscaephaamkthukaethndwysylksn R aelakhakhngtwkhxngaekssaklcaichsylksntangcakedimepn R displaystyle bar R hrux R displaystyle R ephuxaeykaeyathngsxngkhacakkn xyangirktam bribthaela hruxhnwykhxngkhakhngtwkhxngaekscaepntwbxkihkracangexngwasylksnnnaethnkhakhngtwkhxngaeksaebbcaephaahruxsakl klsastrsthiti in statistical mechanics erasamarthxnuphththhasmkarechingomelkulidcak p displaystyle p insmkaraerk ody P khuxkhwamdnsmburnkhxngaeks n khuxkhxngomelkul kahndepnxtraswn n N V sungtangcakrupsmkarkxnthi n epncanwnoml T khux aela kB khuxkhakhngtwbxlthsmnsungaesdngkhwamsmphnthrahwangphlngnganaelaxunhphumi kahndwa kB RNA displaystyle k text B frac R N text A ody NA khuxkhakhngtwxaowkaodr caknieraphbwaaeksmwl m mimwlxnuphakhechliyethakb m khunkhakhngtwmwlxatxm mu hruxethakb m u canwnkhxngomelkulethakb N mmmu displaystyle N frac m mu m text u enuxngcak r m V nmmu eracungsamarthekhiynkdkhxngaeksxudmkhtixikaebbidepn P 1VNkBT 1VmmmukBT kBmmurT displaystyle P frac 1 V N k text B T frac 1 V frac m mu m text u k text B T frac k text B mu m text u rho T inhnwy SI P mihnwyepnpaskal V mihnwyepnlukbaskemtr T mihnwyepnekhlwin aela kB 1 38 10 23 J K 1 kdrwmkhxngaeks nakdkhxngcharl ktkhxngbxyl aelakdkhxngaek luwskmarwmknaelwidkdrwmkhxngaekssungmirupaebbkarichnganaebbediywkbkdkhxngaeksxudmkhti hakaetimrabucanwnomlkhxngaeksaelasmmutiwaxtraswn PV displaystyle PV tx T displaystyle T epnkhakhngtw nR k displaystyle nR k PVT k displaystyle frac PV T k ody P displaystyle P khuxkhwamdnkhxngaeks V displaystyle V khuxprimatrkhxngaeks T displaystyle T khuxkhxngaeks aela k displaystyle k epnkhakhngtw emuxeratxngkarepriybethiybssarediywknphayitsphawathitangknsxngsphawa samarthekhiynkdniidepn P1V1T1 P2V2T2 displaystyle frac P 1 V 1 T 1 frac P 2 V 2 T 2 phlngngansungsmphnthkbaekstamsmmtithancakthvsdiclnkhxngaeks erasamarthsmmutiidwaomelkulkhxngaeksxudmkhtinnimmiaerngdungdudrahwangomelkul hruxphudxikaebbkhuximmiphlngngansky phlngnganthnghmdthiaeksmicungepnephiyngphlngnganclnkhxngaeksaetlaomelkul E 32nRT displaystyle E frac 3 2 nRT khuxsutrsahrbphlngnganclnkhxngcanwn n omlsungmi 3 xngsa x y z phlngngankhxngaeks niphcnthangkhnitsastrphlngngansungsmphnthkbaeksxatxmediywcanwnhnungoml E 32RT displaystyle E frac 3 2 RT phlngngansungsmphnthkbaeksxatxmediywmwlhnungkrm E 32rT displaystyle E frac 3 2 rT phlngngansungsmphnthkbaeksxatxmediywcanwnhnungomelkul hruxhnungxatxm E 32kBT displaystyle E frac 3 2 k B T karprayuktichinkrabwnkarthangxunhphlsastrintarangdanlang smkarkhxngaeksxudmkhtithukthaihngaylngsahrbkarnaipichkbkrabwnkarechphaatang aelathaihsamarthaekpyhadwywithiechingtwelkhngayyingkhun thermodynamic process miniyamepnrabbsungekhluxncaksphawathi 1 ipsusphawathi 2 odyelkhsungbxksphawaaethndwytwhxy odykrabwnkarphunthanthukaebngxxkepnaetlachnidtamkhunsmbtikhxngaeksthithuktrungihkhngthiiwtlxdkrabwnkar P V T S hrux H dngthiaesdnginsdmphaerkkhxngtarang catxngmikarrabu imwaodytrnghruxodyxxm hnunginxtraswnrahwangkhunsmbti sungmikarcdraykariwinsdmphthichuxwa xtraswnthiruck ephuxrabukhxbekhtkhxngkrabwnkarthangxunhphlsastrchnidhnung aelakhunsmbtisungprakdxyuinxtraswncatxngtangcakkhunsmbtithikhngthi imechnnnaelwxtraswnkcaepnexkphaph aelaeracaimmikhxmulmakphxthicasamarththaihsmkarngaylngid swninsamsdmphsudthay erasamarthhakhakhxngkhunsmbti p V hrux T khxngsphawathi 2 idcakkarnakhakhxngkhunsmbtiehlanninsphawathi 1 makhanwninsmkarsungthukcdiwxyuinraykar krabwnkar khathikhngtw xtraswnhruxphltangthiruck p2 V2 T2 Isobaric process khwamdn V2 V1 p2 p1 V2 V1 V2 V1 T2 T1 V2 V1 T2 T1 p2 p1 V2 V1 T2 T1 T2 T1 T2 T1 Isochoric process Isovolumetric process Isometric process primatr p2 p1 p2 p1 p2 p1 V2 V1 T2 T1 p2 p1 T2 T1 p2 p1 T2 T1 V2 V1 T2 T1 T2 T1 Isothermal process xunhphumi p2 p1 p2 p1 p2 p1 V2 V1 p2 p1 T2 T1V2 V1 p2 p1 V2 V1 V2 V1 V2 V1 T2 T1 Isentropic process krabwnkarkhwamrxnkhngthithiphnklbid exnothrpi a p2 p1 p2 p1 p2 p1 V2 V1 p2 p1 1 g T2 T1 p2 p1 g 1 gV2 V1 p2 p1 V2 V1 g V2 V1 V2 V1 T2 T1 V2 V1 1 g T2 T1 p2 p1 T2 T1 g g 1 V2 V1 T2 T1 1 1 g T2 T1 T2 T1 Polytropic process P Vn p2 p1 p2 p1 p2 p1 V2 V1 p2 p1 1 n T2 T1 p2 p1 n 1 nV2 V1 p2 p1 V2 V1 n V2 V1 V2 V1 T2 T1 V2 V1 1 n T2 T1 p2 p1 T2 T1 n n 1 V2 V1 T2 T1 1 1 n T2 T1 T2 T1 Isenthalpic process krabwnkarkhwamrxnkhngthithiphnklbimid exnthalpi b p2 p1 p2 p1 p2 p1 T2 T1 mJT p2 p1 T2 T1 p2 p1 T2 T1 mJT T2 T1 T2 T1 a inkrabwnkarexnothrpikhngthi exnothrpi S khxngrabbmikhakhngthi aela p1V1g p2V2g phayitenguxnikhni ody g khux heat capacity ratio sunginthangphlngngan calorically perfect gas mikhakhngthi khakhxng g thipktiichkbaekssxngxatxm diatomic gas echnaeksinotrecn N2 aelaaeksxxksiecn O2 aelaxakas sungprakxbipdwyaekssxngxatxm 99 mikhaethakb 1 4 swnkhathiichkbaeksxatxmediywechnaeksmiskul hieliym He aelaxarkxn Ar mikhaethakb 1 6 kha g inekhruxngyntephaihmphayinmikharahwang 1 35 aela 1 15 sungkhunkbxngkhprakxbkhxngaeksaelaxunhphumi b inkrabwnkarexnthalpikhngthi exnthalpi H khxngrabbmikhakhngthi inbribthkhxng free expansion khxngaeksxudmkhti xunhphumimikhakhngthiaelaomelkulimmiptikiriyarahwangkn klbkninaekscringnn omelkulmiptikiriyarahwangknphankardungdudhruxphlkiskhunkbkhwamdnaelaxunhphumi aelasamarthrxnhruxeynlngid niepnthiruckwa Joule Thomson effect sahrbkarxangxing smprasiththicul thxmsn mJT sahrbxakasthixunhphumihxng n radbnathaelethakb 0 22 C barkarebiyngebncakphvtikrrminxudmkhtikhxngaekscringsmkarkhxngsphawathikahndmani PV nRT samarthnaipichkbaeksxudmkhtihruxnaipichephuxpramanphvtikrrmkhxngaekscringsungmikhwamkhlaykbaeksxudmkhtiphxsmkhwridethann khwamcringaelw smkarkhxngsphawasmkarnimirupaebbxyuhlayrupaebb kdkhxngaeksxudmkhtiimsnickhnadomelkul molecular size aelaaerngdungdudrahwangomelkul inter molecular attraction cungsamarthnaipichidxyangaemnyathisudkb monatomic thixunhphumisungaelakhwamdnta yingkhwamhnaaennldlnghruxyingprimatrsungkhunaelakhwamdntalng khwamsakhykhxngkhnadomelkulkyingldlngechnediywkn ephraarayathangkhwamhangrahwangomelkulodyechliycamikhasungkwakhnadkhxngomelkulxyangmak aelayingphlngnganclnthangkhwamrxnsungkhunhruxyingxunhphumisungkhun khwamsakhykhxngaerngdungdudrahwangomelkulkyingldlngodysmphthth thimiraylaexiydsungkwaechn van der Waals equation camikaraekikhkarebiyngebncakxudmkhtisungekidcakkhnadkhxngomelkulaelaaerngrahwangomelkul residual property physics miniyamepnkhwamaetktangrahwangsmbtikhxng real gas aelasmbtikhxngaeksxudmkhtiphayitkhwamdn xunhphumi aelaxngkhprakxbediywknkarxnuphththechingpracks kdechingprackssungnaipsukarxnuphththkdkhxngaeksxudmkhtithukkhnphbphankarthdlxng odyichkarepliyntwaeprsphawakhxngaeksephiyngsxngxyangaelatrungtwaeprthiehluxihkhngthi kdkhxngaeksthnghmdthisamarthkhnphbiddwykarcdetriymkarthdlxngaebbnimi PV C1 displaystyle PV C 1 hrux P1V1 P2V2 displaystyle P 1 V 1 P 2 V 2 1 eriykwaVT C2 displaystyle frac V T C 2 hrux V1T1 V2T2 displaystyle frac V 1 T 1 frac V 2 T 2 2 eriykwaVN C3 displaystyle frac V N C 3 hrux V1N1 V2N2 displaystyle frac V 1 N 1 frac V 2 N 2 3 eriykwakdkhxngxaowkaodrPT C4 displaystyle frac P T C 4 hrux P1T1 P2T2 displaystyle frac P 1 T 1 frac P 2 T 2 4 eriykwaNT C5 displaystyle NT C 5 hrux N1T1 N2T2 displaystyle N 1 T 1 N 2 T 2 5 PN C6 displaystyle frac P N C 6 hrux P1N1 P2N2 displaystyle frac P 1 N 1 frac P 2 N 2 6 khwamsmphnthrahwang kdkhxngxaowkaodr kdrwmkhxngaeks aelakdkhxngaeksxudmkhti kbkhakhngtwbxlthsmn kB R NA n R N smbtithangkayphaphthiwngiwepntwaepr inkhnathismbtisungimidwngiw cathuktrungihkhngthiinkdaetlakd ody P aethnkhwamdn V aethnprimatr N aethncanwnxnuphakhkhxngaeks aela T aethnxunhphumi ody C1 C2 C3 C4 C5 C6 displaystyle C 1 C 2 C 3 C 4 C 5 C 6 imichkhakhngtwkhxngcring aetepnkhakhngtwinbribthni ephraaaetlasmkartxngkartwaeprthirabuiwxyangchdecnihepliynethann eraimcaepntxngrukdkhxngaeksthnghksutrephuxxnuphththkdkhxngaeksxudmkhti ephiyngruaekhsamkderacasamarthxnuphththkdthiehluxid aelaeratxngruaekhsikdephuxthicasamarthxnuphththkdkhxngaeksxudmkhtiid inemuxsutraetlasutrcaepncringktxemuxtwaeprsphawathixyuinsutrethannthiepliynaeplnginkhnathitwaeprthiehluxmikhakhngthi eraimsamarthichphichkhnitephuxrwmsutrodytrngid eratxngphicarnathungkarthdlxngkhxngbxylwaekhathakarthdlxngodytrungkha N aela T iwihkhngthi emuxkhanungthungsingni eracaepntxngcintnakarwaaeksepliynsthawaphankrabwnkarthilakrabwnkarephuxihxnuphththidxyangthuktxng karxnuphththsungichsutrsisutrepndngni intxnaerk aeksmipharamietxr P1 V1 N1 T1 displaystyle P 1 V 1 N 1 T 1 iherimepliynechphaakhwamdnaelaprimatrtam aelw P1V1 P2V2 displaystyle P 1 V 1 P 2 V 2 7 emuxcbkrabwnkarni aekscamipharamietxrethakb P2 V2 N1 T1 displaystyle P 2 V 2 N 1 T 1 caknnichsmkarthi 5 ephuxepliyncanwnxnuphakhaelaxunhphumikhxngaeks N1T1 N2T2 displaystyle N 1 T 1 N 2 T 2 8 emuxcbkrabwnkarni aekscamipharamietxrethakb P2 V2 N2 T2 displaystyle P 2 V 2 N 2 T 2 caknnichsmkarthi 6 ephuxepliynkhwamdnaelacanwnxnuphakh P2N2 P3N3 displaystyle frac P 2 N 2 frac P 3 N 3 9 emuxcbkrabwnkarni aekscamipharamietxrethakb P3 V2 N3 T2 displaystyle P 3 V 2 N 3 T 2 caknnichephuxepliynprimatraelaxunhphumikhxngaeks V2T2 V3T3 displaystyle frac V 2 T 2 frac V 3 T 3 10 emuxcbkrabwnkarni aekscamipharamietxrethakb P3 V3 N3 T3 displaystyle P 3 V 3 N 3 T 3 caknnichphichkhnitrwmsmkarthi 7 8 9 aela 10 caid P1V1N1T1 P3V3N3T3 displaystyle frac P 1 V 1 N 1 T 1 frac P 3 V 3 N 3 T 3 hrux PVNT KB displaystyle frac PV NT K B ody KB displaystyle K B aethnkhakhngtwbxlthsmn inthangediywkn inemux nR NKB displaystyle nR NK B ody n khuxcanwnomlkhxngaeks aela R khuxkhakhngtwkhxngaekssakl eracaid PV nRT displaystyle PV nRT sungepnthiruckinchuxwakdkhxngaeksxudmkhti hakerathakarthdlxngaelaphbsutrephiyngsamsutrcakthnghksutr erasamarthxnuphththsutrthiehluxidphanwithikarthiekhiynxthibayiwdanbn aetephraaaetlasmkarmitwaepraekhsxngtwethann eraimsamarthichsutrsamsutrsutridkid echnhakeramismkarthi 1 2 aela 4 eraimsamarthxnuphththsmkarxunid ephraakarrwmsmkarsxngsmkarid caihphlepnsmkarxnthisamthieraeluxkma aethakeramismkarthi 1 2 aela 3 eracasamarthhasmkarthnghksmkaridodyimcaepntxngthakarthdlxngxunxik ephraakarrwmsmkarthi 1 aela 2 caihphlepnsmkarthi 4 1 aela 3 caidsmkarthi 6 4 aela 6 hrux 2 aela 3 caidsmkarthi 5 tamthimikarxthibayihehnepnrupphaphthiaesdngkhwamsmphnthdngtxipni khwamsmphnthrahwangkdkhxngaeksthnghkkhx odyelkhaetlatwaethnkdkhxngaekstamthieriyngelkhthiiwdanbn hakerathatamwithikardanbnkbkdsxngkdcakelkhthixyubnmumsxngmumcakthngsammumkhxngsamehliymthimielkh O xyuphayin eracaidphlxxkmaepnkdtamelkhthipraktbnmumthisam twxyangechn epliynaekhkhwamdnaelaprimatrkxn P1V1 P2V2 displaystyle P 1 V 1 P 2 V 2 1 caknnepliynaekhprimatraelaxunhphumi V2T1 V3T2 displaystyle frac V 2 T 1 frac V 3 T 2 2 aelainemuxerasamarthih V3 displaystyle V 3 aethnkhaidkid eracaih V1 V3 displaystyle V 1 V 3 aelasmkarthi 2 caklayepn V2T1 V1T2 displaystyle frac V 2 T 1 frac V 1 T 2 3 karrwmsmkarthi 1 aela 3 caidphlepn P1T1 P2T2 displaystyle frac P 1 T 1 frac P 2 T 2 sungkkhuxsmkarthi 4 odyeraimekhyrucksmkarnimakxncnkrathngeraidxnuphththmnxxkma echingthvsdi thvsdicln erasamarthxnuphththkdkhxngaeksxudmkhtiidcak first principle odyichthvsdiclnkhxngaekssungmismmtithanthithaihngaylnghlaykhx echnkarsmmtiwaomelkulhruxxatxmkhxngaeksepnmwlcudhruxmimwlaetmiprimatrthinxycnimminysakhy aelachnkbphnngkhxngphachnaaelachnknxyangyudhyunethann odyxnurksomemntmechingesnaelaphlngngancln smmtithanphunthankhxngthvsdiclnkhxngaeksbxkepnnywa PV 13Nmvrms2 displaystyle PV frac 1 3 Nmv text rms 2 caknn tam Maxwell Boltzmann distribution omelkulswnhnungthimixtraerwxyuinchwng v displaystyle v thung v dv displaystyle v dv ethakb f v dv displaystyle f v dv ody f v 4p m2pkT 32v2e mv22kT displaystyle f v 4 pi left frac m 2 pi kT right frac 3 2 v 2 e frac mv 2 2kT aela k displaystyle k khuxkhakhngtwbxlthsmn khaechliykalngsxnghaidcakkarkhanwndngni vrms2 0 v2f v dv 4p m2pkT 32 0 v4e mv22kTdv displaystyle v text rms 2 int 0 infty v 2 f v dv 4 pi left frac m 2 pi kT right frac 3 2 int 0 infty v 4 e frac mv 2 2kT dv dwysutrkhxngpriphnth 0 x2ne x2a2dx p 2n n a2 2n 1 displaystyle int 0 infty x 2n e frac x 2 a 2 dx sqrt pi frac 2n n left frac a 2 right 2n 1 eracungid vrms2 4p m2pkT 32p4 2 2kTm2 5 3kTm displaystyle v text rms 2 4 pi left frac m 2 pi kT right frac 3 2 sqrt pi frac 4 2 left frac sqrt frac 2kT m 2 right 5 frac 3kT m aelacaknn erakcaidkdkhxngaeksxudmkhti PV 13Nm 3kTm NkT displaystyle PV frac 1 3 Nm left frac 3kT m right NkT klsastrsthiti ih q qx qy qz aela p px py pz aesdngthungewketxrtaaehnngaelaewketxromemntmkhxngxnuphakhaeksxudmkhtitamladb ih F aesdngthungaerngsuththithikrathabnxnuphakhnn aelwphlngnganclnechliykbewlakhxngxnuphakhethakb q F qxdpxdt qydpydt qzdpzdt qx H qx qy H qy qz H qz 3kBT displaystyle begin aligned langle mathbf q cdot mathbf F rangle amp Bigl langle q x frac dp x dt Bigr rangle Bigl langle q y frac dp y dt Bigr rangle Bigl langle q z frac dp z dt Bigr rangle amp Bigl langle q x frac partial H partial q x Bigr rangle Bigl langle q y frac partial H partial q y Bigr rangle Bigl langle q z frac partial H partial q z Bigr rangle 3k B T end aligned odysmkaraerkkhuxkdkhxthisxngkhxngniwtn brrthdthisxngichsmkarkhxngaehmiltnaela equipartition theorem phlbwkrwmthngrabbkhxngxnuphakh N xnuphakhethakb 3NkBT k 1Nqk Fk displaystyle 3Nk B T biggl langle sum k 1 N mathbf q k cdot mathbf F k biggr rangle tamkdkhxthisamkhxngniwtnaelasmmtithankhxngaeksxudmkhti aerngsuththithikrathabnrabbkhuxaerngthiphnngkhxngphachnakratha aelaaerngnithukkahndodykhwamdn P khxngaeks dngnn k 1Nqk Fk P surfaceq dS displaystyle biggl langle sum k 1 N mathbf q k cdot mathbf F k biggr rangle P oint mathrm surface mathbf q cdot d mathbf S ody dS khuxxngkhprakxbphunthikhnadkniknntrxbphnngkhxngphachna inemux divergence hruxkhwamluxxkkhxngewketxrtaaehnng q ethakb q qx qx qy qy qz qz 3 displaystyle nabla cdot mathbf q frac partial q x partial q x frac partial q y partial q y frac partial q z partial q z 3 divergence theorem bxkepnnywa P surfaceq dS P volume q dV 3PV displaystyle P oint mathrm surface mathbf q cdot d mathbf S P int mathrm volume left nabla cdot mathbf q right dV 3PV ody dV khuxprimatrkhnadkniknntphayinphachna aela V khuxprimatrthnghmdkhxngphachna emuxnasmkarthnghmdmarwmkn caidphlepn 3NkBT k 1Nqk Fk 3PV displaystyle 3Nk B T biggl langle sum k 1 N mathbf q k cdot mathbf F k biggr rangle 3PV sungaesdngthungkdkhxngaeksxudmkhtikhxngxnuphakh N xnuphakh PV NkBT nRT displaystyle PV Nk B T nRT ody n N NA khuxcanwnomlkhxngaeks aela R NAkB khuxkhakhngtwkhxngaeksinmitixunkhwamdnkhxngaeksxudmkhtiinrabb d mitiethakb P d NkBTLd displaystyle P d frac Nk B T L d ody Ld displaystyle L d khuxprimatrkhxngkhxbekht d mitithimiaeksxyu sngektwamiti hruxhnwy khxngkhwamdnepliyntammitithiepliynipduephimsthaniyxyfisiks Van der Waals equation khakhngtwbxlthsmn Partition function statistical mechanics Dynamic pressure Internal pressure xangxing 2001 Memoire sur la puissance motrice de la chaleur phasafrngess XIV 153 90 Facsimile at the Bibliotheque nationale de France pp 153 90 2001 Grundzuge einer Theorie der Gase phasaeyxrmn 99 10 315 22 Bibcode 1856AnP 175 315K doi 10 1002 andp 18561751008 Facsimile at the Bibliotheque nationale de France pp 315 22 Clausius R 1857 Ueber die Art der Bewegung welche wir Warme nennen phasaeyxrmn 176 3 353 79 Bibcode 1857AnP 176 353C doi 10 1002 andp 18571760302 Facsimile at the Bibliotheque nationale de France pp 353 79 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2014 08 23 subkhnemux 2010 08 29 Moran Shapiro 2000 Fundamentals of Engineering Thermodynamics 4th ed Wiley ISBN 0 471 31713 6 Raymond Kenneth W 2010 General organic and biological chemistry an integrated approach 3rd ed John Wiley amp Sons p 186 ISBN 9780470504765 subkhnemux 29 January 2019 J R Roebuck 1926 The Joule Thomson Effect in Air Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America 12 1 55 58 Bibcode 1926PNAS 12 55R doi 10 1073 pnas 12 1 55 PMC 1084398 PMID 16576959 Khotimah Siti Nurul Viridi Sparisoma 2011 06 07 Partition function of 1 2 and 3 D monatomic ideal gas A simple and comprehensive review Jurnal Pengajaran Fisika Sekolah Menengah 2 2 15 18 1106 1273 Bibcode 2011arXiv1106 1273N aehlngkhxmulxun khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux July 5 2007 where an alternative statistical mechanics derivation of the ideal gas law using the relationship between the and the but without using the equipartition theorem is provided Vu Quoc L 2008 this wiki site is down see Gas equations in detail Davis Masten 2002 Principles of Environmental Engineering and Science New York McGraw Hill ISBN 0 07 235053 9