หม่อมบุษบา (หรือ บุบผา) มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้ามวน หรือ กระจาด เป็นพระธิดาในกรมหมื่นจิตรสุนทร และเป็นพระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง หม่อมบุษบาได้ถวายตัวเข้าเป็นบาทบริจาริกาในสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
หม่อมบุษบา | |
---|---|
หม่อมเจ้า | |
พระสวามี | สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี |
ราชวงศ์ | บ้านพลูหลวง (ประสูติ) ธนบุรี (เสกสมรส) |
พระบิดา | กรมหมื่นจิตรสุนทร |
พระประวัติ
ชีวิตตอนต้น
หม่อมบุษบา หรือบุบผา ปรากฏอยู่ใน คำให้การชาวกรุงเก่า ระบุว่ามีพระยศและพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้ามวน เป็นพระธิดาในกรมหมื่นจิตรสุนทร (พระนามเดิม พระองค์เจ้ามังคุด) กับหม่อมห้ามไม่ปรากฏนาม ส่วน จดหมายความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี ระบุพระนามว่า หม่อมเจ้ากระจาด และคาดว่าน่าจะเป็นบุคคลเดียวกัน จากความขัดแย้งภายในราชสำนักช่วงปลายกรุงศรีอยุธยา ที่มีเจ้าทรงกรมสามพระองค์ (เรียกว่า เจ้าสามกรม) ได้แก่ กรมหมื่นจิตรสุนทร กรมหมื่นสุนทรเทพ และกรมหมื่นเสพภักดี พยายามก่อการรัฐประหารแย่งชิงราชสมบัติของสมเด็จพระเจ้าอุทุมพร โดยมีกรมหมื่นเทพพิพิธต่อต้านการรัฐประหารดังกล่าว และทำให้เจ้าสามกรมถูกประหารทั้งหมด
ครั้นเมื่อถึงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง หม่อมบุษบาไม่ได้ถูกกวาดไปฝั่งเมืองพม่าด้วย หากแต่ถูกกักขังไว้ที่ค่ายโพธิ์สามต้น ร่วมกับเจ้านายฝ่ายในพระองค์อื่นที่ยังตกค้างอยู่ ต่อมาสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ยกทัพขึ้นไปตีค่ายโพธิ์สามต้นคืนจากสุกี้พระนายกอง จึงทรงรับอุปการะเจ้านายฝ่ายในจากกรุงเก่ามาชุบเลี้ยง ดังปรากฏใน พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ระบุไว้ความว่า
"...ในเขตแดนแว่นแคว้นสยามประเทศ เหตุว่าหาเจ้าแผ่นดินจะปกครองบมิได้ เหมือนดุจสัตถันดรกัล์ปและทุพภิกขันดรกัล์ป และพระราชวงศานุวงศ์ ซึ่งเหลืออยู่พม่ามิได้เอาไปนั้น ตกอยู่ ณ ค่ายโพธิ์สามต้นก็มีบ้าง ที่หนีไปเมืองอื่นนั้นก็มีบ้าง และเจ้าฟ้าสุริยา 1 เจ้าฟ้าพินทวดี 1 เจ้าฟ้าจันทวดี 1 พระองค์เจ้าฟักทอง 1 ทั้ง 4 พระองค์นี้ เป็นราชบุตรีพระพุทธเจ้าหลวงในพระบรมโกศ และเจ้ามิตรบุตรีกรมพระราชวัง 1 หม่อมเจ้ากระจาดบุตรีกรมหมื่นจิตรสุนทร 1 หม่อมเจ้ามณีบุตรีกรมหมื่นเสพภักดี 1 หม่อมเจ้าฉิมบุตรีเจ้าฟ้าจีด 1 เจ้าทั้งนี้ตกอยู่กับพระนายกอง ณ ค่ายโพธิ์สามต้น อนึ่งพระองค์เจ้าทับทิมบุตรีสมเด็จพระอัยกานั้น พวกข้าไทพาหนีออกไป ณ เมืองจันทบูร เจ้าตากก็สงเคราะห์รับเลี้ยงดูไว้..."
ในราชสำนักธนบุรี
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเองก็ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะชุบเลี้ยงเชื้อพระวงศ์จากกรุงเก่ามาเป็นบาทบริจาริกา ด้วยมุ่งหวังที่จะผสมสายเลือดเจ้าเก่าเข้ากับสายเลือดของพระองค์ เพราะทรงรับเจ้านายฝ่ายในจากราชสำนักอยุธยามาชุบเลี้ยงเป็นบาทบริจาริกาจำนวนสี่พระองค์ ได้แก่ เจ้ามิตร เจ้ากระจาด เจ้าอุบล และเจ้าฉิม โดยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้พระราชทานพระนามใหม่แก่พระองค์ว่า "บุษบา" ดังปรากฏใน จดหมายความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี ระบุความไว้ตอนหนึ่งว่า
"...บุตรกรมหมื่นจิตรสุนทร หม่อมเจ้ากระจาด ให้ชื่อว่าบุษบา บุตรกรมพระราชวัง หม่อมเจ้ามิต ประทานชื่อประทุม บุตรกรมหมื่นเทพพิพิธ หม่อมมงคล หม่อมพควม พี่หม่อมอุบล บุตรเจ้าฟ้าจีด เลี้ยงเสมอกันทั้ง ๔ คน แต่โปรดหม่อมฉิม หม่อมอุบล ประทมอยู่คนละข้าง..."
อย่างไรก็ตาม เจ้านายเหล่านี้ล้วนขาดที่พึ่งในช่วงผลัดเปลี่ยนราชวงศ์ การช่วงชิงอำนาจราชสำนักฝ่ายในจึงน่าจะเป็นทางออกที่ดีที่สุดสำหรับเจ้าผู้หญิง หม่อมบุษบาถูกรายล้อมไปด้วยเจ้าฝ่ายในที่เป็นศัตรูทางการเมืองของพระบิดา โดยเฉพาะหม่อมอุบล ซึ่งเป็นพระธิดาของกรมหมื่นเทพพิพิธ ผู้เป็นสาเหตุที่ทำให้กรมหมื่นจิตรสุนทรต้องถูกประหาร แต่หลังการประหารชีวิตหม่อมฉิมและหม่อมอุบลในคดีฝรั่งจับหนู สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีไม่สบายพระทัย และตรัสว่าจะกระทำอัตวินิบาตกรรมตามหม่อมอุบล ร้อนไปถึง และเตี่ยหม่อมทองจันทน์นิมนต์พระเข้ามาชุมนุมสงฆ์ถวายพระพรสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเพื่อขอชีวิต เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกลับมามีสติสมประดีแล้วจึงพระราชทานเงินแก่ผู้ตามเสด็จ โดยหม่อมบุษบาได้ปรากฏในเอกสารอีกครั้งดังเนื้อความใน จดหมายความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี ความว่า
"...สำเร็จโทษแล้วไม่สบายพระไทย คิดถึงหม่อมอุบล ว่ามีครรภ์อยู่ 2 เดือน ตรัสว่าจะตายตามหม่อมอุบลว่าใครจะตายกับกูบ้าง เสม เมียกรมหมื่นเทพพิพิธ ว่าจะตามเสด็จ หม่อมทองจันทน์ หม่อมเกษ หม่อมลา สั่งบุษบาตามเสด็จด้วย ประทานเงินคนละ 1 ชั่ง ให้บังสุกุลตัว ทองคนละ 1 บาท ให้ทำพระแล้ว ให้นั่งในแพหยวก นิมนต์พระเข้ามาบังสุกุลแล้วจะประหารชีวิตรคนที่ยอมตามเสด็จนั้นก่อน แล้วท่านจะแทงพระองค์ท่านตามไปอยู่กันเจ้าข้า พระสตินั้นฟั่นเฟือน เจ้าคุณใหญ่ทรงกันดาล กับเตี่ยหม่อมทองจันทน์ นิมนต์พระเข้ามามาก ชุมนุมสงฆ์ถวายพระพรขออย่างให้ทำหาควรไม่ ว่าที่จะได้พบกันนั้นหามิได้แล้ว ถวายพระพรขอชีวิตรไว้ ได้พระสติคืนสมประดีประทานเงินเติมให้แก่ผู้รับตามเสด็จนั้น..."
พงศาวลี
พงศาวลีของหม่อมบุษบา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
เชิงอรรถ
อ้างอิง
- พระราชวิจารณ์ ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องจดหมายความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพธิ์) ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เป็นเวลา 53 ปี, หน้า 59-60
- "คำให้การชาวกรุงเก่า". พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา, หน้า 628
- ปรามินทร์ เครือทอง (7 มกราคม 2563). ""ท้องกับเจ๊ก" การเมืองราชสำนักฝ่ายใน เรื่องซุบซิบเจ้าหญิงอยุธยาในพระเจ้าตากสินฯ". ศิลปวัฒนธรรม. สืบค้นเมื่อ 28 ตุลาคม 2566.
{{}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
((help)) - สตรีสยามในอดีต, หน้า 82
บรรณานุกรม
- จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. พระราชวิจารณ์ ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เรื่องจดหมายความทรงจำของพระเจ้าไปยิกาเธอ กรมหลวงนรินทรเทวี (เจ้าครอกวัดโพธิ์) ตั้งแต่ จ.ศ. 1129 ถึง 1182 เป็นเวลา 53 ปี. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2552. 576 หน้า. ISBN
- วิบูล วิจิตรวาทการ, น.พ.. สตรีสยามในอดีต. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์บุ๊คส์, 2542. 362 หน้า. ISBN
- พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และเอกสารอื่น. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2559. 800 หน้า. ISBN
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hmxmbusba hrux bubpha miphranamedimwa hmxmecamwn hrux kracad epnphrathidainkrmhmuncitrsunthr aelaepnphrarachnddainsmedcphraecaxyuhwbrmoks hlngkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng hmxmbusbaidthwaytwekhaepnbathbricarikainsmedcphraecakrungthnburihmxmbusbahmxmecaphraswamismedcphraecakrungthnburirachwngsbanphluhlwng prasuti thnburi esksmrs phrabidakrmhmuncitrsunthrphraprawtichiwittxntn hmxmbusba hruxbubpha praktxyuin khaihkarchawkrungeka rabuwamiphraysaelaphranamedimwa hmxmecamwn epnphrathidainkrmhmuncitrsunthr phranamedim phraxngkhecamngkhud kbhmxmhamimpraktnam swn cdhmaykhwamthrngcakhxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi rabuphranamwa hmxmecakracad aelakhadwanacaepnbukhkhlediywkn cakkhwamkhdaeyngphayinrachsankchwngplaykrungsrixyuthya thimiecathrngkrmsamphraxngkh eriykwa ecasamkrm idaek krmhmuncitrsunthr krmhmunsunthrethph aelakrmhmunesphphkdi phyayamkxkarrthpraharaeyngchingrachsmbtikhxngsmedcphraecaxuthumphr odymikrmhmunethphphiphithtxtankarrthprahardngklaw aelathaihecasamkrmthukpraharthnghmd khrnemuxthungkaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng hmxmbusbaimidthukkwadipfngemuxngphmadwy hakaetthukkkkhngiwthikhayophthisamtn rwmkbecanayfayinphraxngkhxunthiyngtkkhangxyu txmasmedcphraecakrungthnburi ykthphkhuniptikhayophthisamtnkhuncaksukiphranaykxng cungthrngrbxupkaraecanayfayincakkrungekamachubeliyng dngpraktin phrarachphngsawdarchbbphrarachhtthelkha rabuiwkhwamwa inekhtaednaewnaekhwnsyampraeths ehtuwahaecaaephndincapkkhrxngbmiid ehmuxnducstthndrklpaelathuphphikkhndrklp aelaphrarachwngsanuwngs sungehluxxyuphmamiidexaipnn tkxyu n khayophthisamtnkmibang thihniipemuxngxunnnkmibang aelaecafasuriya 1 ecafaphinthwdi 1 ecafacnthwdi 1 phraxngkhecafkthxng 1 thng 4 phraxngkhni epnrachbutriphraphuththecahlwnginphrabrmoks aelaecamitrbutrikrmphrarachwng 1 hmxmecakracadbutrikrmhmuncitrsunthr 1 hmxmecamnibutrikrmhmunesphphkdi 1 hmxmecachimbutriecafacid 1 ecathngnitkxyukbphranaykxng n khayophthisamtn xnungphraxngkhecathbthimbutrismedcphraxykann phwkkhaithphahnixxkip n emuxngcnthbur ecatakksngekhraahrbeliyngduiw inrachsankthnburi smedcphraecakrungthnburiexngkthrngmiphrarachprasngkhthicachubeliyngechuxphrawngscakkrungekamaepnbathbricarika dwymunghwngthicaphsmsayeluxdecaekaekhakbsayeluxdkhxngphraxngkh ephraathrngrbecanayfayincakrachsankxyuthyamachubeliyngepnbathbricarikacanwnsiphraxngkh idaek ecamitr ecakracad ecaxubl aelaecachim odysmedcphraecakrungthnburiidphrarachthanphranamihmaekphraxngkhwa busba dngpraktin cdhmaykhwamthrngcakhxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi rabukhwamiwtxnhnungwa butrkrmhmuncitrsunthr hmxmecakracad ihchuxwabusba butrkrmphrarachwng hmxmecamit prathanchuxprathum butrkrmhmunethphphiphith hmxmmngkhl hmxmphkhwm phihmxmxubl butrecafacid eliyngesmxknthng 4 khn aetoprdhmxmchim hmxmxubl prathmxyukhnlakhang xyangirktam ecanayehlanilwnkhadthiphunginchwngphldepliynrachwngs karchwngchingxanacrachsankfayincungnacaepnthangxxkthidithisudsahrbecaphuhying hmxmbusbathukraylxmipdwyecafayinthiepnstruthangkaremuxngkhxngphrabida odyechphaahmxmxubl sungepnphrathidakhxngkrmhmunethphphiphith phuepnsaehtuthithaihkrmhmuncitrsunthrtxngthukprahar aethlngkarpraharchiwithmxmchimaelahmxmxublinkhdifrngcbhnu smedcphraecakrungthnburiimsbayphrathy aelatrswacakrathaxtwinibatkrrmtamhmxmxubl rxnipthung aelaetiyhmxmthxngcnthnnimntphraekhamachumnumsngkhthwayphraphrsmedcphraecakrungthnburiephuxkhxchiwit emuxsmedcphraecakrungthnburiklbmamistismpradiaelwcungphrarachthanenginaekphutamesdc odyhmxmbusbaidpraktinexksarxikkhrngdngenuxkhwamin cdhmaykhwamthrngcakhxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi khwamwa saercothsaelwimsbayphraithy khidthunghmxmxubl wamikhrrphxyu 2 eduxn trswacataytamhmxmxublwaikhrcataykbkubang esm emiykrmhmunethphphiphith wacatamesdc hmxmthxngcnthn hmxmeks hmxmla sngbusbatamesdcdwy prathanenginkhnla 1 chng ihbngsukultw thxngkhnla 1 bath ihthaphraaelw ihnnginaephhywk nimntphraekhamabngsukulaelwcapraharchiwitrkhnthiyxmtamesdcnnkxn aelwthancaaethngphraxngkhthantamipxyuknecakha phrastinnfnefuxn ecakhunihythrngkndal kbetiyhmxmthxngcnthn nimntphraekhamamak chumnumsngkhthwayphraphrkhxxyangihthahakhwrim wathicaidphbknnnhamiidaelw thwayphraphrkhxchiwitriw idphrastikhunsmpradiprathanenginetimihaekphurbtamesdcnn phngsawliphngsawlikhxnghmxmbusba 16 smedcphraephthracha 8 smedcphraecasurieynthrathibdi 17 nangkusawdi 4 smedcphraecaxyuhwbrmoks 9 smedcphraphnwsa 2 krmhmuncitrsunthr 1 hmxmbusba echingxrrthxangxing phrarachwicarn in phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw eruxngcdhmaykhwamthrngcakhxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdophthi tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi hna 59 60 khaihkarchawkrungeka phrarachphngsawdarkrungsrixyuthya hna 628 praminthr ekhruxthxng 7 mkrakhm 2563 thxngkbeck karemuxngrachsankfayin eruxngsubsibecahyingxyuthyainphraecataksin silpwthnthrrm subkhnemux 28 tulakhm 2566 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a trwcsxbkhawnthiin accessdate help strisyaminxdit hna 82 brrnanukrm culcxmeklaecaxyuhw phrabathsmedcphra phrarachwicarn in phrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw eruxngcdhmaykhwamthrngcakhxngphraecaipyikaethx krmhlwngnrinthrethwi ecakhrxkwdophthi tngaet c s 1129 thung 1182 epnewla 53 pi krungethph sripyya 2552 576 hna ISBN 978 611 7146 02 2 wibul wicitrwathkar n ph strisyaminxdit krungethph srangsrrkhbukhs 2542 362 hna ISBN 974 7377 29 2 phrarachphngsawdarkrungsrixyuthya chbbphncnthnumas ecim aelaexksarxun nnthburi sripyya 2559 800 hna ISBN 978 616 7146 08 9