กลุ่มภาษามองโกล (Mongolic languages) เป็นกลุ่มของภาษาที่ใช้พูดในเอเชียกลาง มีสมาชิก 13 ภาษา นักภาษาศาสตร์บางกลุ่มรวมกลุ่มภาษามองโกลเข้ากับกลุ่มภาษาตังกูสิต กลุ่มภาษาเตอร์กิก เป็นตระกูลภาษาอัลไตอิก แต่ยังไม่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ภาษาในกลุ่มนี้ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือภาษามองโกเลีย ซึ่งเป็นภาษาแม่ของชาวมองโกล มีผู้พูด 3.278 ล้านคนในมองโกเลีย รัสเซียและจีน ภาษานิกูดารี ซึ่งเป็นภาษากลุ่มมองโกลที่จัดจำแนกไม่ได้ ยังคงมีผู้พูดราว 100 คนในเฮรัต อัฟกานิสถาน
กลุ่มภาษามองโกล | |
---|---|
ภูมิภาค | มองโกเลีย; มองโกเลียใน และพื้นที่ตามแนวชายแดน ซินเจียง, กานซู, ชิงไห่ (จีน); , ([รัสเซีย]]) และ (อัฟกานิสถาน) |
ตระกูลภาษา | อัลไต?
|
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | – |
การจัดจำแนก
- ภาษามองโกลยุคกลาง
- ภาษามองโกลคลาสสิก
- ภาษามองโกลกลาง
- ภาษามองโกเลียสำเนียงคอลคา (ภาษาราชการของมองโกเลีย)
- ภาษาออร์ดอส
- ภาษาชาฮาร์ และสำเนียงอื่นๆในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
- ภาษามองโกลตะวันตก
- ภาษาโอยรัต
- ภาษาคาร์คัต
- ภาษามองโกลเหนือ
- ภาษาบูร์บัต
- ภาษามองโกลคามนิกัน
- ภาษามองโกลตะวันออกเฉียงเหนือ
- ภาษาดาร์กู
- ภาษามองโกลตะวันออกเฉียงใต้
- ภาษามองอัวร์ (ได้รับอิทธิพลจากภาษาทิเบตและภาษาจีนมาก)
- ภาษากังเจีย
- ภาษาบอนัน
- ภาษาต้งเซี่ยง
- ภาษามองโกลใต้-กลาง
- ภาษายูกุร์ตะวันออก
- ภาษามองโกลตะวันตกเฉียงใต้
ในบางครั้งจะรวมกลุ่มภาษามองโกลกลาง ตะวันตกและเหนือเป็นภาษามองโกเลีย
ประวัติศาสตร์
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
กลุ่มภาษามองโกลมีจุดกำเนิดมาจากที่เคยใช้พูดในเวลาที่เจงกีสข่านรวบรวมชาวมองโกลหลากหลายเผ่าให้เป็นเอกภาพ ภาษาที่เชื่อว่ามีความเกี่ยวข้องกับภาษามองโกลดั้งเดิมคือ ซึ่งพบในสมัยราชวงศ์เว่ยเหนือและภาษาคีตัน ในกรณีของภาษาตับคัช หลักฐานที่เหลืออยู่มีน้อยซึ่งมีเพียงพอที่จะยืนยันว่าความสัมพันธ์นี้เป็นไปได้ ในกรณีของภาษาคีตัน มีหลักฐานเหลืออยู่มากกว่า แต่ส่วนใหญ่เขียนด้วยอักษรคีตันทั้งสองแบบที่ยังอ่านไม่ได้ แต่ก็พอสรุปความสัมพันธ์ว่าเป็นไปได้สูง ภาษาที่เป็นจุดกำเนิดของภาษามองโกลดั้งเดิมและสองภาษานี้ เรียกว่า
ยุคประวัติศาสตร์
หลักฐานเอกสารภาษามองโกลชิ้นแรกที่เหลืออยู่คือศิลาจารึกยีซุงเก ซึ่งเป็นรายงานเกี่ยวกับกีฬา จารึกด้วยอักษรมองโกเลียบนก้อนหิน ซึ่งมีอายุราว พ.ศ. 1763 – 1764 นอกจากนั้น เป็นหลักฐานที่เขียนด้วยอักษรมองโกเลียกับ อักษรจีน อักษรอาหรับ และอักษรทางตะวันตกอื่นๆ ภาษามองโกลยุคกลางเริ่มปรากฏในพุทธศตวรรษที่ 18-20 เอกสารที่เขียนด้วยอักษรมองโกเลีย มีลักษณะบางอย่างที่แตกต่างไป บางครั้งแยกเป็นภาษามองโกลก่อนคลาสสิก ยุคถัดมาคือซึ่งอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22-24 ซึ่งมีการจัดมาตรฐานเกี่ยวกับการสะกดคำและการเรียงประโยค ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของภาษามองโกลสมัยใหม่
อ้างอิง
- Andrews, Peter A. (1999). Felt tents and pavilions: the nomadic tradition and its interaction with princely tentage, Volume 1. Melisende. ISBN .
- Rybatzki, Volker (2003). "Middle Mongol". ใน (บ.ก.). The Mongolic languages. Routledge Language Family Series. London, England: Routledge. pp. 47–82. ISBN .
- Janhunen, Juha. 2012. . SCRIPTA, Vol. 4: 107–132.
- Janhunen, Juha (2006). "Mongolic languages". ใน Brown, K. (บ.ก.). The encyclopedia of language & linguistics. Amsterdam: Elsevier. pp. 231–234.
- Luvsanvandan, Š. (1959). "Mongol hel ajalguuny učir". Mongolyn Sudlal. 1.
- Nugteren, Hans (2011). Mongolic Phonology and the Qinghai-Gansu Languages (วิทยานิพนธ์ Ph.D.). Netherlands Graduate School of Linguistics / Landelijke – LOT.
- Poppe, Nicholas (1964) [1954]. Grammar of Written Mongolian. Wiesbaden: Harrassowitz.
- Sechenbaatar, Borjigin (2003). The Chakhar dialect of Mongol – A morphological description. Helsinki: .
- [Sechenbaatar] Sečenbaγatur, Qasgerel, Tuyaγ-a, B. ǰirannige, U Ying ǰe. (2005). Mongγul kelen-ü nutuγ-un ayalγun-u sinǰilel-ün uduridqal. Kökeqota: ÖMAKQ.
- Starostin, Sergei A.; Dybo, Anna V.; Mudrak, Oleg A. (2003). Etymological Dictionary of the Altaic Languages. Leiden: Brill.
- Svantesson, Jan-Olof; Tsendina, Anna; Karlsson, Anastasia; Franzén, Vivan (2005). The Phonology of Mongolian. New York, NY: Oxford University Press.
- (2011). Studies on the Peoples and Cultures of the Eurasian Steppes. Editura Academiei Române; Editura Istros a Muzeului Brăilei. ISBN .
- Vovin, Alexander (2005). "The end of the Altaic controversy (review of Starostin et al. 2003)". Central Asiatic Journal. 49 (1): 71–132.
- Vovin, Alexander. 2007. Once again on the Tabgač language. Mongolian Studies XXIX: 191–206.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Ethnic map of Mongolia
- grammars, texts, dictionaries and bibliographies of Mongolian and other Altaic languages
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
klumphasamxngokl Mongolic languages epnklumkhxngphasathiichphudinexechiyklang mismachik 13 phasa nkphasasastrbangklumrwmklumphasamxngoklekhakbklumphasatngkusit klumphasaetxrkik epntrakulphasaxlitxik aetyngimepnthiyxmrbodythwip phasainklumnithiepnthiruckkndikhuxphasamxngokeliy sungepnphasaaemkhxngchawmxngokl miphuphud 3 278 lankhninmxngokeliy rsesiyaelacin phasanikudari sungepnphasaklummxngoklthicdcaaenkimid yngkhngmiphuphudraw 100 khninehrt xfkanisthanklumphasamxngoklphumiphakhmxngokeliy mxngokeliyin aelaphunthitamaenwchayaedn sineciyng kansu chingih cin rsesiy aela xfkanisthan trakulphasaxlit klumphasamxngoklrhsphasaISO 639 3 karcdcaaenkphasamxngoklyukhklang phasamxngoklkhlassik phasamxngoklklang phasamxngokeliysaeniyngkhxlkha phasarachkarkhxngmxngokeliy phasaxxrdxs phasachahar aelasaeniyngxuninekhtpkkhrxngtnexngmxngokeliyin phasamxngokltawntk phasaoxyrt phasakharkht phasamxngoklehnux phasaburbt phasamxngoklkhamnikn phasamxngokltawnxxkechiyngehnux phasadarku phasamxngokltawnxxkechiyngit phasamxngxwr idrbxiththiphlcakphasathiebtaelaphasacinmak phasakngeciy phasabxnn phasatngesiyng phasamxngoklit klang phasayukurtawnxxk phasamxngokltawntkechiyngit phasaomokhl inbangkhrngcarwmklumphasamxngoklklang tawntkaelaehnuxepnphasamxngokeliyprawtisastryukhkxnprawtisastr klumphasamxngoklmicudkaenidmacakthiekhyichphudinewlathiecngkiskhanrwbrwmchawmxngoklhlakhlayephaihepnexkphaph phasathiechuxwamikhwamekiywkhxngkbphasamxngokldngedimkhux sungphbinsmyrachwngsewyehnuxaelaphasakhitn inkrnikhxngphasatbkhch hlkthanthiehluxxyuminxysungmiephiyngphxthicayunynwakhwamsmphnthniepnipid inkrnikhxngphasakhitn mihlkthanehluxxyumakkwa aetswnihyekhiyndwyxksrkhitnthngsxngaebbthiyngxanimid aetkphxsrupkhwamsmphnthwaepnipidsung phasathiepncudkaenidkhxngphasamxngokldngedimaelasxngphasani eriykwa yukhprawtisastr hlkthanexksarphasamxngoklchinaerkthiehluxxyukhuxsilacarukyisungek sungepnraynganekiywkbkila carukdwyxksrmxngokeliybnkxnhin sungmixayuraw ph s 1763 1764 nxkcaknn epnhlkthanthiekhiyndwyxksrmxngokeliykb xksrcin xksrxahrb aelaxksrthangtawntkxun phasamxngoklyukhklangerimpraktinphuththstwrrsthi 18 20 exksarthiekhiyndwyxksrmxngokeliy milksnabangxyangthiaetktangip bangkhrngaeykepnphasamxngoklkxnkhlassik yukhthdmakhuxsungxyuinchwngphuththstwrrsthi 22 24 sungmikarcdmatrthanekiywkbkarsakdkhaaelakareriyngpraoykh sungtxmaidklayepnswnhnungkhxngphasamxngoklsmyihmxangxingAndrews Peter A 1999 Felt tents and pavilions the nomadic tradition and its interaction with princely tentage Volume 1 Melisende ISBN 978 1 901764 03 1 Rybatzki Volker 2003 Middle Mongol in b k The Mongolic languages Routledge Language Family Series London England Routledge pp 47 82 ISBN 978 0 7007 1133 8 Janhunen Juha 2012 SCRIPTA Vol 4 107 132 Janhunen Juha 2006 Mongolic languages in Brown K b k The encyclopedia of language amp linguistics Amsterdam Elsevier pp 231 234 Luvsanvandan S 1959 Mongol hel ajalguuny ucir Mongolyn Sudlal 1 Nugteren Hans 2011 Mongolic Phonology and the Qinghai Gansu Languages withyaniphnth Ph D Netherlands Graduate School of Linguistics Landelijke LOT Poppe Nicholas 1964 1954 Grammar of Written Mongolian Wiesbaden Harrassowitz Sechenbaatar Borjigin 2003 The Chakhar dialect of Mongol A morphological description Helsinki Sechenbaatar Secenbagatur Qasgerel Tuyag a B ǰirannige U Ying ǰe 2005 Monggul kelen u nutug un ayalgun u sinǰilel un uduridqal Kokeqota OMAKQ Starostin Sergei A Dybo Anna V Mudrak Oleg A 2003 Etymological Dictionary of the Altaic Languages Leiden Brill Svantesson Jan Olof Tsendina Anna Karlsson Anastasia Franzen Vivan 2005 The Phonology of Mongolian New York NY Oxford University Press 2011 Studies on the Peoples and Cultures of the Eurasian Steppes Editura Academiei Romane Editura Istros a Muzeului Brăilei ISBN 9789732721520 Vovin Alexander 2005 The end of the Altaic controversy review of Starostin et al 2003 Central Asiatic Journal 49 1 71 132 Vovin Alexander 2007 Once again on the Tabgac language Mongolian Studies XXIX 191 206 aehlngkhxmulxunEthnic map of Mongolia grammars texts dictionaries and bibliographies of Mongolian and other Altaic languages