เฮียเฮียะ | |
---|---|
เฮียเฮียะ (艾叶 หรือ 艾草) | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Angiosperms |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Eudicots |
ไม่ได้จัดลำดับ: | Asterids |
อันดับ: | Asterales |
วงศ์: | Asteraceae |
สกุล: | Artemisia |
สปีชีส์: | A. argyi |
ชื่อทวินาม | |
Artemisia argyi & |
เฮียเฮียะ หรือ เหี่ยเฮี๊ยะ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Artemisia argyi; จีนตัวย่อ: 艾叶; จีนตัวเต็ม: 艾葉; พินอิน: ài yè ไอ้เย่; แปลตามตัว ใบไอ้; จีนแต้จิ๋ว: hian7 hiêh8, /hĩã.hiεʔ/) เป็นชื่อในตำรับยาภาษาจีนที่ใช้ใบของพืชที่เรียก ไอ้เฉ่า (จีนตัวย่อ: 艾草; จีนตัวเต็ม: 艾葉; พินอิน: ài cǎo) หรือ โกฐจุฬาจีนภาษามลายูเรียกอูลัมมักวัน เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปีอยู่ในสกุลโกฐจุฬาลัมพา และเป็นพืชท้องถิ่นในจีน ญี่ปุ่น และไซบีเรีย มีกลิ่นหอมแรง ใช้เป็นยาสมุนไพรรักษาตับ ม้าม และ ไตและใช้กินเป็นอาหารจีนเจ้อเจียงที่เรียก ชิงถฺวาน (青团) และอาหารจีนแคะ เฉ่าอากุ้ย (草仔粿)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เฮียเฮียะ (A. argyi) เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ลำต้นตั้งตรงสีเทา สูงประมาณหนึ่งเมตรมีกิ่งสั้น และมีเหง้า
ก้านใบเป็นรูปไข่ ใบรูปหอกกว้าง หยักเว้าลึก ขอบใบจัก สีเทาเขียวและปกคลุมด้วยต่อมผลิตน้ำมันขนาดเล็ก ใบด้านบนมีขนนิ่ม ๆ อยู่ประปราย ด้านล่างสีเทาขาว มีขนหนาแน่นจำนวนมาก ใบความยาวประมาณ 6 เซนติเมตร เป็นใบประกอบสามส่วน ใบประดับเรียบง่ายเป็นรูปใบหอกยาว
ช่อดอกเป็นช่อใบแคบ ดอกไม้แต่ละดอกมีสีเหลืองซีด มีลักษณะเป็นทรงกระบอก และฐานดอกกระจุกเป็นครึ่งทรงกลม ดอกกลางเป็นกะเทย ส่วนดอกข้างดอกเป็นตัวเมีย กลีบดอกแคบและพับเป็นทรงกระบอก
ทั้งต้นมีกลิ่นหอมแรง
การแพร่กระจายและถิ่นที่อยู่
เฮียเฮียะเป็น (xerophile) ปรับตัวให้เจริญเติบโตในที่แห้งแล้ง ได้แก่บนเนินเขาที่แห้งแล้ง ริมฝั่งแม่น้ำสูงชัน ขอบของ แนวชายฝั่ง ที่รกร้างว่างเปล่า ตามริมถนนและทางรถไฟ เจริญเติบโตได้ดีกว่าและมีกลิ่นหอมมากขึ้นเมื่อในและ
การใช้ประโยชน์
ในทางวัฒนธรรม
ชาวจีนภาคใต้ (ตอนใต้ของแม่น้ำแยงซี) ใช้ร่วมกับใบว่านน้ำแขวนประตูในช่วงเทศกาลเรือมังกรเพื่อปัดเป่าวิญญาณร้าย ส่งกลิ่นหอมระเรื่อ และสามารถใช้กินเป็นอาหารในเทศกาลเช็งเม้ง
การใช้เป็นอาหาร
เป็นอาหารพื้นเมืองทางตอนใต้ของจีน บริเวณมณฑลเจ้อเจียง เช่น ขนมนึ่งใส่เฮียเฮียะ ที่กินก่อนและหลังเทศกาลเช็งเม้ง โดยการบดนวดแป้งข้าวเหนียวไปพร้อมกับใบเฮียเฮียะสด อาจผสมด้วยถั่วลิสง งา น้ำตาล และไส้อื่นๆ (ในบางพื้นที่จะมีการใส่ถั่วเขียวเพิ่ม) แล้วนึ่ง เรียก ชิงถฺวาน และในอาหารจีนแคะก่อนนึ่ง ใช้ก้อนแป้งอัดลงแม่พิมพ์พร้อมใส้เป็นรูปต่าง ๆ เรียก เฉาอากุ้ย
ในลุ่มน้ำตงเจียงในกวางตุ้ง ชาวบ้านเก็บใบเฮียเฮียะสดและยอดอ่อนในฤดูหนาวและฤดูใบไม้ผลิเพื่อบริโภคเป็นผัก ในอาหารของชาวจีนแคะในเหมย์โจวใช้ใบแห้งหมัก และยัดลงในท้องไก่ ใส่ขิงหั่นบาง ๆ แล้วนึ่ง หรือต้มแกงไก่ รวมกับเนื้อลำไย และอื่นๆ
การใช้เป็นยาสมุนไพร
โดยการเก็บใบเฮียเฮียะ ในฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อนเมื่อขณะออกดอก และตากในที่ร่ม
ในการแพทย์แผนจีน ถือว่ามีคุณสมบัติขม ฉุน และอุ่น และสัมพันธ์กัการบรักษาตับ ม้าม และ ไตใบใช้เป็นยาแก้ไอขับเสมหะใช้เป็นยาห้ามเลือด บรรเทาปวด ช่วยการเพิ่มปริมาณเลือดไปยังบริเวณอุ้งเชิงกรานและกระตุ้นการมีประจำเดือน ช่วยรักษาภาวะมีบุตรยาก ประจำเดือน โรคหอบหืด และไอ
อาจใช้ใน (moxibustion) ซึ่งเป็นรูปแบบการรักษาด้วยการเผาสมุนไพรเฮียเฮียะ (โกศจุฬาลัมพา) ในรูปกรวยหรือแท่ง หรือเป็นลูกกลมอัดที่เสียบไว้กับปลายเข็มฝัง เพื่อรมบริเวณจุดฝังเข็มตามตำแหน่งของเส้นลมปราณ
ใช้ในยาต้มแบบอย่างเดียว หรือกับสารอื่น ๆ
ใบสดสามารถบดและปั่นและคั้นน้ำผลไม้ ชาวโอรังอัซลีในรัฐเปรัก ประเทศมาเลเซียใช้ใบสดเคี้ยวแก้ไอ
น้ำมันระเหยสามารถสกัดจากใบและใช้ในการรักษาโรคหอบหืดและหลอดลมอักเสบ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฉีดพ่นลงบนหลังลำคอและช่วยบรรเทาอาการได้อย่างรวดเร็ว ใบมีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียและแสดงให้เห็นว่ามีประสิทธิภาพในการต่อต้าน Staphylococcus aureus, Bacillus dysenteriae, Bacillus subtilis, Bacillus typhi, Escherichia coli และ Pseudomonas
- ขนม "เฉ่าอากุ้ย" (草仔粿) อาหารจีนฮากกาบนเกาะไต้หวัน
- ขนมต้มชิงถฺวาน ที่หางโจว
- กิ่งเฮียเฮียะร่วมกับใบว่านน้ำ ใช้แขวนประตูในช่วงเทศกาลไหว้บ๊ะจ่าง
การวิจัย
- ในการวิจัยใบของเฮียเฮียะ (A. argyi) พบสารประกอบระเหย 96 ชนิด ได้แก่ อัลฟา-ทูจีน, , การบูร และอาร์เตมิเซียแอลกอฮอล์
- ดอกมีสารประกอบระเหยเกือบ 50 ชนิด และการใช้ดอกไม้เพื่อการรักษาอาจได้ผลดีพอ ๆ กับการใช้ใบ
- สารสกัดจากเมทานอลที่เตรียมจากทุกส่วนยกเว้นรากของพืชช่วยลดการกลายพันธุ์ของเชื้อ Salmonella typhimurium ได้
- สารสกัดจากเฮียเฮียะ มีกับ Botrytis cinerea และ Alternaria alternata ที่ทำให้ผักและผลไม้ในที่เก็บเน่าได้ง่าย
- สารที่แยกได้จากสารสกัดจากเฮียเฮียะ พบว่ามี
- มีการศึกษาตรวจสอบประสิทธิภาพทางคลินิกของ (moxibustion) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของใบของสายพันธุ์ต่าง ๆ ของเฮียเฮียะ (A. argyi) และตรวจสอบวิธีการนำยาที่มีประสิทธิภาพที่สุด และเพื่อเพิ่มผลการรักษาแบบนี้
อ้างอิง
- . th.thaicn.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-02. สืบค้นเมื่อ 2021-08-02.
- AgroAtlas
- Acupuncture Today
- "จุดชมธรรมชาติเฟิ่นฉี่หู (Fenqihu Scenic Area)". Taiwan Tourism (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน).
- Flora of China
- Genders. R. Scented Flora of the World. Robert Hale. London. 1994 ISBN []
- ภาสกิจ วัณณาวิบูล. รู้เลือกรู้ใช้ 100 ยาจีน. กทม. ทองเกษม. 2555
- ศุภนิมิต ทีฆชุณหเสถียร. ยาจีนปรับสมดุลเลือด. กทม. ซีเอ็ดยูเคชัน. 2554
- Acupuncture Today: Mugwort Leaf
- Samuel, A.J.S.J., Kalusalingam, A., Chellappan, D.K., Gopinath, R., Radhamani, S., Husain, H. A., Muruganandham, V., Promwichit, P. 2010. Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong, Perak, West Malaysia. Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine. 6:5
- Duke. J. A. and Ayensu. E. S. Medicinal Plants of China. Reference Publications, Inc. 1985 ISBN []
- Yeung. Him-Che. Handbook of Chinese Herbs and Formulas. Institute of Chinese Medicine, Los Angeles 1985[]
- Pan, JG; Xu, ZL; Ji, L (1992). "Chemical studies on essential oils from 6 Artemisia species". Zhongguo Zhong Yao Za Zhi. 17 (12): 741–4, 764. PMID 1304756.
- Li, N; Mao, Y; Deng, C; Zhang, X (2008). "Separation and identification of volatile constituents in Artemisia argyi flowers by GC-MS with SPME and steam distillation". Journal of Chromatographic Science. 46 (5): 401–5. PMID 18492349.
- Nakasugi, Toru; Nakashima, Mika; Komai, Koichiro (2000). "Antimutagens in Gaiyou (ArtemisiaargyiLevl. Et Vant.)". Journal of Agricultural and Food Chemistry. 48 (8): 3256–66. doi:10.1021/jf9906679. PMID 10956099.
- Wenqiang, Guan; Shufen, Li; Ruixiang, Yan; Yanfeng, Huang (2006). "Comparison of composition and antifungal activity ofArtemisia argyi Lévl. Et Vantinflorescence essential oil extracted by hydrodistillation and supercritical carbon dioxide". Natural Product Research. 20 (11): 992–8. doi:10.1080/14786410600921599. PMID 17032625.
- Seo, Jeong-Min; Kang, Hyun-Mi; Son, Kwang-Hee; Kim, Jong Han; Lee, Chang Woo; Kim, Hwan Mook; Chang, Soo-Ik; Kwon, Byoung-Mog (2003). "Antitumor Activity of Flavones Isolated fromArtemisia argyi". Planta Medica. 69 (3): 218–22. doi:10.1055/s-2003-38486. PMID 12677524.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-08-02. สืบค้นเมื่อ 2021-08-02.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ehiyehiyaehiyehiya 艾叶 hrux 艾草 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaeimidcdladb Angiospermsimidcdladb Eudicotsimidcdladb Asteridsxndb Asteraleswngs Asteraceaeskul Artemisiaspichis A argyichuxthwinamArtemisia argyi amp phaphwadprakxbehiyehiya 艾草 ephaaplukinsiingkhopr ehiyehiya hrux ehiyehiya chuxwithyasastr Artemisia argyi cintwyx 艾叶 cintwetm 艾葉 phinxin ai ye ixey aepltamtw ibix cinaetciw hian7 hieh8 hĩa hieʔ epnchuxintarbyaphasacinthiichibkhxngphuchthieriyk ixecha cintwyx 艾草 cintwetm 艾葉 phinxin ai cǎo hrux okthculacinphasamlayueriykxulmmkwn epnimlmlukxayuhlaypixyuinskulokthculalmpha aelaepnphuchthxngthinincin yipun aelaisbieriy miklinhxmaerng ichepnyasmuniphrrksatb mam aela itaelaichkinepnxaharcinecxeciyngthieriyk chingth wan 青团 aelaxaharcinaekha echaxakuy 草仔粿 lksnathangphvkssastrehiyehiya A argyi epnimlmlukxayuhlaypi latntngtrngsietha sungpramanhnungemtrmikingsn aelamiehnga kanibepnrupikh ibruphxkkwang hykewaluk khxbibck siethaekhiywaelapkkhlumdwytxmphlitnamnkhnadelk ibdanbnmikhnnim xyuprapray danlangsiethakhaw mikhnhnaaenncanwnmak ibkhwamyawpraman 6 esntiemtr epnibprakxbsamswn ibpradberiybngayepnrupibhxkyaw chxdxkepnchxibaekhb dxkimaetladxkmisiehluxngsid milksnaepnthrngkrabxk aelathandxkkracukepnkhrungthrngklm dxkklangepnkaethy swndxkkhangdxkepntwemiy klibdxkaekhbaelaphbepnthrngkrabxk thngtnmiklinhxmaerngkaraephrkracayaelathinthixyuehiyehiyaepn xerophile prbtwihecriyetibotinthiaehngaelng idaekbneninekhathiaehngaelng rimfngaemnasungchn khxbkhxng aenwchayfng thirkrangwangepla tamrimthnnaelathangrthif ecriyetibotiddikwaaelamiklinhxmmakkhunemuxinaelakarichpraoychninthangwthnthrrm chawcinphakhit txnitkhxngaemnaaeyngsi ichrwmkbibwannaaekhwnpratuinchwngethskaleruxmngkrephuxpdepawiyyanray sngklinhxmraerux aelasamarthichkinepnxaharinethskalechngemng karichepnxahar epnxaharphunemuxngthangtxnitkhxngcin briewnmnthlecxeciyng echn khnmnungisehiyehiya thikinkxnaelahlngethskalechngemng odykarbdnwdaepngkhawehniywipphrxmkbibehiyehiyasd xacphsmdwythwlisng nga natal aelaisxun inbangphunthicamikaristhwekhiywephim aelwnung eriyk chingth wan aelainxaharcinaekhakxnnung ichkxnaepngxdlngaemphimphphrxmisepnruptang eriyk echaxakuy inlumnatngeciynginkwangtung chawbanekbibehiyehiyasdaelayxdxxninvduhnawaelavduibimphliephuxbriophkhepnphk inxaharkhxngchawcinaekhainehmyocwichibaehnghmk aelaydlnginthxngik iskhinghnbang aelwnung hruxtmaekngik rwmkbenuxlaiy aelaxun karichepnyasmuniphr odykarekbibehiyehiya invduibimphliaelavdurxnemuxkhnaxxkdxk aelatakinthirm inkaraephthyaephncin thuxwamikhunsmbtikhm chun aelaxun aelasmphnthkkarbrksatb mam aela itibichepnyaaekixkhbesmhaichepnyahameluxd brrethapwd chwykarephimprimaneluxdipyngbriewnxungechingkranaelakratunkarmipracaeduxn chwyrksaphawamibutryak pracaeduxn orkhhxbhud aelaix xacichin moxibustion sungepnrupaebbkarrksadwykarephasmuniphrehiyehiya oksculalmpha inrupkrwyhruxaethng hruxepnlukklmxdthiesiybiwkbplayekhmfng ephuxrmbriewncudfngekhmtamtaaehnngkhxngesnlmpran ichinyatmaebbxyangediyw hruxkbsarxun ibsdsamarthbdaelapnaelakhnnaphlim chawoxrngxsliinrtheprk praethsmaelesiyichibsdekhiywaekix namnraehysamarthskdcakibaelaichinkarrksaorkhhxbhudaelahlxdlmxkesb odymiwtthuprasngkhephuxchidphnlngbnhlnglakhxaelachwybrrethaxakaridxyangrwderw ibmivththitanaebkhthieriyaelaaesdngihehnwamiprasiththiphaphinkartxtan Staphylococcus aureus Bacillus dysenteriae Bacillus subtilis Bacillus typhi Escherichia coli aela Pseudomonas khnm echaxakuy 草仔粿 xaharcinhakkabnekaaithwn khnmtmchingth wan thihangocw kingehiyehiyarwmkbibwanna ichaekhwnpratuinchwngethskalihwbacangkarwicyinkarwicyibkhxngehiyehiya A argyi phbsarprakxbraehy 96 chnid idaek xlfa thucin karbur aelaxaretmiesiyaexlkxhxl dxkmisarprakxbraehyekuxb 50 chnid aelakarichdxkimephuxkarrksaxacidphldiphx kbkarichib sarskdcakemthanxlthietriymcakthukswnykewnrakkhxngphuchchwyldkarklayphnthukhxngechux Salmonella typhimurium id sarskdcakehiyehiya mikb Botrytis cinerea aela Alternaria alternata thithaihphkaelaphliminthiekbenaidngay sarthiaeykidcaksarskdcakehiyehiya phbwami mikarsuksatrwcsxbprasiththiphaphthangkhlinikkhxng moxibustion ephuxwiekhraahxngkhprakxbthangekhmikhxngibkhxngsayphnthutang khxngehiyehiya A argyi aelatrwcsxbwithikarnayathimiprasiththiphaphthisud aelaephuxephimphlkarrksaaebbnixangxing th thaicn net khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 08 02 subkhnemux 2021 08 02 AgroAtlas Acupuncture Today cudchmthrrmchatiefinchihu Fenqihu Scenic Area Taiwan Tourism phasaxngkvsaebbxemrikn Flora of China Genders R Scented Flora of the World Robert Hale London 1994 ISBN 0 7090 5440 8 txngkarelkhhna phaskic wnnawibul rueluxkruich 100 yacin kthm thxngeksm 2555 suphnimit thikhchunhesthiyr yacinprbsmduleluxd kthm siexdyuekhchn 2554 Acupuncture Today Mugwort Leaf Samuel A J S J Kalusalingam A Chellappan D K Gopinath R Radhamani S Husain H A Muruganandham V Promwichit P 2010 Ethnomedical survey of plants used by the orang asli in kampong bawong Perak West Malaysia Joutnal of Ethnobiology and Ethnomedicine 6 5 Duke J A and Ayensu E S Medicinal Plants of China Reference Publications Inc 1985 ISBN 0 917256 20 4 txngkarelkhhna Yeung Him Che Handbook of Chinese Herbs and Formulas Institute of Chinese Medicine Los Angeles 1985 txngkarelkhhna Pan JG Xu ZL Ji L 1992 Chemical studies on essential oils from 6 Artemisia species Zhongguo Zhong Yao Za Zhi 17 12 741 4 764 PMID 1304756 Li N Mao Y Deng C Zhang X 2008 Separation and identification of volatile constituents in Artemisia argyi flowers by GC MS with SPME and steam distillation Journal of Chromatographic Science 46 5 401 5 PMID 18492349 Nakasugi Toru Nakashima Mika Komai Koichiro 2000 Antimutagens in Gaiyou ArtemisiaargyiLevl Et Vant Journal of Agricultural and Food Chemistry 48 8 3256 66 doi 10 1021 jf9906679 PMID 10956099 Wenqiang Guan Shufen Li Ruixiang Yan Yanfeng Huang 2006 Comparison of composition and antifungal activity ofArtemisia argyi Levl Et Vantinflorescence essential oil extracted by hydrodistillation and supercritical carbon dioxide Natural Product Research 20 11 992 8 doi 10 1080 14786410600921599 PMID 17032625 Seo Jeong Min Kang Hyun Mi Son Kwang Hee Kim Jong Han Lee Chang Woo Kim Hwan Mook Chang Soo Ik Kwon Byoung Mog 2003 Antitumor Activity of Flavones Isolated fromArtemisia argyi Planta Medica 69 3 218 22 doi 10 1055 s 2003 38486 PMID 12677524 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 08 02 subkhnemux 2021 08 02