ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ (อังกฤษ: Five Races Under One Union) เป็นหนึ่งในหลักใหญ่ของการสถาปนาสาธารณรัฐจีน ใน ค.ศ. 1911 ระหว่างการปฏิวัติซินไฮ่ เสาหลักของสิ่งนี้คือการดำรงชีวิตอย่างสันติสุขภายใต้ชาติเดียวที่ประกอบด้วย 5 : ฮั่น, แมนจู, , หุย (รวมชาวอุยกูร์) และทิเบต
ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ | |||||||||||||||||||||||||
ภาพ 3 ผืน ประกอบด้วย (กลาง) ธงกองทัพ (ซ้าย) และ ธงของซุนยัดเซ็น (ขวา) อันเป็นธงชาติของสาธารณรัฐจีนในปัจจุบัน ด้านล่างของภาพ มีข้อความว่า "สหภาพจงเจริญ" (共和萬歲) | |||||||||||||||||||||||||
ภาษาจีน | 五族共和 | ||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ความหมายตามตัวอักษร | ห้ากลุ่มชาติพันธุ์อยู่ร่วมกันอย่างปรองดอง () | ||||||||||||||||||||||||
|
ธงห้าสี (จีน: 五色旗; พินอิน: Wǔsèqí) | |
การใช้ | ธงพลเรือน และ ธงราชการ |
---|---|
สัดส่วนธง | 5:8 |
ประกาศใช้ | 10 มกราคม ค.ศ. 1912 |
ลักษณะ | แถบแนวนอน 5 สี เรียงเป็นสีแดง เหลือง น้ำเงิน ขาว และดำ |
รายละเอียด
หลักคิดความเสมอภาคของชนชาติต่างๆ 5 ชนชาติใหญ่ที่มีบทบาทสำคัญในประวัติศาสตร์จีน กล่าวคือ แถบธงห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ โดย สีแดง หมายถึง ชาวฮั่น สีเหลือง หมายถึง ชาวแมนจู สีน้ำเงิน หมายถึง ชาวมองโกล สีขาว หมายถึง ชาวฮุยหุย (จีนมุสลิม) และสีดำหมายถึงชาวทิเบต
นิยาม "หุย" (回, huí) ในบริบทนี้ส่วนใหญ่อ้างถึงชาวมุสลิมโดยรวม และศัพท์นี้ยังสื่อถึงชาวอุยกูร์ในจีนตะวันตกในช่วงระยะเวลาหนึ่ง (ก่อนการปฏิวัติซินไฮ่) เนื่องจากคำว่า "ดินแดนมุสลิม" (回疆; Huíjiāng, หุยเจียง) เป็นชื่อเดิมของซินเจียงในยุคราชวงศ์ชิง ภายหลังความหมายของ "ชาวหุย" เริ่มเปลี่ยนไปเป็นความหมายในปัจจุบันคือ กลุ่มที่แยกจากชาวจีนฮั่นด้วยการเป็นมุสลิมและมีบรรพบุรุษจากต่างชาติ (ประมาณ ค.ศ. 1911–49 ในสาธารณรัฐจีน)
ลำดับสี | แดง | เหลือง | น้ำเงิน | ขาว | ดำ |
---|---|---|---|---|---|
แพนโทน | 2347 C | 7548 C | 307 C | White Color | Black Color |
CMYK | 0-88-92-13 | 0-22-100-0 | 99-37-0-38 | 0-0-0-0 | 0-0-0-100 |
HEX | #DF1B12 | #FFC600 | #02639D | #FFFFFF | #000000 |
RGB | 223-27-18 | 255-198-0 | 2-99-157 | 255-255-255 | 0-0-0 |
ประวัติ
ภายหลังจากเหตุการณ์ ราชวงศ์ชิงได้ล่มสลาย และถ่ายโอนอำนาจสู่รัฐบาลเป่ย์หยาง ระหว่างนั้นได้มีการประกวดออกแบบธงซึ่งจัดโดยสมาพันธ์ความร่วมมือเพื่อการปฏิวัติประชาธิปไตย กองทหารในหวูชางจึงเลือกธงดาว 9 แฉกกับ ซุน ยัตเซ็น จึงได้เลือกธง ออกแบบโดย .
เป้าหมายหลักของการลุกฮือเพื่อต่อต้านการปกครองของชนกลุ่มน้อยแมนจู, ซุน ยัตเซ็น และ ซึ่งมีความคิดในเชิงต่อต้านการแบ่งเชื้อชาติ จึงเลือกธงที่ใช้สีซึ่งมีความแตกต่างกัน ในความคิดดังกล่าวไม่รวมถึงชาวจีนฮั่นสืบเนื่องจากชาวจีนฮั่นซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ต่อชนกลุ่มน้อยแมนจูที่เป็นชนชั้นปกครอง.
ธง"ห้าเชื้อชาติใต้หนึ่งสหภาพ" ใช้แค่ช่วงเวลาสั้นๆภายหลังจากการกรีฑาทัพขึ้นเหนือ
ธงดังกล่าวได้มีการใช้ในรูปแบบต่างๆ เช่น จักรวรรดิจีน (หยวน ซื่อไข่) และ แมนจูกัว ซึ่งเป็นรัฐหุ่นเชิดของญี่ปุ่น (ธงชาติแมนจูกัว). ในแมนจูกัว, ตามนัยความหมาย (五族協和) ได้สื่อออกมา, แต่นิยามในเรื่องชนชาติได้เปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ชาวญี่ปุ่น (สีแดง), ชาวจีนฮั่น (สีน้ำเงิน), ชาวมองโกล (สีขาว), ชาวเกาหลี (สีดำ) และชาวแมนจู (สีเหลือง)
ภาพธง
- รัฐบาลเป่ย์หยาง:
- ธงชาติ
- ธงราชการ:
- ธงเจ้าพนักงานศุลกากร
- ธงเจ้าพนักงานไปรษณีย์
- ธงทหาร:
- ธงผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- ธงตำรวจเป่ย์หยาง
- ตราราชการ
- เป้าหน้าวัวกองทัพอากาศ
- (ค.ศ. 1938–1940):
- ธงชาติ
- ธงชาติ (แบบร่าง)
- ธงชาติ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Murray A. Rubinstein (1994). Murray A. Rubinstein (บ.ก.). The Other Taiwan: 1945 to the present (illustrated ed.). M.E. Sharpe. p. 416. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2010-06-28.
- James A. Millward (2007). Eurasian crossroads: a history of Xinjiang (illustrated ed.). Columbia University Press. p. 208. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2010-06-28.
- Paul Hibbert Clyde, Burton F. Beers (1971). The Far East: a history of the Western impact and the Eastern response (1830–1970) (5, illustrated ed.). Prentice-Hall. p. 409. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2010-06-28.
{{}}
: CS1 maint: uses authors parameter () - Making of America Project (1949). Harper's magazine, Volume 198. Harper's Magazine Co. p. 104. สืบค้นเมื่อ 2011-06-13.
- Young, Louise (July 2017). "When fascism met empire in Japanese-occupied Manchuria". Journal of Global History. . 12 (2): 274–296. doi:10.1017/S1740022817000080. S2CID 164753522 – โดยทาง CambridgeCore.
- Fitzgerald, John. [1998] (1998). Awakening China: Politics, Culture, and Class in the Nationalist Revolution. Stanford University Press publishing. ISBN , ISBN . pg 180.
- "China's Islamic Heritage". 5 March 2006.
The Nationalist government had recognised all Muslims as one of "the five peoples"—alongside the Manchus, Mongols, Tibetans and Han Chinese—that constituted the Republic of China
{{}}
: CS1 maint: url-status () - Suisheng Zhao (2004). A nation-state by construction: dynamics of modern Chinese nationalism (illustrated ed.). Stanford University Press. p. 171. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2011-06-12.
- Hsiao-ting Lin. [2010] (2010). Modern China's ethnic frontiers: a journey to the west. Taylor & Francis publishing. , . pg 7.
- Chow, Peter C. Y. [2008] (2008). The "one China" dilemma. Macmillan publishing. , . pg 31.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
haechuxchatiithnungshphaph xngkvs Five Races Under One Union epnhnunginhlkihykhxngkarsthapnasatharnrthcin in kh s 1911 rahwangkarptiwtisinih esahlkkhxngsingnikhuxkardarngchiwitxyangsntisukhphayitchatiediywthiprakxbdwy 5 hn aemncu huy rwmchawxuykur aelathiebthaechuxchatiithnungshphaphphaph 3 phun prakxbdwy klang thngkxngthph say aela thngkhxngsunydesn khwa xnepnthngchatikhxngsatharnrthcininpccubn danlangkhxngphaph mikhxkhwamwa shphaphcngecriy 共和萬歲 phasacin五族共和khwamhmaytamtwxksrhaklumchatiphnthuxyurwmknxyangprxngdxng karthxdesiyngphasacinklangmatrthanhny hwiphinxinwǔzu gōngheewd iclswǔ tsu kung hexksrormnaebbeylwǔdzu gungheIPA u tsu kʊ ŋxɤ phasakwangtungmatrthanxksrormnaebbeylngh juhk guhng wohIPA ŋ tsʊ k kʊ ŋ wɔ ː y hwidephngng5 zuk6 gung6 wo4phasahminitphasahkekiyngō cho k kiōng hothngchatisatharnrthcinthnghasi cin 五色旗 phinxin Wǔseqi karichthngphleruxn aela thngrachkarsdswnthng5 8prakasich10 mkrakhm kh s 1912lksnaaethbaenwnxn 5 si eriyngepnsiaedng ehluxng naengin khaw aeladaraylaexiydhlkkhidkhwamesmxphakhkhxngchnchatitang 5 chnchatiihythimibthbathsakhyinprawtisastrcin klawkhux aethbthnghaechuxchatiithnungshphaph ody siaedng hmaythung chawhn siehluxng hmaythung chawaemncu sinaengin hmaythung chawmxngokl sikhaw hmaythung chawhuyhuy cinmuslim aelasidahmaythungchawthiebt niyam huy 回 hui inbribthniswnihyxangthungchawmuslimodyrwm aelasphthniyngsuxthungchawxuykurincintawntkinchwngrayaewlahnung kxnkarptiwtisinih enuxngcakkhawa dinaednmuslim 回疆 Huijiang huyeciyng epnchuxedimkhxngsineciynginyukhrachwngsching phayhlngkhwamhmaykhxng chawhuy erimepliynipepnkhwamhmayinpccubnkhux klumthiaeykcakchawcinhndwykarepnmuslimaelamibrrphburuscaktangchati praman kh s 1911 49 insatharnrthcin ladbsi aedng ehluxng naengin khaw daaephnothn 2347 C 7548 C 307 C White Color Black ColorCMYK 0 88 92 13 0 22 100 0 99 37 0 38 0 0 0 0 0 0 0 100HEX DF1B12 FFC600 02639D FFFFFF 000000RGB 223 27 18 255 198 0 2 99 157 255 255 255 0 0 0prawtiphayhlngcakehtukarn rachwngschingidlmslay aelathayoxnxanacsurthbalepyhyang rahwangnnidmikarprakwdxxkaebbthngsungcdodysmaphnthkhwamrwmmuxephuxkarptiwtiprachathipity kxngthharinhwuchangcungeluxkthngdaw 9 aechkkb sun ytesn cungideluxkthng xxkaebbody epahmayhlkkhxngkarlukhuxephuxtxtankarpkkhrxngkhxngchnklumnxyaemncu sun ytesn aela sungmikhwamkhidinechingtxtankaraebngechuxchati cungeluxkthngthiichsisungmikhwamaetktangkn inkhwamkhiddngklawimrwmthungchawcinhnsubenuxngcakchawcinhnsungepnprachakrswnihytxchnklumnxyaemncuthiepnchnchnpkkhrxng thng haechuxchatiithnungshphaph ichaekhchwngewlasnphayhlngcakkarkrithathphkhunehnux thngdngklawidmikarichinrupaebbtang echn ckrwrrdicin hywn suxikh aela aemncukw sungepnrthhunechidkhxngyipun thngchatiaemncukw inaemncukw tamnykhwamhmay 五族協和 idsuxxxkma aetniyamineruxngchnchatiidepliynaeplng klawkhux chawyipun siaedng chawcinhn sinaengin chawmxngokl sikhaw chawekahli sida aelachawaemncu siehluxng phaphthngrthbalepyhyang thngchatithngrachkar thngecaphnkngansulkakr thngecaphnknganiprsniythngthhar thngphubychakarthharsungsud thngtarwcepyhyang trarachkar epahnawwkxngthphxakas kh s 1938 1940 thngchatickrwrrdicinkhxnghywn suxikh thngchati aebbrang thngchatiduephimthngsasnaphuthth haechuxchatiithnungshphaph aemncukw xangxingMurray A Rubinstein 1994 Murray A Rubinstein b k The Other Taiwan 1945 to the present illustrated ed M E Sharpe p 416 ISBN 1 56324 193 5 subkhnemux 2010 06 28 James A Millward 2007 Eurasian crossroads a history of Xinjiang illustrated ed Columbia University Press p 208 ISBN 978 0 231 13924 3 subkhnemux 2010 06 28 Paul Hibbert Clyde Burton F Beers 1971 The Far East a history of the Western impact and the Eastern response 1830 1970 5 illustrated ed Prentice Hall p 409 ISBN 9780133029765 subkhnemux 2010 06 28 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint uses authors parameter Making of America Project 1949 Harper s magazine Volume 198 Harper s Magazine Co p 104 subkhnemux 2011 06 13 Young Louise July 2017 When fascism met empire in Japanese occupied Manchuria Journal of Global History 12 2 274 296 doi 10 1017 S1740022817000080 S2CID 164753522 odythang CambridgeCore Fitzgerald John 1998 1998 Awakening China Politics Culture and Class in the Nationalist Revolution Stanford University Press publishing ISBN 0 8047 3337 6 ISBN 978 0 8047 3337 3 pg 180 China s Islamic Heritage 5 March 2006 The Nationalist government had recognised all Muslims as one of the five peoples alongside the Manchus Mongols Tibetans and Han Chinese that constituted the Republic of China a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Suisheng Zhao 2004 A nation state by construction dynamics of modern Chinese nationalism illustrated ed Stanford University Press p 171 ISBN 0 8047 5001 7 subkhnemux 2011 06 12 Hsiao ting Lin 2010 2010 Modern China s ethnic frontiers a journey to the west Taylor amp Francis publishing ISBN 0 415 58264 4 ISBN 978 0 415 58264 3 pg 7 Chow Peter C Y 2008 2008 The one China dilemma Macmillan publishing ISBN 1 4039 8394 1 ISBN 978 1 4039 8394 7 pg 31