กลุ่มภาษาตุงกูซิก (อังกฤษ: Tungusic languages) หรือ กลุ่มภาษาแมนจู-ตุงกุส เป็นภาษาที่ใช้พูดในไซบีเรียตะวันออกและแมนจูเรีย ยังเป็นที่โต้เถียงอยู่ว่าควรจัดให้อยู่ในตระกูลภาษาอัลไตหรือไม่ ภาษานี้รวมอยู่ในกลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษามองโกลตามลำดับ ภาษาในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นภาษาที่ใกล้ตาย
กลุ่มภาษาตุงกูซิก | |
---|---|
กลุ่มเชื้อชาติ: | |
ภูมิภาค: | ไซบีเรีย, แมนจูเรีย |
การจําแนก ทางภาษาศาสตร์: | หนึ่งในตระกูลภาษาหลักของโลก |
กลุ่มย่อย: |
ภาษาจูร์เชน-แมนจู (เป็นภาษาเดียวกันแต่มีพัฒนาการคนละช่วง โดยคำว่าภาษาแมนจูเริ่มใช้ใน พ.ศ. 2179) เป็นภาษาในกลุ่มตุงกูซิกเพียงภาษาเดียวที่มีระบบการเขียน โดยภาษาจูร์เชนมีการเขียนด้วยอักษรจูร์เชนมาตั้งแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ส่วนภาษาแมนจูเขีนด้วยอักษรแมนจูที่ได้รับอิทธิพลจากอักษรมองโกเลีย ลักษณะทั่วไปกลุ่มภาษาตุงกูซิกเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีระบบการก (case) และการเปลี่ยนเสียงสระที่ซับซ้อน ความสัมพันธ์กับภาษาอื่นกลุ่มภาษาตุงกูซิกมีความเชื่อมโยงกับกลุ่มภาษาเตอร์กิกและกลุ่มภาษามองโกเลียในตระกูลภาษาอัลตาอิก และอาจจะมีความเกี่ยวข้องกับภาษาเกาหลี ตระกูลภาษาญี่ปุ่นหรือภาษาไอนุด้วย อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumphasatungkusik xngkvs Tungusic languages hrux klumphasaaemncu tungkus epnphasathiichphudinisbieriytawnxxkaelaaemncueriy yngepnthiotethiyngxyuwakhwrcdihxyuintrakulphasaxlithruxim phasanirwmxyuinklumphasaetxrkikaelaklumphasamxngokltamladb phasainklumniswnihyepnphasathiikltayklumphasatungkusikklumechuxchati phumiphakh isbieriy aemncueriykarcaaenk thangphasasastr hnungintrakulphasahlkkhxngolkklumyxy ehnux Ewenic rahwangehnux it Udegheic it Jurchenic Nanaic klumphasatungkusikit klumtawnxxkechiyngit idaek phasanain phasaxulch phasaxuedek klumtawntkechiyngit idaekphasaaemncukhxngchawaemncuphukxtngrachwngschinginpraethscin phasasiebthiichphudinsineciyngodylukhlankhxngchawaemncu phasacurechn epnphasathitayaelw phasacurechn aemncu epnphasaediywknaetmiphthnakarkhnlachwng odykhawaphasaaemncuerimichin ph s 2179 epnphasainklumtungkusikephiyngphasaediywthimirabbkarekhiyn odyphasacurechnmikarekhiyndwyxksrcurechnmatngaetrawphuththstwrrsthi 16 swnphasaaemncuekhindwyxksraemncuthiidrbxiththiphlcakxksrmxngokeliy section lksnathwipklumphasatungkusikepnphasarupkhatidtx mirabbkark case aelakarepliynesiyngsrathisbsxnkhwamsmphnthkbphasaxunklumphasatungkusikmikhwamechuxmoyngkbklumphasaetxrkikaelaklumphasamxngokeliyintrakulphasaxltaxik aelaxaccamikhwamekiywkhxngkbphasaekahli trakulphasayipunhruxphasaixnudwyxangxingNordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Tungusic Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology Ethnologue entry for Tungus languages Kane Daniel The Sino Jurchen Vocabulary of the Bureau of Interpreters Indiana University Uralic and Altaic Series Volume 153 Bloomington Indiana Indiana University Research Institute for Inner Asian Studies 1989 Miller Roy Andrew Japanese and the Other Altaic Languages Chicago The University of Chicago Press 1971 Poppe N N Vergleichende Grammatik der Altaischen Sprachen A Comparative Grammar of the Altaic Languages Wiesbaden Otto Harrassowitz 1960 Tsintsius V I Sravnitel naya Fonetika Tunguso Man chzhurskikh Yazikov Comparative Phonetics of the Manchu Tungus Languages Leningrad 1949 aehlngkhxmulxunMonumenta Altaica Altaic Linguistics Grammars Texts Dictionaries Bibliographies of Mongolian and other Altaic languages 2011 07 16 thi ewyaebkaemchchin Tungusic Research Group at Dartmouth College 2012 10 06 thi ewyaebkaemchchin sepn Tungusic languages