เนินปราสาท เป็นโบราณสถานภายในกำแพงของอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อยู่ทางทิศตะวันออกของวัดมหาธาตุ
ฐานอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าของเนินปราสาท | |
ที่ตั้งของเนินปราสาทในจังหวัดสุโขทัย เนินปราสาท (อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย) (ประเทศไทย) | |
ที่ตั้ง | ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย |
---|---|
ประเภท | อาคาร |
ส่วนหนึ่งของ | อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย |
ความเป็นมา | |
สร้าง | ไม่ปรากฏ |
ละทิ้ง | ไม่ปรากฏ |
สมัย | สุโขทัย |
หมายเหตุเกี่ยวกับสถานที่ | |
ผู้ขุดค้น | กรมศิลปากร |
สภาพ | ซากปรักหักพัง |
ผู้บริหารจัดการ | กรมศิลปากร |
การเปิดให้เข้าชม | ทุกวัน 06.00-21.00 น. |
สถาปัตยกรรม | |
รูปแบบสถาปัตยกรรม | สุโขทัย |
ข้อมูลสถาปัตยกรรม | ได้รับอิทธิพลจากลังกา |
เกณฑ์ | วัฒนธรรม: (i), (iii) |
ขึ้นเมื่อ | 1991 |
เป็นส่วนหนึ่งของ | เมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร |
เลขอ้างอิง | 574 |
ชื่อที่ขึ้นทะเบียน | เนินปราสาท |
ขึ้นเมื่อ | 8 มีนาคม พ.ศ. 2478 |
เป็นส่วนหนึ่งของ | อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย |
เลขอ้างอิง | 0004036 |
ลักษณะทางกายภาพ
โบราณสถานประกอบด้วยฐานอาคารอบฐานบัวคว่ำบัวหงาย ลักษณะเป็นฐานสูงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดใหญ่ ขนาด 27.5 x 51.5 เมตร มีบันไดที่ด้านหน้าและด้านหลังอย่างละหนึ่งแห่ง: 15
ฐานอาคาร
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสำรวจเมืองเก่าสุโขทัยเมื่อ พ.ศ. 2450 และทรงสันนิษฐานว่า เนินดินรูปสี่เหลี่ยมรีที่ตั้งอยู่ด้านทิศตะวันออกของวัดมหาธาตุ น่าจะเป็นลานปราสาทและปราสาท
เสนอว่า การขุดค้นทางโบราณคดีไม่พบหลักฐานที่พอจะบ่งชี้ได้ว่าสถานที่นี้เป็นปราสาทราชวัง อีกทั้งแผนที่เก่าทำในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็บ่งบอกว่าเป็นบริเวณเดียวกันกับวัดมหาธาตุ กล่าวคือเป็นสิ่งก่อสร้างเนื่องในทางศาสนาของวัดมากกว่าเป็นพระราชวัง: 15
แต่เดิมพระราชวังของพระมหากษัตริย์สุโขทัยควรเป็นตำหนักไม้ ตำแหน่งที่ตั้งควรอยู่เหนือ ติดกับวัดสรศักดิ์ทางทิศตะวันตก ซึ่งกล่าวว่า เป็นตำหนักของเจ้านายสุโขทัย เมื่อตอนกลางพุทธศตวรรษที่ 20 ซึ่งตำแหน่งที่ตั้งเช่นนี้จะตรงกันกับตำแหน่งของพระราชวังกษัตริย์แบบเขมรที่เมืองพระนครหลวง หรือนครธม: 15 บริเวณอาคารอาจเปรียบเทียบได้กับท้องพระโรงของพระเจ้าปรากรมพาหุที่ 1 ในพระราชวังเมืองโปลนนารุวะ หรือถ้าไม่เป็นพระราชวังก็อาจเป็นที่รักษาโรคหรือประกอบพิธีกรรมรักษาโรค เพราะพบพวกตลับยา ตามข้อสันนิษฐานของ: 35
ส่วนฐานอาคารที่พบ ยังไม่สามารถใช้สรุปได้แน่ชัดว่าเป็นฐานของอะไร เพราะเป็นเพียงฐานอาคารยกสูง ส่วนบนจึงน่าจะเป็นอาคารไม้: 35
กล่าวว่า โบราณสถานของสุโขทัยมักได้รับอิทธิพลมาจากลังกา เนินปราสาทจึงคาดว่าเป็น เป็นศาลาขนาดใหญ่ไว้สำหรับทำบุญ หรือประกอบศาสนพิธี
โบราณวัตถุ
เสนอว่าหลักฐานทางโบราณคดีที่กรมศิลปากรขุดค้นพบที่เนินปราสาท เช่น ภาชนะดินเผาประเภทเครื่องเคลือบ พบตั้งแต่ชั้นดินอยู่อาศัยระยะแรกสุดสมัยก่อนสุโขทัย โดยเฉพาะเครื่องถ้วยราชวงศ์ซ้อง, เครื่องถ้วยชิงไป๋ที่มีขนาดเล็กจำพวกกระปุก, ตลับ โดยพบร่วมกับเครื่องถ้วยเขมร นอกจากนั้นในชั้นดินอื่น ๆ ยังพบเครื่องถ้วยราชวงศ์หยวน, ราชวงศ์หมิง, เครื่องถ้วยสุโขทัย เป็นต้น แสดงให้เห็นว่าบริเวณนี้เป็นเขตที่อยู่อาศัย มิใช่ศาสนสถาน: 35
เครื่องถ้วยที่พบเป็นเครื่องถ้วยที่มีคุณภาพดี พบจำนวนมาก แตกต่างจากพื้นที่อื่น ๆ ที่พบน้อยหรือพบเพียงเครื่องปั้นดินเผาไม่เคลือบที่ใช้งานในชีวิตประจำวัน ประกอบกับที่ตั้งของบริเวณนี้เป็นที่สูง และอาจเป็นชุมชนที่อยู่อาศัยมาแล้วตั้งแต่สมัยก่อนสุโขทัย จึงอาจกล่าวได้ว่าผู้ที่อยู่อาศัยในเขตเนินปราสาทนี้น่าจะเป็นชนชั้นสูงหรืออาจเป็นเขตพระราชวังได้: 35
จารึก
โบราณสถานแห่งนี้เป็นที่ค้นพบศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงหลักที่ 1 ปรากฏข้อความในจดหมายเหตุ และสมุดไทยของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ได้กล่าวไว้ว่า
“เมื่อศักราช 1195 ปีมเสง เบญศก (พ.ศ. 2376) จะเสด็จขึ้นไปประภาสเมืองเหนือมัศการเจตียสฐานต่างๆ ... ครั้น ณ วันขึ้นหกค่ำกลับมาลงเรือ เจ็ดค่ำเวลาเที่ยงถึงท่าธานี เดินขึ้นไปเมืองศุโขทัยถึงเวลาเยน อยู่ที่นั้นสองวัน เสด็จไปเที่ยวประภาษพบแท่นสีลาแห่งหนึ่ง อยู่ริมเนินปราสาทก่อไว้เปนแท่นหักพังลงมาตะแคงอยู่ที่เหล่านั้น ชาวเมืองเขาเครพย์ (เคารพ) สำคัญเป็นสานเจ้า เขามีมวยสมโพธทุกปี ... รับสั่งให้ฉลองลงมา ก่อเปนแท่นขึ้นไว้ใต้ต้นมะขามที่วัดสมอราย กับเสาสิลาที่จารึกเปนหนังสือเขมรฯ ที่อยู่ในวัดพระศรีรัตนศาสดารามนั้น เอามาคราวเดียวกับแท่นสีลา”
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในขณะที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขณะดำรงพระอิสริยศเป็นน้องยาเธอ) ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ และในราวปี พ.ศ. 2376 ได้ออกเสด็จจาริกธุดงค์ไปยังหัวเมืองเหนือ เมื่อครั้งเสด็จถึงสุโขทัย ทรงพบศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง, และ
อ้างอิง
- พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. นำชมอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร. 2546.
- สำรวจ. พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว. 2520
- ศักดิ์ชัย สายสิงห์. ศึกษาวิจัยศิลปะสุโขทัยจากหลักฐานโบราณคดีจารึกและศิลปกรรม. 2547.
- สุจิตต์ วงษ์เทพ. เนินปราสาทตรงข้ามวัดมหาธาตุสุโขทัย ไม่ใช่วังพระร่วง. มติชน. 2562.
- สัมมนา. สมุดไทยของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์. 2520.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
eninprasath epnobransthanphayinkaaephngkhxngxuthyanprawtisastrsuokhthy xyuthangthistawnxxkkhxngwdmhathatueninprasaththanxakharrupsiehliymphunphakhxngeninprasaththitngkhxngeninprasathincnghwdsuokhthyaesdngaephnthicnghwdsuokhthyeninprasath xuthyanprawtisastrsuokhthy praethsithy aesdngaephnthipraethsithythitngtablemuxngeka xaephxemuxngsuokhthy cnghwdsuokhthypraephthxakharswnhnungkhxngxuthyanprawtisastrsuokhthykhwamepnmasrangimpraktlathingimpraktsmysuokhthyhmayehtuekiywkbsthanthiphukhudkhnkrmsilpakrsphaphsakprkhkphngphubriharcdkarkrmsilpakrkarepidihekhachmthukwn 06 00 21 00 n sthaptykrrmrupaebbsthaptykrrmsuokhthykhxmulsthaptykrrmidrbxiththiphlcaklngkaaehlngmrdkolkodyyuensokeknthwthnthrrm i iii khunemux1991epnswnhnungkhxngemuxngprawtisastrsuokhthyaelaemuxngbriwarelkhxangxing574obransthanthikhunthaebiynodykrmsilpakrchuxthikhunthaebiyneninprasathkhunemux8 minakhm ph s 2478epnswnhnungkhxngxuthyanprawtisastrsuokhthyelkhxangxing0004036lksnathangkayphaphobransthanprakxbdwythanxakharxbthanbwkhwabwhngay lksnaepnthansungrupsiehliymphunphakhnadihy khnad 27 5 x 51 5 emtr mibnidthidanhnaaeladanhlngxyanglahnungaehng 15 thanxakhar thanxakharkxdwyxithaebbbwkhwabwhngay phrabathsmedcphramngkuteklaecaxyuhw thrngsarwcemuxngekasuokhthyemux ph s 2450 aelathrngsnnisthanwa enindinrupsiehliymrithitngxyudanthistawnxxkkhxngwdmhathatu nacaepnlanprasathaelaprasath esnxwa karkhudkhnthangobrankhdiimphbhlkthanthiphxcabngchiidwasthanthiniepnprasathrachwng xikthngaephnthiekathainsmyphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw kbngbxkwaepnbriewnediywknkbwdmhathatu klawkhuxepnsingkxsrangenuxnginthangsasnakhxngwdmakkwaepnphrarachwng 15 aetedimphrarachwngkhxngphramhakstriysuokhthykhwrepntahnkim taaehnngthitngkhwrxyuehnux tidkbwdsrskdithangthistawntk sungklawwa epntahnkkhxngecanaysuokhthy emuxtxnklangphuththstwrrsthi 20 sungtaaehnngthitngechnnicatrngknkbtaaehnngkhxngphrarachwngkstriyaebbekhmrthiemuxngphrankhrhlwng hruxnkhrthm 15 briewnxakharxacepriybethiybidkbthxngphraorngkhxngphraecaprakrmphahuthi 1 inphrarachwngemuxngoplnnaruwa hruxthaimepnphrarachwngkxacepnthirksaorkhhruxprakxbphithikrrmrksaorkh ephraaphbphwktlbya tamkhxsnnisthankhxng 35 swnthanxakharthiphb yngimsamarthichsrupidaenchdwaepnthankhxngxair ephraaepnephiyngthanxakharyksung swnbncungnacaepnxakharim 35 klawwa obransthankhxngsuokhthymkidrbxiththiphlmacaklngka eninprasathcungkhadwaepn epnsalakhnadihyiwsahrbthabuy hruxprakxbsasnphithiobranwtthuesnxwahlkthanthangobrankhdithikrmsilpakrkhudkhnphbthieninprasath echn phachnadinephapraephthekhruxngekhluxb phbtngaetchndinxyuxasyrayaaerksudsmykxnsuokhthy odyechphaaekhruxngthwyrachwngssxng ekhruxngthwychingipthimikhnadelkcaphwkkrapuk tlb odyphbrwmkbekhruxngthwyekhmr nxkcaknninchndinxun yngphbekhruxngthwyrachwngshywn rachwngshming ekhruxngthwysuokhthy epntn aesdngihehnwabriewnniepnekhtthixyuxasy miichsasnsthan 35 ekhruxngthwythiphbepnekhruxngthwythimikhunphaphdi phbcanwnmak aetktangcakphunthixun thiphbnxyhruxphbephiyngekhruxngpndinephaimekhluxbthiichnganinchiwitpracawn prakxbkbthitngkhxngbriewnniepnthisung aelaxacepnchumchnthixyuxasymaaelwtngaetsmykxnsuokhthy cungxacklawidwaphuthixyuxasyinekhteninprasathninacaepnchnchnsunghruxxacepnekhtphrarachwngid 35 caruk carukphxkhunramkhaaehng thukkhnphbthieninprasath pccubnekbxyuthiphiphithphnthsthanaehngchati phrankhr krungethphmhankhr obransthanaehngniepnthikhnphbsilacarukphxkhunramkhaaehnghlkthi 1 praktkhxkhwamincdhmayehtu aelasmudithykhxngsmedcphramhasmneca krmphrayapwerswriyalngkrn idklawiwwa emuxskrach 1195 pimesng ebysk ph s 2376 caesdckhunippraphasemuxngehnuxmskarectiysthantang khrn n wnkhunhkkhaklbmalngerux ecdkhaewlaethiyngthungthathani edinkhunipemuxngsuokhthythungewlaeyn xyuthinnsxngwn esdcipethiywpraphasphbaethnsilaaehnghnung xyurimeninprasathkxiwepnaethnhkphnglngmataaekhngxyuthiehlann chawemuxngekhaekhrphy ekharph sakhyepnsaneca ekhamimwysmophththukpi rbsngihchlxnglngma kxepnaethnkhuniwittnmakhamthiwdsmxray kbesasilathicarukepnhnngsuxekhmr thixyuinwdphrasrirtnsasdaramnn examakhrawediywkbaethnsila inrchsmyphrabathsmedcphranngeklaecaxyuhw inkhnathiphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw khnadarngphraxisriysepnnxngyaethx thrngphnwchepnphraphiksu aelainrawpi ph s 2376 idxxkesdccarikthudngkhipynghwemuxngehnux emuxkhrngesdcthungsuokhthy thrngphbsilacarukphxkhunramkhaaehng aelaxangxingphiess eciycnthrphngs nachmxuthyanprawtisastr suokhthy srischnaly kaaephngephchr 2546 sarwc phrabathsmedcphramngkuteklaecaxyuhw 2520 skdichy saysingh suksawicysilpasuokhthycakhlkthanobrankhdicarukaelasilpkrrm 2547 sucitt wngsethph eninprasathtrngkhamwdmhathatusuokhthy imichwngphrarwng mtichn 2562 smmna smudithykhxngsmedcphramhasmneca krmphrayapwerswriyalngkrn 2520