มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงของเรื่อง |
วัด, อาวาส หรือ อาราม คือคำเรียกศาสนสถานของศาสนาพุทธในประเทศไทย กัมพูชา และลาว เป็นที่อยู่ของภิกษุ และประกอบศาสนกิจของพุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีวิหาร อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ ซึ่งใช้สำหรับประกอบศาสนพิธีต่าง ๆ เช่น การสวดพุทธมนต์
วัดโดยส่วนใหญ่นิยมแบ่งเขตภายในวัดออกเป็นสองส่วนคือ พุทธาวาส และสังฆาวาส โดยส่วนพุทธาวาสจะเป็นที่ตั้งของสถูปเจดีย์ อุโบสถ สถานที่ประกอบกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา และส่วนสังฆาวาส จะเป็นส่วนกุฎิสงฆ์สำหรับภิกษุสามเณรจำพรรษา และในปัจจุบันแทบทุกวัดจะเพิ่มส่วนฌาปนสถานเข้าไปด้วย เพื่อประโยชน์ในด้านการประกอบพิธีทางศาสนาของชุมชน เช่น การฌาปนกิจศพ โดยในอดีตส่วนนี้จะเป็นป่าช้า ซึ่งอยู่ติดหรือใกล้วัด ตามธรรมเนียมของแต่ละท้องถิ่น ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มฌาปนสถานในวัดพุทธศาสนาในประเทศไทยจะตั้งอยู่บนพื้นที่ ๆ เป็นป่าช้าเดิม
ประเภท
ตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 จำแนกวัดเป็น 2 อย่าง คือ
- สำนักสงฆ์ คือ วัดที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศตั้งวัด รวมถึงได้รับพระบรมราชานุญาตให้สร้างขึ้น แต่ยังไม่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา จึงใช้เป็นที่อยู่พระสงฆ์ได้ แต่ในทางพระวินัยยังไม่สามารถสังฆกรรมได้
- วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เป็นวัดที่เลื่อนฐานะจากสำนักสงฆ์ โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาแล้ว พร้อมใช้ทำสังฆกรรมตามพระวินัย ได้ทุกประการ วัดที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา แบ่งออกเป็น พระอารามหลวงและวัดราษฎร์
- วัดราษฎร์ คือวัดที่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา แต่มิได้เข้าบัญชีเป็นพระอารามหลวง
- พระอารามหลวง หรือ วัดหลวง คือวัดที่พระเจ้าแผ่นดินทรงสร้าง หรือทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็นพระอารามหลวง
พระอารามหลวงมี 3 ชั้น ได้แก่
- ชั้นเอก มี 3 ชนิด ได้แก่ ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร และวรมหาวิหาร
- ชั้นโท มี 4 ชนิด ได้แก่ ราชวรมหาวิหาร ราชวรวิหาร วรมหาวิหาร และวรวิหาร
- ชั้นตรี มี 3 ชนิด ได้แก่ ราชวรวิหาร วรวิหาร และสามัญ (ไม่มีสร้อยต่อท้าย)
องค์ประกอบ
รูปแบบและองค์ประกอบศิลปกรรมของวัดในแต่ละยุคและท้องถิ่นมีความแตกต่างกันไปบ้าง เช่น อิทธิพลทางศิลปะ คตินิยม วัสดุท้องถิ่น แต่ทั่วไปจะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
- เขตพุทธาวาส คือ ขอบเขตที่กำหนดไว้สำหรับให้พระสงฆ์ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ประกอบด้วย เจดีย์หรือสถูป มณฑป อุโบสถ วิหาร หอระฆัง ศาลา เป็นต้น บริเวณล้อมรอบพระวิหารและพระอุโบสถมักมีพื้นที่กว้างสำหรับใช้ในกิจพิธีต่าง ๆ เช่น การแห่ประทักษิณ เป็นต้น โดยทั่วไปพระวิหารและพระอุโบสถส่วนมากมักมีรูปทรงเป็นอาคารสี่เหลี่ยมผืนผ้าหันหน้าไปทางทิศตะวันออกเสมอ มีคำอธิบายว่ามีความเกี่ยวข้องกับพุทธประวัติ ตอนที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ โดยพระองค์ทรงประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก สอดคล้องกับพระพุทธรูปประธานในพระวิหารหรือพระอุโบสถที่มักเป็นปางมารวิชัยในตอนผจญมารก่อนที่พระองค์จะตรัสรู้ ลักษณะการวางผังอุโบสถและวิหารนี้เหมือนกันทั้งภาคพื้นทวีปของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- เขตสังฆาวาส คือ พื้นที่ซึ่งกำหนดให้เป็นที่พักอาศัยและกระทำกิจวัตรของพระสงฆ์ที่ไม่ข้องกับพิธีการทางศาสนาโดยตรง เช่น กุฏิ หอฉัน วัจจกุฎี ศาลาการเปรียญ หอไตร ศาลาท่าน้ำ เป็นต้น
- เขตธรณีสงฆ์ คือ เขตที่ดินของวัดนอกเหนือจากเขตพุทธาวาสและเขตสังฆาวาส เป็นพื้นที่วัดที่ใช้ประโยชน์ในลักษณะต่าง ๆ เช่น เมรุ สุสาน โรงเรียน
สาเหตุการสร้างและปฏิสังขรณ์
วัดเริ่มมีครั้งแรกในประเทศอินเดีย เพื่อเป็นที่ประดิษฐานสถูปเจดีย์และเป็นที่พักพระสงฆ์ วัดเวฬุวันถือเป็นพระอารามหรือวัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ปัจจุบันอยู่ในรัฐพิหาร ประเทศอินเดีย จากนั้นอุบาสกอุบาสิกาอื่น ๆ ในที่ต่าง ๆ ได้สร้างวัดถวาย เช่น พระเชตะวันมหาวิหาร ของอนาถปิณฑิก เศรษฐีบุพพารามของนางวิสาขา อัมพปาลีวัน ของนางอัมพปาลี ในเมืองสาวัตถี วัดโฆสิตตาราม ของพระเจ้าอุเทน เมืองโกสัมภี เป็นต้น
สำหรับการสร้างวัดในประเทศไทยมีมาตั้งแต่สมัยศิลปะทวาราวดี ในพุทธศวรรษที่ 12–16 วัดแห่งแรกในพื้นที่ของประเทศไทย บ้างสันนิษฐานว่า วัดเขาทำเทียม จังหวัดสุพรรณบุรี สร้างหลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพานได้ 300 ปี บ้างก็ว่า "วัดปุณณารามดำรงอริยสงฆ์" ซึ่งระบุไว้ในกระเบื้องจารที่ขุดได้ที่คูบัว จังหวัดราชบุรี ปัจจุบันไม่มีร่องรอยปรากฏให้เห็น อยู่ในบริเวณ จังหวัดราชบุรี สร้างขึ้นในสมัย หลังจากที่ไทยส่งคณะทูตเดินทางไปยังวัดเวฬุวันมหาวิหาร วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา ที่ประเทศอินเดีย
ในประเทศกัมพูชา พบหลักฐานการสร้างพระวิหารในพุทธศาสนานิกายเถรวาทตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 ในรัชสมัยของพระเจ้าสรินทรวรมัน หลักฐานจากศิลาจารึก k.754 ได้กล่าวถึงพระราชบัญชาของพระเจ้าสรินทรวรมันที่ทรงสั่งให้สร้างพระวิหารและพระพุทธรูปสำหรับเคารพบูชาในปี พ.ศ. 1851
วัดในระยะแรกมีจุดประสงค์ 2 อย่าง คือ เพื่อเป็นที่บรรจุพระบรมธาตุ เรียกว่า วัดพุทธเจดีย์ อีกประการหนึ่งคือ สร้างเพื่อเป็น วัดอนุสาวรีย์ ได้แก่สถูปเพื่อบรรจุอัฐิธาตุบุคคลสำคัญทางพุทธศาสนา ต่อมาวัตถุประสงค์การสร้างเริ่มขยายออกไป แต่มีสาเหตุสำคัญ คือ ความเชื่อในเรื่องกรรม ไตรภูมิ และยุคพระศรีอริยเมตไตรยตามคำสอนในคัมภีร์ศาสนา กล่าวคือ การทำบุญที่ได้ผลบุญมากที่สุดคือการสร้างวัด
ปัจจัยการสร้างวัดและบูรณะปฏิสังขรณ์อื่น ๆ ได้แก่ สร้างเพื่อแสดงความรุ่งเรืองของอาณาจักร เพื่อเป็นอนุสรณ์สงคราม เพื่อสะดวกในการทำบุญ เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจของชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานศึกษา สร้างเพื่อความศรัทธาในภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง หรืออาจเป็นค่านิยม อย่าง ความนิยมสร้างวัดประจำรัชกาล วัดประจำตระกูล สร้างเป็นอนุสรณ์และอุทิศส่วนกุศล เป็นต้น
วัดประจำพระราชวังในประเทศไทย
เด็กวัด
เด็กวัด เป็นเด็กชายในประเทศไทยซึ่งอาศัยอยู่ในวัดและคอยรับใช้พระภิกษุ โดยเด็กวัดจะคอยถือบาตรของพระภิกษุในช่วงการบิณฑบาตยามเช้า หลังจากนั้น เด็กวัดจะมีหน้าที่จัดเตรียมอาหารของพระภิกษุก่อนที่จะรับประทานอาหารที่เหลือจากพระฉันเสร็จ ("ข้าวก้นบาตร") เด็กวัดเป็นผู้ถือศีล 10 ประการ เด็กชายบางคนถูกส่งมาเป็นเด็กวัดเพื่อประกอบความดี บ้างก็ถูกส่งมาเพราะมีที่พักและอาหารโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เด็กวัดบางคนถูกพระเก็บมาเลี้ยงเนื่องจากไร้พ่อแม่ขาดมิตร ในขณะที่บางส่วนถูกส่งมาเพื่อศึกษาธรรม เด็กวัดบางส่วนบวชเป็นภิกษุ และบ้างก็อาจถือว่าเด็กวัดเป็นขั้นตอนอย่างเป็นทางการสำหรับการบวชเป็นสามเณร ขึ้นอยู่กับอายุและประเพณีในท้องถิ่น
ดูเพิ่ม
- (แบ่งตามจังหวัด)
อ้างอิง
- พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. p. 1104.
- (PDF). Vol. 32. ราชกิจจานุเบกษา. 3 ตุลาคม 2458. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-09. สืบค้นเมื่อ 2014-05-06.
- Sirang Leng. "ศิลปกรรมพระอุโบสถและพระวิหารในเมืองพระตะบอง ราชอาณาจักรกัมพูชาในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 25" (PDF). มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- พระสิทธินิติธาดา. "สถานภาพทางกฎหมายของวัดที่มิได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา และสำนักสงฆ์" (PDF).[]
- "พระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ วัดเขาทำเทียม". กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
- "ความเชื่อสร้างบุญเที่ยว9วัด ไฉนต้องไหว้ให้ครบใน1วัน". เดลินิวส์.
- George Cœdès. "La Plus Ancienne Inscription En Pali Du Cambodge." Translated by Ang Choulean. In Udaya, (Phnom Penh: Fiends of Khmer Culture, 2008), 115-127.
- ภัทราวรรณ บุญจันทร์. "ความสัมพันธ์ของชุมชนกับศิลปกรรมในวัดราษฎร์ริมคลองสามเสน" (PDF). มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- "อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา - วัดพระศรีสรรเพชญ์". finearts.go.th. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมรดกศิลปวัฒนธรรม กรมศิลปากร.
- "วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)". dhammathai.org.
- . I Love Thai Culture กระทรวงวัฒนธรรม. 12 มกราคม 2559. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-27. สืบค้นเมื่อ 2019-10-24.
บรรณานุกรม
- สมคิด จิระทัศนกุล (2544). วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ISBN .
แหล่งข้อมูลอื่น
- วัดไทย มินีโซต้า Thai Buddhist Center of Minnesota U.S.A. 2007-09-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- วัดไทย - ทำเนียบวัดไทย
- เว็บวัด - รวบรวมรายชื่อเว็บวัดในประเทศไทย 2017-12-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir wd xawas hrux xaram khuxkhaeriyksasnsthankhxngsasnaphuththinpraethsithy kmphucha aelalaw epnthixyukhxngphiksu aelaprakxbsasnkickhxngphuththsasnikchn phayinwdmiwihar xuobsth salakarepriyy kuti sungichsahrbprakxbsasnphithitang echn karswdphuththmnt wdodyswnihyniymaebngekhtphayinwdxxkepnsxngswnkhux phuththawas aelasngkhawas odyswnphuththawascaepnthitngkhxngsthupecdiy xuobsth sthanthiprakxbkickrrmthangphraphuththsasna aelaswnsngkhawas caepnswnkudisngkhsahrbphiksusamenrcaphrrsa aelainpccubnaethbthukwdcaephimswnchapnsthanekhaipdwy ephuxpraoychnindankarprakxbphithithangsasnakhxngchumchn echn karchapnkicsph odyinxditswnnicaepnpacha sungxyutidhruxiklwd tamthrrmeniymkhxngaetlathxngthin sungswnihyklumchapnsthaninwdphuththsasnainpraethsithycatngxyubnphunthi epnpachaedimpraephthphayinwdithyin nukhari nurmiyarwi finaelnd tammatra 31 aehngphrarachbyytikhnasngkh ph s 2505 caaenkwdepn 2 xyang khux sanksngkh khux wdthikrathrwngsuksathikarprakastngwd rwmthungidrbphrabrmrachanuyatihsrangkhun aetyngimidrbphrarachthanwisungkhamsima cungichepnthixyuphrasngkhid aetinthangphrawinyyngimsamarthsngkhkrrmid wdthiidrbphrarachthanwisungkhamsima epnwdthieluxnthanacaksanksngkh odyidrbphrarachthanwisungkhamsimaaelw phrxmichthasngkhkrrmtamphrawiny idthukprakar wdthiidrbphrarachthanwisungkhamsima aebngxxkepn phraxaramhlwngaelawdrasdr wdrasdr khuxwdthiidrbphrarachthanthiwisungkhamsima aetmiidekhabychiepnphraxaramhlwng phraxaramhlwng hrux wdhlwng khuxwdthiphraecaaephndinthrngsrang hruxthrngphrakrunaoprdekla ihekhacanwninbychiepnphraxaramhlwng phraxaramhlwngmi 3 chn idaek chnexk mi 3 chnid idaek rachwrmhawihar rachwrwihar aelawrmhawihar chnoth mi 4 chnid idaek rachwrmhawihar rachwrwihar wrmhawihar aelawrwihar chntri mi 3 chnid idaek rachwrwihar wrwihar aelasamy immisrxytxthay xngkhprakxbrupaebbaelaxngkhprakxbsilpkrrmkhxngwdinaetlayukhaelathxngthinmikhwamaetktangknipbang echn xiththiphlthangsilpa khtiniym wsduthxngthin aetthwipcaprakxbdwy 3 swn khux ekhtphuththawas khux khxbekhtthikahndiwsahrbihphrasngkhprakxbphithikrrmthangsasna prakxbdwy ecdiyhruxsthup mnthp xuobsth wihar hxrakhng sala epntn briewnlxmrxbphrawiharaelaphraxuobsthmkmiphunthikwangsahrbichinkicphithitang echn karaehprathksin epntn odythwipphrawiharaelaphraxuobsthswnmakmkmirupthrngepnxakharsiehliymphunphahnhnaipthangthistawnxxkesmx mikhaxthibaywamikhwamekiywkhxngkbphuththprawti txnthiphraphuththecathrngtrsru odyphraxngkhthrngprathbhnphraphktripthangthistawnxxk sxdkhlxngkbphraphuththrupprathaninphrawiharhruxphraxuobsththimkepnpangmarwichyintxnphcymarkxnthiphraxngkhcatrsru lksnakarwangphngxuobsthaelawiharniehmuxnknthngphakhphunthwipkhxngphumiphakhexechiytawnxxkechiyngit ekhtsngkhawas khux phunthisungkahndihepnthiphkxasyaelakrathakicwtrkhxngphrasngkhthiimkhxngkbphithikarthangsasnaodytrng echn kuti hxchn wcckudi salakarepriyy hxitr salathana epntn ekhtthrnisngkh khux ekhtthidinkhxngwdnxkehnuxcakekhtphuththawasaelaekhtsngkhawas epnphunthiwdthiichpraoychninlksnatang echn emru susan orngeriynsaehtukarsrangaelaptisngkhrnwderimmikhrngaerkinpraethsxinediy ephuxepnthipradisthansthupecdiyaelaepnthiphkphrasngkh wdewluwnthuxepnphraxaramhruxwdaehngaerkinphraphuththsasna pccubnxyuinrthphihar praethsxinediy caknnxubaskxubasikaxun inthitang idsrangwdthway echn phraechtawnmhawihar khxngxnathpinthik esrsthibuphpharamkhxngnangwisakha xmphpaliwn khxngnangxmphpali inemuxngsawtthi wdokhsittaram khxngphraecaxuethn emuxngoksmphi epntn sahrbkarsrangwdinpraethsithymimatngaetsmysilpathwarawdi inphuththswrrsthi 12 16 wdaehngaerkinphunthikhxngpraethsithy bangsnnisthanwa wdekhathaethiym cnghwdsuphrrnburi sranghlngcakphrasmmasmphuththecaesdcdbkhnthpriniphanid 300 pi bangkwa wdpunnaramdarngxriysngkh sungrabuiwinkraebuxngcarthikhudidthikhubw cnghwdrachburi pccubnimmirxngrxypraktihehn xyuinbriewn cnghwdrachburi srangkhuninsmy hlngcakthiithysngkhnathutedinthangipyngwdewluwnmhawihar wdaehngaerkinphraphuththsasna thipraethsxinediy inpraethskmphucha phbhlkthankarsrangphrawiharinphuththsasnanikayethrwathtngaetphuththstwrrsthi 19 inrchsmykhxngphraecasrinthrwrmn hlkthancaksilacaruk k 754 idklawthungphrarachbychakhxngphraecasrinthrwrmnthithrngsngihsrangphrawiharaelaphraphuththrupsahrbekharphbuchainpi ph s 1851 wdinrayaaerkmicudprasngkh 2 xyang khux ephuxepnthibrrcuphrabrmthatu eriykwa wdphuththecdiy xikprakarhnungkhux srangephuxepn wdxnusawriy idaeksthupephuxbrrcuxthithatubukhkhlsakhythangphuththsasna txmawtthuprasngkhkarsrangerimkhyayxxkip aetmisaehtusakhy khux khwamechuxineruxngkrrm itrphumi aelayukhphrasrixriyemtitrytamkhasxninkhmphirsasna klawkhux karthabuythiidphlbuymakthisudkhuxkarsrangwd pccykarsrangwdaelaburnaptisngkhrnxun idaek srangephuxaesdngkhwamrungeruxngkhxngxanackr ephuxepnxnusrnsngkhram ephuxsadwkinkarthabuy ephuxepnsunyrwmcitickhxngchumchn ephuxichepnsthansuksa srangephuxkhwamsrththainphiksurupidruphnung hruxxacepnkhaniym xyang khwamniymsrangwdpracarchkal wdpracatrakul srangepnxnusrnaelaxuthisswnkusl epntnwdpracaphrarachwnginpraethsithywdphrasrisrrephchy wdpracaphrarachwngobran xyuthya cnghwdphrankhrsrixyuthya wdphrasrirtnsasdaram wdpracaphrabrmmharachwng krungethphmhankhredkwdedkwd epnedkchayinpraethsithysungxasyxyuinwdaelakhxyrbichphraphiksu odyedkwdcakhxythuxbatrkhxngphraphiksuinchwngkarbinthbatyamecha hlngcaknn edkwdcamihnathicdetriymxaharkhxngphraphiksukxnthicarbprathanxaharthiehluxcakphrachnesrc khawknbatr edkwdepnphuthuxsil 10 prakar edkchaybangkhnthuksngmaepnedkwdephuxprakxbkhwamdi bangkthuksngmaephraamithiphkaelaxaharodyimesiykhaichcay edkwdbangkhnthukphraekbmaeliyngenuxngcakirphxaemkhadmitr inkhnathibangswnthuksngmaephuxsuksathrrm edkwdbangswnbwchepnphiksu aelabangkxacthuxwaedkwdepnkhntxnxyangepnthangkarsahrbkarbwchepnsamenr khunxyukbxayuaelapraephniinthxngthinduephimraychuxwdinpraethsithy aebngtamcnghwd xangxingphcnanukrm chbbrachbnthitysthan ph s 2554 echlimphraekiyrtiphrabathsmedcphraecaxyuhw krungethph rachbnthitysthan 2556 p 1104 PDF Vol 32 rachkiccanuebksa 3 tulakhm 2458 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 11 09 subkhnemux 2014 05 06 Sirang Leng silpkrrmphraxuobsthaelaphrawiharinemuxngphratabxng rachxanackrkmphuchainchwngplayphuththstwrrsthi 24 thungplayphuththstwrrsthi 25 PDF mhawithyalysilpakr phrasiththinitithada sthanphaphthangkdhmaykhxngwdthimiidrbphrarachthanwisungkhamsima aelasanksngkh PDF lingkesiy phraphuththpusykhirisrisuwrrnphumi wdekhathaethiym krathrwngkarthxngethiywaelakila khwamechuxsrangbuyethiyw9wd ichntxngihwihkhrbin1wn edliniws George Cœdes La Plus Ancienne Inscription En Pali Du Cambodge Translated by Ang Choulean In Udaya Phnom Penh Fiends of Khmer Culture 2008 115 127 phthrawrrn buycnthr khwamsmphnthkhxngchumchnkbsilpkrrminwdrasdrrimkhlxngsamesn PDF mhawithyalysilpakr xuthyanprawtisastrphrankhrsrixyuthya wdphrasrisrrephchy finearts go th sunyethkhonolyisarsnethsmrdksilpwthnthrrm krmsilpakr wdphrasrirtnsasdaram wdphraaekw dhammathai org I Love Thai Culture krathrwngwthnthrrm 12 mkrakhm 2559 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 02 27 subkhnemux 2019 10 24 brrnanukrmsmkhid cirathsnkul 2544 wd phuththsasnsthaptykrrmithy krungethph orngphimphmhawithyalythrrmsastr ISBN 9746006819 aehlngkhxmulxunwdithy miniosta Thai Buddhist Center of Minnesota U S A 2007 09 14 thi ewyaebkaemchchin wdithy thaeniybwdithy ewbwd rwbrwmraychuxewbwdinpraethsithy 2017 12 28 thi ewyaebkaemchchin