นาวาอากาศเอก ไอลีน แมรี คอลลินส์ (Eileen Marie Collins) เกิดเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 ในเมืองเอลมิรา นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา อดีตในกองทัพอากาศสหรัฐ ภายหลังรับตำแหน่งเป็นนักบินอวกาศแห่งองค์การนาซา ทั้งยังเป็นนักบินและผู้บังคับการกระสวยอวกาศหญิงคนแรกด้วย
ประวัติ
ในวัยเด็ก ไอลีนมีความสนใจทั้งด้านการบินอวกาศและการเป็นนักบิน เมื่อ ค.ศ. 1988 ได้สมรสกับแพต ยังส์ ซึ่งเป็นนักบิน ทั้งสองมีลูกด้วยกันสองคน
การศึกษา
- ค.ศ. 1974 ไอลีนจบการศึกษาขั้นต้น จากสถาบันเอลมิรา ฟรี ในเมืองเอลมิรา รัฐนิวยอร์ก
- ค.ศ. 1976 ได้รับอนุปริญญาวิทยาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์/วิทยาศาสตร์ จากวิทยาลัยคอร์นิง คอมมูนิตี้
- ค.ศ. 1978 ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาคณิตศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยไซราคัส
- ค.ศ. 1986 ได้รับปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ด้านวิจัยเชิงปฏิบัติการ จากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
- ค.ศ. 1989 ได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ด้านการบริหารระบบอวกาศ จากมหาวิทยาลัยเวบสเตอร์
การทำงาน
เมื่อ ค.ศ. 1979 ไอลีนจบการฝึกอบรมการบินระดับปริญญาตรี จากกองทัพอากาศสหรัฐ จากนั้นมาได้ทำงานเป็นนักบินผู้สอน T-38 กระทั่งปี 1982 ต่อมาในระหว่าง ค.ศ. 1983-1985 ได้เป็นครูฝึกบินและผู้บังคับการอากาศยาน เครื่องบิน C-141 สตาร์ลิฟเตอร์ ครั้นปี 1986 – 1989 ก็ได้เป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาคณิตศาสตร์ และเป็นครูฝึกบิน เครื่องบิน T-41 ที่โรงเรียนนายร้อยทหารอากาศ สหรัฐอเมริกา
ไอลีนได้รับเลือกจากขององค์การนาซา ขณะที่เข้าเรียนในโรงเรียนนักบินทดสอบแห่งกองทัพอากาศที่มีชื่อเสียงของสหรัฐอเมริกา ที่ รัฐแคลิฟอร์เนีย และจบหลักสูตรเมื่อปี ค.ศ. 1990 ไอลีนได้สะสมชั่วโมงบินได้มากกว่า 6,000 ชั่วโมง ในอากาศยานกว่า 30 แบบ
ประสบการณ์การบินอวกาศ
ไอลีนได้บินกับกระสวยอวกาศเป็นครั้งแรกในฐานะนักบินของกระสวยอวกาศดิสคัฟเวอรี เมื่อ ปี ค.ศ. 1995 ในเที่ยวบิน ซึ่งมีการนัดพบกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย
ต่อมา ไอลีนได้บังคับการบินกระสวยอวกาศโคลัมเบีย ในเที่ยวบิน ซึ่งปล่อยขึ้นในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1999 เพื่อปฏิบัติภารกิจปล่อยหอดูดาวรังสีเอ็กซ์จันทรา (Chandra X-Ray Observatory) นี่เป็นภารกิจที่สมบูรณ์ก่อนจะถึงภารกิจครั้งสุดท้ายของกระสวยอวกาศโคลัมเบีย (ภารกิจสมบูรณ์ทั้งสุดท้ายของยานโคลัมเบียคือเที่ยวบิน เมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ. 2002 ก่อนจะระเบิดในเที่ยวบิน STS-107 เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2003)
หลังจากนั้น ไอลีนได้บังคับการเที่ยวบิน เป็นการส่งกระสวยอวกาศอีกครั้งของนาซา หลังความพินาศของยานโคลัมเบีย ภารกิจครั้งนี้นอกจากจะเป็นการทดสอบการปรับปรุงด้านความปลอดภัยแล้ว ยังเป็นการส่งกำลังบำรุงให้แก่สถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) อีกด้วย เที่ยวบินนี้เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 และกลับเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ปีเดียวกัน ในเที่ยวบินนี้ ไอลีนนับเป็นนักบินอากาศคนแรกที่ควบคุมกระสวยอวกาศให้ตีลังกาหมุนรอบ 360 องศาอย่างสมบูรณ์ ทั้งนี้ก็เพื่อให้นักบินอวกาศในสถานีอวกาศนานาชาติได้ถ่ายภาพส่วนท้องของยานดิสคัฟเวอรี เพื่อยืนยันว่าไม่มีอันตรายจากความเสียหายของชิ้นส่วนของยานที่หลุดออกในช่วงปล่อยยาน
แหล่งข้อมูลอื่น
- รายละเอียดการบินแต่ละเที่ยว
- ประวัติอย่างเป็นทางการจากองค์การนาซา
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
nawaxakasexk ixlin aemri khxllins Eileen Marie Collins ekidemuxwnthi 19 phvscikayn kh s 1956 inemuxngexlmira niwyxrk shrthxemrika xditinkxngthphxakasshrth phayhlngrbtaaehnngepnnkbinxwkasaehngxngkhkarnasa thngyngepnnkbinaelaphubngkhbkarkraswyxwkashyingkhnaerkdwyixlin khxllinsprawtiinwyedk ixlinmikhwamsnicthngdankarbinxwkasaelakarepnnkbin emux kh s 1988 idsmrskbaepht yngs sungepnnkbin thngsxngmilukdwyknsxngkhnkarsuksakh s 1974 ixlincbkarsuksakhntn caksthabnexlmira fri inemuxngexlmira rthniwyxrk kh s 1976 idrbxnupriyyawithyasastr sakhakhnitsastr withyasastr cakwithyalykhxrning khxmmuniti kh s 1978 idrbpriyyasilpsastrbnthit sakhakhnitsastraelaesrsthsastr cakmhawithyalyisrakhs kh s 1986 idrbpriyyawithyasastrmhabnthit danwicyechingptibtikar cakmhawithyalysaetnfxrd kh s 1989 idrbpriyyasilpsastrmhabnthit dankarbriharrabbxwkas cakmhawithyalyewbsetxrkarthanganemux kh s 1979 ixlincbkarfukxbrmkarbinradbpriyyatri cakkxngthphxakasshrth caknnmaidthanganepnnkbinphusxn T 38 krathngpi 1982 txmainrahwang kh s 1983 1985 idepnkhrufukbinaelaphubngkhbkarxakasyan ekhruxngbin C 141 starlifetxr khrnpi 1986 1989 kidepnphuchwysastracary sakhakhnitsastr aelaepnkhrufukbin ekhruxngbin T 41 thiorngeriynnayrxythharxakas shrthxemrika ixlinidrbeluxkcakkhxngxngkhkarnasa khnathiekhaeriyninorngeriynnkbinthdsxbaehngkxngthphxakasthimichuxesiyngkhxngshrthxemrika thi rthaekhlifxreniy aelacbhlksutremuxpi kh s 1990 ixlinidsasmchwomngbinidmakkwa 6 000 chwomng inxakasyankwa 30 aebbprasbkarnkarbinxwkasixlinidbinkbkraswyxwkasepnkhrngaerkinthanankbinkhxngkraswyxwkasdiskhfewxri emux pi kh s 1995 inethiywbin sungmikarndphbkbsthanixwkasemiyrkhxngrsesiy txma ixlinidbngkhbkarbinkraswyxwkasokhlmebiy inethiywbin sungplxykhunineduxnkrkdakhm kh s 1999 ephuxptibtipharkicplxyhxdudawrngsiexkscnthra Chandra X Ray Observatory niepnpharkicthismburnkxncathungpharkickhrngsudthaykhxngkraswyxwkasokhlmebiy pharkicsmburnthngsudthaykhxngyanokhlmebiykhuxethiywbin emuxeduxnminakhm kh s 2002 kxncaraebidinethiywbin STS 107 emuxwnthi 1 kumphaphnth kh s 2003 hlngcaknn ixlinidbngkhbkarethiywbin epnkarsngkraswyxwkasxikkhrngkhxngnasa hlngkhwamphinaskhxngyanokhlmebiy pharkickhrngninxkcakcaepnkarthdsxbkarprbprungdankhwamplxdphyaelw yngepnkarsngkalngbarungihaeksthanixwkasnanachati ISS xikdwy ethiywbinnierimkhunemuxwnthi 26 krkdakhm kh s 2005 aelaklbemuxwnthi 9 singhakhm piediywkn inethiywbinni ixlinnbepnnkbinxakaskhnaerkthikhwbkhumkraswyxwkasihtilngkahmunrxb 360 xngsaxyangsmburn thngnikephuxihnkbinxwkasinsthanixwkasnanachatiidthayphaphswnthxngkhxngyandiskhfewxri ephuxyunynwaimmixntraycakkhwamesiyhaykhxngchinswnkhxngyanthihludxxkinchwngplxyyanaehlngkhxmulxunraylaexiydkarbinaetlaethiyw prawtixyangepnthangkarcakxngkhkarnasa