ในทางฟิสิกส์ แรง คือ อันตรกิริยาใด ๆ เมื่อไม่มีการขัดขวางแล้วจะเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของไป แรงที่สามารถทำให้วัตถุซึ่งมีมวลเปลี่ยนแปลงความเร็ว (ซึ่งรวมทั้งการเคลื่อนที่จาก(ภาวะหยุดนิ่ง)) กล่าวคือ ความเร่ง ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้พลังงาน แรงยังอาจหมายถึงการผลักหรือการดึง แรงเป็นปริมาณที่มีทั้งหรือ วัดได้ในหน่วยของนิวตัน โดยใช้สัญลักษณ์ทั่วไปเป็น F
แรง | |
---|---|
แรงเป็นการกระทำที่ผลักหรือดึงวัตถุ อาจเกิดจากปรากฏการณ์ เช่น ความโน้มถ่วง ความเป็นแม่เหล็ก หรืออะไรก็ตามที่ทำให้มวลมีความเร่ง | |
สัญลักษณ์ทั่วไป | F, F |
หน่วยเอสไอ | นิวตัน (N) |
ในหน่วยฐานเอสไอ | kg × m × s-2 |
อนุพันธ์ จากปริมาณอื่น | F = m a |
ตาม(กฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตัน) กล่าวว่าที่กระทำต่อวัตถุมีค่าเท่ากับของโมเมนตัมที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลา ถ้ามวลของวัตถุเป็นค่าคงตัว จากกฎข้อนี้จึงอนุมานได้ว่าความเร่งเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในทิศทางของแรงลัพธ์และเป็นสัดส่วนผกผันกับมวลของวัตถุ
แนวคิดเกี่ยวกับแรง ได้แก่ ซึ่งเพิ่มความเร็วของวัตถุให้มากขึ้น ซึ่งลดความเร็วของวัตถุ และซึ่งทำให้เกิดของวัตถุ ในวัตถุที่มีส่วนขยาย แรงที่ทำกระทำคือแรงที่กระทำต่อส่วนของวัตถุที่อยู่ติดกัน การกระจายตัวของแรงดังกล่าวเป็นความเครียดเชิงกล ซึ่งไม่ทำให้เกิดความเร่งของวัตถุมื่อแรงสมดุลกัน แรงที่กระจายตัวกระทำบนส่วนเล็ก ๆ ของวัตถุอาจเรียกได้ว่าเป็นความดัน ซึ่งเป็นความเคลียดอย่างหนึ่งและถ้าไม่สมดุลอาจทำให้วัตถุมีความเร่งได้ ความเครียดมักจะทำให้วัตถุเกิดของวัตถุที่เป็นของแข็งหรือการไหลของของไหล
แนวความคิดพื้นฐาน
ในนิยามเบื้องต้นของแรงอาจกล่าวได้ว่า แรงคือ สิ่งที่ก่อให้เกิดความเร่ง เมื่อกระทำเดี่ยวๆ ในความหมายเชิงปฏิบัติ แรงสามารถแบ่งได้เป็นสองกลุ่ม คือแรงปะทะ และแรงสนาม แรงปะทะจะต้องมีการปะทะทางกายภาพของสองวัตถุ เช่นค้อนตีตะปู หรือแรงที่เกิดจากก๊าซใต้ความกดดัน ก๊าซที่เกิดจากการระเบิดของดินปืนทำให้ลูกกระสุนปืนใหญ่พุ่งออกจากปืนใหญ่ ในทางกลับกัน แรงสนามไม่ต้องการการสัมผัสกันของสื่อกลางทางกายภาพ แรงโน้มถ่วง และ แม่เหล็กเป็นตัวอย่างของแรงชนิดนี้ อย่างไรก็ตาม โดยพื้นฐานแล้วทุกแรงเป็นแรงสนาม แรงที่ค้อนตีตะปูในตัวอย่างก่อนหน้านี้ ที่จริงแล้วเป็นการปะทะกันของแรงไฟฟ้าจากทั้งค้อนและตะปู แต่ทว่าในบางกรณีก็เป็นการเหมาะสมที่เราจะแบ่งแรงเป็นสองชนิดแบบนี้เพื่อง่ายต่อความเข้าใจ
นิยามเชิงปริมาณ
ในแบบจำลองทางฟิสิกส์ เราใช้ระบบเป็นจุด กล่าวคือเราแทนวัตถุด้วยจุดหนึ่งมิติที่ศูนย์กลางมวลของมัน การเปลี่ยนแปลงเพียงชนิดเดียวที่เกิดขึ้นได้กับวัตถุก็คือการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม (อัตราเร็ว) ของมัน ตั้งแต่มีการเสนอทฤษฎีอะตอมขึ้น ระบบทางฟิสิกส์ใดๆ จะถูกมองในวิชาฟิสิกส์ดั้งเดิมว่าประกอบขึ้นจากระบบเป็นจุดมากมายที่เรียกว่าอะตอมหรือโมเลกุล เพราะฉะนั้น แรงต่างๆ สามารถนิยามได้ว่าเป็นผลกระทบของมัน นั่นก็คือเป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ที่มันได้รับบนระบบเป็นจุด การเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่นั้นสามารถระบุจำนวนได้โดยความเร่ง (อนุพันธ์ของความเร็ว) การค้นพบของไอแซก นิวตันที่ว่าแรงจะทำให้เกิดความเร่งโดยแปรผกผันกับปริมาณที่เรียกว่ามวล ซึ่งไม่ขึ้นอยู่กับอัตราเร็วของระบบ เรียกว่ากฎข้อที่สองของนิวตัน กฎนี้ทำให้เราสามารถทำนายผลกระทบของแรงต่อระบบเป็นจุดใดๆ ที่เราทราบมวล กฎนั้นมักจะเขียนดังนี้
- F = dp/dt = d (m·v) /dt = m·a (ในกรณีที่ m ไม่ขึ้นกับ t)
เมื่อ
- F คือแรง (ปริมาณเวกเตอร์)
- p คือโมเมนตัม
- t คือเวลา
- v คือความเร็ว
- m คือมวล และ
- a=d²x/dt² คือความเร่ง อนุพันธ์อันดับสองของเวกเตอร์ตำแหน่ง x เมื่อเทียบกับ t
ถ้ามวล m วัดในหน่วยกิโลกรัม และความเร่ง a วัดในหน่วย เมตรต่อวินาทีกำลังสอง แล้วหน่วยของแรงคือ กิโลกรัม-เมตร/วินาทีกำลังสอง เราเรียกหน่วยนี้ว่า นิวตัน: 1 N = 1 kg x 1 m/s²
สมการนี้เป็นระบบของอันดับสอง สามสมการ เทียบกับเวกเตอร์บอกตำแหน่งสามมิติ ซึ่งเป็นฟังก์ชันกับเวลา เราสามารถแก้สมการนี้ได้ถ้าเราทราบฟังก์ชัน F ของ x และอนุพันธ์ของมัน และถ้าเราทราบมวล m นอกจากนี้ก็ต้องทราบเงื่อนไขขอบเขต เช่นค่าของเวกเตอร์บอกตำแหน่ง และ x และความเร็ว v ที่เวลาเริ่มต้น t=0
สูตรนี้จะใช้ได้เมื่อทราบค่าเป็นตัวเลขของ F และ m เท่านั้น นิยามข้างต้นนั้นเป็นนิยามโดยปริยายซึ่งจะได้มาเมื่อ มีการกำหนดระบบอ้างอิง (น้ำหนึ่งลิตร) และแรงอ้างอิง (แรงโน้มถ่วงของโลกกระทำต่อมันที่ระดับความสูงของปารีส) ยอมรับกฎข้อที่สองของนิวตัน (เชื่อว่าสมมติฐานเป็นจริง) และวัดความเร่งที่เกิดจากแรงอ้างอิงกระทำต่อระบบอ้างอิง เราจะได้หน่วยของมวล (1 kg) และหน่วยของแรง (หน่วยเดิมเป็น 1 = 9.81 N) เมื่อเสร็จสิ้น เราจะสามารถวัดแรงใดๆ โดยความเร่งที่มันก่อให้เกิดบนระบบอ้างอิง และวัดมวลของระบบใดๆ โดยการวัดความเร่งที่เกิดบนระบบนี้โดยแรงอ้างอิง
แรงมักจะไปรับการพิจารณาว่าเป็นปริมาณพื้นฐานทางฟิสิกส์ แต่ก็ยังมีปริมาณที่เป็นพื้นฐานกว่านั้นอีก เช่นโมเมนตัม (p = มวล m x ความเร่ง v) พลังงาน มีหน่วยเป็น จูล นั้นเป็นพื้นฐานน้อยกว่าแรงและโมเมนตัม เพราะมันนิยามขึ้นจากงาน และงานนิยามจากแรง ทฤษฎีพื้นฐานที่สุดในธรรมชาติ และ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ไม่มีแนวคิดเรื่องแรงรวมอยู่ด้วยเลย
ถึงแม้แรงไม่ใช่ปริมาณที่เป็นพื้นฐานที่สุดในฟิสิกส์ มันก็เป็นแนวคิดพื้นฐานที่แนวคิดอื่นๆ เช่น งาน และ ความดัน (หน่วย ปาสกาล) นำไปใช้ แรงในบางครั้งใช้สับสนกับความเค้น
ชนิดของแรง
แรงทั้งหมดในจักรวาลอยู่บนพื้นฐานของการปฏิสัมพันธ์พื้นฐานสี่ประการ คือกับแรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน จะกระทำในระยะทางที่สั้นมากคือในระดับอนุภาคภายในอะตอม เช่นนิวคลีออนในนิวเคลียส แรงแม่เหล็กไฟฟ้าจะกระทำในอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงจะกระทำระหว่างมวล
แรงอื่นนอกเหนือจากนี้เป็นการปฏิสัมพันธ์ของแรงทั้งสี่แบบนี้ ตัวอย่างเช่นแรงเสียดทานเป็นปรากฏการณ์ของแรงแม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ระหว่างอะตอมของสองพื้นผิวและหลักการการกีดกันของเพาลีที่จะไม่ให้อะตอมของทั้งสองผ่านเข้าหากันและกัน เช่นเดียวกันกับ แรงในสปริงตามกฎของฮุคเป็นผลมาจากแรงแม่เหล็กไฟฟ้าและหลักการกีดกันที่ทำหน้าที่ร่วมกันเพื่อทำให้วัตถุอยู่ในตำแหน่งเดิมที่สมดุล แรงเข้าสู้ศูนย์กลางเป็นแรงเร่งที่เกิดขึ้นจากการเร่งความเร็วของการหมุนในกรอบอ้างอิงหนึ่ง
ทฤษฎีพื้นฐานของแรงถูกพัฒนาจากการรวมกันของแนวคิดที่ต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น ไอแซก นิวตัน ได้ตั้ง ทฤษฎีโน้มถ่วงสากล จะเป็นแรงที่ตอบสนองต่อวัตถุให้ตกลงมาสู้พื้นโลก ด้วยแรงดึงดูดระหว่างมวลของโลกกับดวงจันทร์ และแรงดึงดูดของดวงอาทิตย์กับดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาล ไมเคิล ฟาราเดย์ และ สาธิตให้เห็นว่าแรงไฟฟ้า และแรงแม่เหล็ก สามารถรวมเป็นแรงเดียวกันได้ผ่าน ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
ในศตวรรษที่ 20 การพัฒนากลศาสตร์ควอนตัมนำไปสู่ความเข้าใจสมัยใหม่ว่าแรงพื้นฐานทั้งสาม(ยกเว้นแรงโน้มถ่วง)เป็นปรากฏการณ์ของ สสาร(เฟอมิออนส์) ที่มีปฏิกิริยาโดยการแลกเปลี่ยนกับ ปฏิอนุภาคที่เรียกว่า เกจ โบซอน แบบจำลองมาตรฐานฟิสิกส์ของอนุภาคนี้อนุมานถึงความคล้ายคลึงกันระหว่างแรง และทำให้นักวิทยาศาสตร์สามารถคาดเดาการรวมตัวกันของแรงแบบอ่อน และแรงแม่เหล็กไฟฟ้า ในทฤษฎีอิเล็กโตร-วีค ซึ่งได้รับการยืนยันในภายหลังโดยการสังเกต ซึ่งรูปแบบที่สมบูรณ์ของแบบจำลองมาตรฐาน ได้ทำการสังเกตการณ์การสั่นของอนุภาคนิวทริโน ซึ่งบอกได้ว่าโมเดลมาตรฐานนั้นไม่สมบูรณ์
ทฤษฏีการรวมแรงครั้งใหญ่ ช่วยทำให้ การรวมกันของ อิเลคโตร-วีค ที่มีปฏิกิริยากับแรงนิวเคลียร์แบบแข็ง ช่วยกำจัดความเป็นไปได้ให้กับผู้คิดค้นทฤษฎีต่างๆ เช่น ซูเปอร์ซิทเมททรี () ที่ถูกเสนอเพื่อเป็นประโยชน์กับ ปัญหาทางฟิสิกส์ที่ยังไม่สามารถพิสูจน์ได้ นักฟิสิกส์ยังคงพยายามที่จะพัฒนาแบบจำลองเพื่อจะรวมแรงพื้นฐานทั้ง4 เข้าด้วยกันซึ่งจะเรียกว่า ทฤษฎีแห่งสรรพสิ่ง () ซึ่ง ไอส์ไตน์เคยพยายามทำแต่ได้ล้มเหลวลงไป แต่ปัจจุบันวิธีที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในการตอบคำถามนี้คือทฤษฎีสตริง
Property/Interaction | Gravitation | Weak | Electromagnetic | Strong | |
---|---|---|---|---|---|
(Electroweak) | Fundamental | Residual | |||
Acts on: | Mass - Energy | Flavor | Electric charge | Color charge | Atomic nuclei |
Particles experiencing: | All | Quarks, leptons | Electrically charged | Quarks, Gluons | Hadrons |
Particles mediating: | Graviton (not yet observed) | W+ W− Z0 | γ | Gluons | Mesons |
Strength in the scale of quarks: | 10−41 | 10−4 | 1 | 60 | Not applicable to quarks |
Strength in the scale of protons/neutrons: | 10−36 | 10−7 | 1 | Not applicable to hadrons | 20 |
- แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม กระทำระหว่างอนุภาคระดับเล็กกว่าอะตอม
- แรงแม่เหล็กไฟฟ้า ระหว่างประจุไฟฟ้า
- แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน เกิดจากการสลายตัวของกัมมันตภาพรังสี
- แรงโน้มถ่วงระหว่างมวล
ทฤษฎีสนามควอนตัมจำลองแรงพื้นฐานสามชนิดแรกได้อย่างแม่นยำ แต่ไม่ได้จำลองเอาไว้ อย่างไรก็ตาม แรงโน้มถ่วงควอนตัมบริเวณกว้างสามารถอธิบายได้ด้วย ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป
แรงพื้นฐานทั้งสี่สามารถอธิบายปรากฏการณ์ที่สังเกตได้ทั้งหมด รวมถึงแรงอื่นๆ ที่สังเกตได้เช่น แรงคูลอมบ์ (แรงระหว่างประจุไฟฟ้า) แรงโน้มถ่วง (แรงระหว่างมวล) แรงแม่เหล็ก แรงเสียดทาน แรงสู่ศูนย์กลาง แรงหนีศูนย์กลาง และ แรงสปริง เป็นต้น
แรงต่างๆ ยังสามารถแบ่งออกเป็น และแรงไม่อนุรักษ์ แรงอนุรักษ์จะเท่ากับความชันของพลังงานศักย์ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงแม่เหล็กไฟฟ้า และแรงสปริง แรงไม่อนุรักษ์เช่น แรงเสียดทาน และ
ผลจากแรง
เมื่อแรงถูกกระทำกับวัตถุหนึ่ง วัตถุนั้นสามารถได้รับผลกระทบ 4 ประเภท ดังนี้
- วัตถุที่อยู่นิ่งเริ่มเคลื่อนที่
- ความเร็วของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่อยู่เปลี่ยนแปลงไป
- ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุเปลี่ยนแปลงไป
- รูปร่าง ขนาดของวัตถุเปลี่ยนแปลงไป
กฎของนิวตัน
เซอร์ ไอแซก นิวตัน นักวิทยาศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ศึกษาเรื่องแรงและได้อธิบายกฎสามข้อของแรงไว้ในหนังสือของท่าน คือ
กฎทั้งสามข้อมีอยู่ดังนี้
1. หากไม่มีแรงมากระทำต่อวัตถุหนึ่ง วัตถุนั้นจะคงสภาพอยู่นิ่ง ส่วนวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร็วคงที่ในแนวตรง จนกว่าจะมีแรงอื่นมากระทำต่อวัตถุนั้น สูตร ∑F=0 (กฎของความเฉื่อย)
2. เมื่อมีแรงมากระทำต่อวัตถุหนึ่ง แรงนั้นจะเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุและทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง โดยความเร็วของวัตถุจะแปรผันตามแรงนั้น สูตร ∑F=ma (กฎของแรง)
3. เมื่อวัตถุหนึ่งออกแรงกระทำต่อวัตถุอีกชิ้นหนึ่ง วัตถุที่ถูกกระทำจะออกแรงกระทำกลับในขนาดที่เท่ากัน สูตร Action=Reaction (กฎของแรงปฏิกิริยา)
อ้างอิง
- Nave, C. R. (2018). "Force". Hyperphysics. Dept. of Physics and Astronomy, Georgia State University. สืบค้นเมื่อ 11 February 2018.
- . Contemporary Physics Education Project. 2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-02. สืบค้นเมื่อ 2 January 2017.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangfisiks aerng khux xntrkiriyaid emuximmikarkhdkhwangaelwcaepliynaeplngkarekhluxnthikhxngip aerngthisamarththaihwtthusungmimwlepliynaeplngkhwamerw sungrwmthngkarekhluxnthicakphawahyudning klawkhux khwamerng sungepnphlmacakkarichphlngngan aerngyngxachmaythungkarphlkhruxkardung aerngepnprimanthimithnghrux wdidinhnwykhxngniwtn odyichsylksnthwipepn Faerngaerngepnkarkrathathiphlkhruxdungwtthu xacekidcakpraktkarn echn khwamonmthwng khwamepnaemehlk hruxxairktamthithaihmwlmikhwamerngsylksnthwipF Fhnwyexsixniwtn N inhnwythanexsixkg m s 2xnuphnth cakprimanxunF m a tamkdkarekhluxnthikhxthi 2 khxngniwtn klawwathikrathatxwtthumikhaethakbkhxngomemntmthiepliynaeplngiptamewla thamwlkhxngwtthuepnkhakhngtw cakkdkhxnicungxnumanidwakhwamerngepnsdswnodytrngkbaernglphththikrathatxwtthuinthisthangkhxngaernglphthaelaepnsdswnphkphnkbmwlkhxngwtthu aenwkhidekiywkbaerng idaek sungephimkhwamerwkhxngwtthuihmakkhun sungldkhwamerwkhxngwtthu aelasungthaihekidkhxngwtthu inwtthuthimiswnkhyay aerngthithakrathakhuxaerngthikrathatxswnkhxngwtthuthixyutidkn karkracaytwkhxngaerngdngklawepnkhwamekhriydechingkl sungimthaihekidkhwamerngkhxngwtthumuxaerngsmdulkn aerngthikracaytwkrathabnswnelk khxngwtthuxaceriykidwaepnkhwamdn sungepnkhwamekhliydxyanghnungaelathaimsmdulxacthaihwtthumikhwamerngid khwamekhriydmkcathaihwtthuekidkhxngwtthuthiepnkhxngaekhnghruxkarihlkhxngkhxngihlaenwkhwamkhidphunthaninniyamebuxngtnkhxngaerngxacklawidwa aerngkhux singthikxihekidkhwamerng emuxkrathaediyw inkhwamhmayechingptibti aerngsamarthaebngidepnsxngklum khuxaerngpatha aelaaerngsnam aerngpathacatxngmikarpathathangkayphaphkhxngsxngwtthu echnkhxntitapu hruxaerngthiekidcakkasitkhwamkddn kasthiekidcakkarraebidkhxngdinpunthaihlukkrasunpunihyphungxxkcakpunihy inthangklbkn aerngsnamimtxngkarkarsmphsknkhxngsuxklangthangkayphaph aerngonmthwng aela aemehlkepntwxyangkhxngaerngchnidni xyangirktam odyphunthanaelwthukaerngepnaerngsnam aerngthikhxntitapuintwxyangkxnhnani thicringaelwepnkarpathaknkhxngaerngiffacakthngkhxnaelatapu aetthwainbangkrnikepnkarehmaasmthieracaaebngaerngepnsxngchnidaebbniephuxngaytxkhwamekhaicniyamechingprimaninaebbcalxngthangfisiks eraichrabbepncud klawkhuxeraaethnwtthudwycudhnungmitithisunyklangmwlkhxngmn karepliynaeplngephiyngchnidediywthiekidkhunidkbwtthukkhuxkarepliynaeplngomemntm xtraerw khxngmn tngaetmikaresnxthvsdixatxmkhun rabbthangfisiksid cathukmxnginwichafisiksdngedimwaprakxbkhuncakrabbepncudmakmaythieriykwaxatxmhruxomelkul ephraachann aerngtang samarthniyamidwaepnphlkrathbkhxngmn nnkkhuxepnkarepliynaeplngsphaphkarekhluxnthithimnidrbbnrabbepncud karepliynaeplngkarekhluxnthinnsamarthrabucanwnidodykhwamerng xnuphnthkhxngkhwamerw karkhnphbkhxngixaesk niwtnthiwaaerngcathaihekidkhwamerngodyaeprphkphnkbprimanthieriykwamwl sungimkhunxyukbxtraerwkhxngrabb eriykwakdkhxthisxngkhxngniwtn kdnithaiherasamarththanayphlkrathbkhxngaerngtxrabbepncudid thierathrabmwl kdnnmkcaekhiyndngni F dp dt d m v dt m a inkrnithi m imkhunkb t emux F khuxaerng primanewketxr p khuxomemntm t khuxewla v khuxkhwamerw m khuxmwl aela a d x dt khuxkhwamerng xnuphnthxndbsxngkhxngewketxrtaaehnng x emuxethiybkb t thamwl m wdinhnwykiolkrm aelakhwamerng a wdinhnwy emtrtxwinathikalngsxng aelwhnwykhxngaerngkhux kiolkrm emtr winathikalngsxng eraeriykhnwyniwa niwtn 1 N 1 kg x 1 m s smkarniepnrabbkhxngxndbsxng samsmkar ethiybkbewketxrbxktaaehnngsammiti sungepnfngkchnkbewla erasamarthaeksmkarniidthaerathrabfngkchn F khxng x aelaxnuphnthkhxngmn aelathaerathrabmwl m nxkcakniktxngthrabenguxnikhkhxbekht echnkhakhxngewketxrbxktaaehnng aela x aelakhwamerw v thiewlaerimtn t 0 sutrnicaichidemuxthrabkhaepntwelkhkhxng F aela m ethann niyamkhangtnnnepnniyamodypriyaysungcaidmaemux mikarkahndrabbxangxing nahnunglitr aelaaerngxangxing aerngonmthwngkhxngolkkrathatxmnthiradbkhwamsungkhxngparis yxmrbkdkhxthisxngkhxngniwtn echuxwasmmtithanepncring aelawdkhwamerngthiekidcakaerngxangxingkrathatxrabbxangxing eracaidhnwykhxngmwl 1 kg aelahnwykhxngaerng hnwyedimepn 1 9 81 N emuxesrcsin eracasamarthwdaerngid odykhwamerngthimnkxihekidbnrabbxangxing aelawdmwlkhxngrabbid odykarwdkhwamerngthiekidbnrabbniodyaerngxangxing aerngmkcaiprbkarphicarnawaepnprimanphunthanthangfisiks aetkyngmiprimanthiepnphunthankwannxik echnomemntm p mwl m x khwamerng v phlngngan mihnwyepn cul nnepnphunthannxykwaaerngaelaomemntm ephraamnniyamkhuncakngan aelanganniyamcakaerng thvsdiphunthanthisudinthrrmchati aela thvsdismphththphaphthwip immiaenwkhideruxngaerngrwmxyudwyely thungaemaerngimichprimanthiepnphunthanthisudinfisiks mnkepnaenwkhidphunthanthiaenwkhidxun echn ngan aela khwamdn hnwy paskal naipich aernginbangkhrngichsbsnkbkhwamekhnchnidkhxngaerngaerngthnghmdinckrwalxyubnphunthankhxngkarptismphnthphunthansiprakar khuxkbaerngniwekhliyrxyangxxn cakrathainrayathangthisnmakkhuxinradbxnuphakhphayinxatxm echnniwkhlixxninniwekhliys aerngaemehlkiffacakrathainxnuphakhthimipracuiffa aelaaerngonmthwngcakratharahwangmwl aerngxunnxkehnuxcakniepnkarptismphnthkhxngaerngthngsiaebbni twxyangechnaerngesiydthanepnpraktkarnkhxngaerngaemehlkiffathithahnathirahwangxatxmkhxngsxngphunphiwaelahlkkarkarkidknkhxngephalithicaimihxatxmkhxngthngsxngphanekhahaknaelakn echnediywknkb aernginspringtamkdkhxnghukhepnphlmacakaerngaemehlkiffaaelahlkkarkidknthithahnathirwmknephuxthaihwtthuxyuintaaehnngedimthismdul aerngekhasusunyklangepnaerngerngthiekidkhuncakkarerngkhwamerwkhxngkarhmuninkrxbxangxinghnung thvsdiphunthankhxngaerngthukphthnacakkarrwmknkhxngaenwkhidthitangkn yktwxyangechn ixaesk niwtn idtng thvsdionmthwngsakl caepnaerngthitxbsnxngtxwtthuihtklngmasuphunolk dwyaerngdungdudrahwangmwlkhxngolkkbdwngcnthr aelaaerngdungdudkhxngdwngxathitykbdawekhraahinrabbsuriyackrwal imekhil faraedy aela sathitihehnwaaerngiffa aelaaerngaemehlk samarthrwmepnaerngediywknidphan thvsdiaemehlkiffa instwrrsthi 20 karphthnaklsastrkhwxntmnaipsukhwamekhaicsmyihmwaaerngphunthanthngsam ykewnaerngonmthwng epnpraktkarnkhxng ssar efxmixxns thimiptikiriyaodykaraelkepliynkb ptixnuphakhthieriykwa ekc obsxn aebbcalxngmatrthanfisikskhxngxnuphakhnixnumanthungkhwamkhlaykhlungknrahwangaerng aelathaihnkwithyasastrsamarthkhadedakarrwmtwknkhxngaerngaebbxxn aelaaerngaemehlkiffa inthvsdixielkotr wikh sungidrbkaryunyninphayhlngodykarsngekt sungrupaebbthismburnkhxngaebbcalxngmatrthan idthakarsngektkarnkarsnkhxngxnuphakhniwthrion sungbxkidwaomedlmatrthannnimsmburn thvstikarrwmaerngkhrngihy chwythaih karrwmknkhxng xielkhotr wikh thimiptikiriyakbaerngniwekhliyraebbaekhng chwykacdkhwamepnipidihkbphukhidkhnthvsditang echn suepxrsithemththri thithukesnxephuxepnpraoychnkb pyhathangfisiksthiyngimsamarthphisucnid nkfisiksyngkhngphyayamthicaphthnaaebbcalxngephuxcarwmaerngphunthanthng4 ekhadwyknsungcaeriykwa thvsdiaehngsrrphsing sung ixsitnekhyphyayamthaaetidlmehlwlngip aetpccubnwithithiidrbkhwamniymmakthisudinkartxbkhathamnikhuxthvsdistring The four fundamental forces of nature Property Interaction Gravitation Weak Electromagnetic Strong Electroweak Fundamental ResidualActs on Mass Energy Flavor Electric charge Color charge Atomic nucleiParticles experiencing All Quarks leptons Electrically charged Quarks Gluons HadronsParticles mediating Graviton not yet observed W W Z0 g Gluons MesonsStrength in the scale of quarks 10 41 10 4 1 60 Not applicable to quarksStrength in the scale of protons neutrons 10 36 10 7 1 Not applicable to hadrons 20aerngniwekhliyrxyangekhm kratharahwangxnuphakhradbelkkwaxatxm aerngaemehlkiffa rahwangpracuiffa aerngniwekhliyrxyangxxn ekidcakkarslaytwkhxngkmmntphaphrngsi aerngonmthwngrahwangmwl thvsdisnamkhwxntmcalxngaerngphunthansamchnidaerkidxyangaemnya aetimidcalxngexaiw xyangirktam aerngonmthwngkhwxntmbriewnkwangsamarthxthibayiddwy thvsdismphththphaphthwip aerngphunthanthngsisamarthxthibaypraktkarnthisngektidthnghmd rwmthungaerngxun thisngektidechn aerngkhulxmb aerngrahwangpracuiffa aerngonmthwng aerngrahwangmwl aerngaemehlk aerngesiydthan aerngsusunyklang aernghnisunyklang aela aerngspring epntn aerngtang yngsamarthaebngxxkepn aelaaerngimxnurks aerngxnurkscaethakbkhwamchnkhxngphlngngansky echn aerngonmthwng aerngaemehlkiffa aelaaerngspring aerngimxnurksechn aerngesiydthan aelaphlcakaerngemuxaerngthukkrathakbwtthuhnung wtthunnsamarthidrbphlkrathb 4 praephth dngni wtthuthixyuningerimekhluxnthi khwamerwkhxngwtthuthikalngekhluxnthixyuepliynaeplngip thisthangkarekhluxnthikhxngwtthuepliynaeplngip ruprang khnadkhxngwtthuepliynaeplngipkdkhxngniwtnesxr ixaesk niwtn nkwithyasastraelankkhnitsastrchawxngkvs idsuksaeruxngaerngaelaidxthibaykdsamkhxkhxngaerngiwinhnngsuxkhxngthan khux kdthngsamkhxmixyudngni 1 hakimmiaerngmakrathatxwtthuhnung wtthunncakhngsphaphxyuning swnwtthuthikalngekhluxnthicaekhluxnthitxipdwykhwamerwkhngthiinaenwtrng cnkwacamiaerngxunmakrathatxwtthunn sutr F 0 kdkhxngkhwamechuxy 2 emuxmiaerngmakrathatxwtthuhnung aerngnncaepliynaeplngomemntmkhxngwtthuaelathaihwtthuekhluxnthiiptamaenwaerng odykhwamerwkhxngwtthucaaeprphntamaerngnn sutr F ma kdkhxngaerng 3 emuxwtthuhnungxxkaerngkrathatxwtthuxikchinhnung wtthuthithukkrathacaxxkaerngkrathaklbinkhnadthiethakn sutr Action Reaction kdkhxngaerngptikiriya xangxingNave C R 2018 Force Hyperphysics Dept of Physics and Astronomy Georgia State University subkhnemux 11 February 2018 Contemporary Physics Education Project 2000 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2017 01 02 subkhnemux 2 January 2017