นายทองสุก หรือมักรู้จักในชื่อ สุกี้พระนายกอง หรือ สุกี้ เป็นชาวมอญเก่า
ประวัติ
การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง
ระหว่างสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง นายทองสุก เดิมเป็นมอญเก่า ได้เข้ากับฝ่ายพม่า ช่วยทำการรบอย่างแข็งขัน จนเนเมียวสีหบดีตั้งให้เป็นตำแหน่งสุกี้หรือสูกี้ สันนิษฐานว่ามาจากภาษาพม่า สูกรี (Thugyi သူကြီး) แปลว่า นายกอง ได้อาสาตีค่ายบางระจันจนสำเร็จ เมื่อพม่าตีได้กรุงศรีอยุธยาแล้วจะยกทัพกลับ เนเมียวสีหบดีแต่งตั้งให้นายทองสุกเป็นนายทัพคุมพลพม่าและมอญตั้งค่ายอยู่ที่ค่ายโพธิ์สามต้น คอยสืบจับผู้คนและเก็บทรัพย์สินสิ่งของต่างๆ ส่งตามไปภายหลัง
ชุมนุมสมัยธนบุรี
ในพระราชพงศาวดารและพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวตรงกันถึงการปฏิบัติต่อพระเจ้าเอกทัศอย่างพระมหากษัตริย์ ถึงขนาดทูลสัญญาว่าจะ "สถาปนากลับขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์สยาม" ซึ่ง นิธิ เอียวศรีวงศ์ อธิบายว่า นายทองสุกหวังตั้งตัวเป็นใหญ่ในอาณาจักรอยุธยา โดยอาศัยอดีตพระมหากษัตริย์เป็นเครื่องมือทางการเมือง จึงถือได้ว่า นายทองสุกมีความคิดรื้อฟื้นอาณาจักรอยุธยา
หลังการรบที่ค่ายโพธิ์สามต้น
พระราชพงศาวดาร ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) เป็นพระราชพงศาวดารฉบับเก่าแก่ที่สุดที่กล่าวถึงเหตุการณ์นี้ และจดหมายเหตุโหร ฉบับพระอมราภิรักขิต (เกิด) กล่าวตรงกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีเข้าตีค่ายโพธิ์สามต้นฟากตะวันออก และเตรียมที่จะเข้าตีค่ายโพธิ์สามต้นฟากตะวันตก นายทองสุกให้พระยาธิเบศร์บริรักษ์ผู้เป็นที่เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช มาขอยอมสวามิภักดิ์ เชิญเสด็จพระราชดำเนินไปยังจวน พระเจ้ากรุงธนบุรีพระราชทานทรัพย์เสื้อผ้าต่างๆ แก่นายทองสุก เมื่อถวายพระเพลิงพระบรมศพสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อมรินทร์แล้ว จึงตั้งให้นายทองสุกเป็นเสนาบดีผู้รักษากรุงเก่าต่อไป
ภายหลัง พระยาวรวงศาธิราชแห่งชุมนุมเจ้าพิมาย ให้ลงมารับนายทองสุกกับมองย่าขึ้นไปเมืองพิมาย สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีจึงขึ้นไปตีชุมนุมเจ้าพิมาย หลังจากนั้นก็ไม่ปรากฏกล่าวถึงนายทองสุกอีกเลย
สังคีติยวงศ์ พงศาวดารเรื่องสังคายนาพระธรรมวินัย ชำระสมัยโดยสมเด็จพระวันรัตน์ วัดพระเชตุพน กล่าวว่า นายทองสุกหนีไป แต่ภายหลังถูกจับได้ โดนฆ่าพร้อมด้วยญาติมิตร
พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน และพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ซึ่งชำระในสมัยหลัง กล่าวว่า นายทองสุกสู้จนตัวตายภายในค่ายโพธิ์สามต้น แต่มองย่าพาพรรคพวกหนีไปหาพระยาวรวงศาธิราช ชุมนุมเจ้าพิมาย
อ้างอิง
- https://vajirayana.org/พระราชวิจารณ์-จดหมายเหตุความทรงจำ/จดหมายเหตุ-ตั้งแต่กรุงเก่าเสียแล้ว-เจ้าตากมาตั้งเมืองธนบูรี
- นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 138
- นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2540). การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. สำนักพิมพ์มติชน. หน้า 140-141
- พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม), จดหมายรายวันทัพ, อภินิหารบรรพบุรุษ และเอกสารอื่น. กรุงเทพฯ : ศรีปัญญา, 2551. .
- ศานติ ภักดีคำ. พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ฉบับตัวเขียน. พระราชพงศาวดาร ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ วัดพระเชตุพน ตรวจสอบชำระจากเอกสารตัวเขียน. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง, 2558. 558 หน้า. หน้า (35)-(50). [จัดพิมพ์โดยเสด็จพระราชกุศลในการพระราชทานเพลิงศพพระธรรมปัญญาบดี (ถาวร ติสฺสานุกโร ป.ธ.๔)].
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
naythxngsuk hruxmkruckinchux sukiphranaykxng hrux suki epnchawmxyekaprawtikaresiykrungsrixyuthyakhrngthisxng rahwangsngkhramkhrawesiykrungsrixyuthyakhrngthisxng naythxngsuk edimepnmxyeka idekhakbfayphma chwythakarrbxyangaekhngkhn cnenemiywsihbditngihepntaaehnngsukihruxsuki snnisthanwamacakphasaphma sukri Thugyi သ က aeplwa naykxng idxasatikhaybangracncnsaerc emuxphmatiidkrungsrixyuthyaaelwcaykthphklb enemiywsihbdiaetngtngihnaythxngsukepnnaythphkhumphlphmaaelamxytngkhayxyuthikhayophthisamtn khxysubcbphukhnaelaekbthrphysinsingkhxngtang sngtamipphayhlng chumnumsmythnburi inphrarachphngsawdaraelaphrabathsmedcphracxmeklaecaxyuhw klawtrngknthungkarptibtitxphraecaexkthsxyangphramhakstriy thungkhnadthulsyyawaca sthapnaklbkhunepnphramhakstriysyam sung nithi exiywsriwngs xthibaywa naythxngsukhwngtngtwepnihyinxanackrxyuthya odyxasyxditphramhakstriyepnekhruxngmuxthangkaremuxng cungthuxidwa naythxngsukmikhwamkhidruxfunxanackrxyuthya hlngkarrbthikhayophthisamtn phrarachphngsawdar chbbphncnthnumas ecim epnphrarachphngsawdarchbbekaaekthisudthiklawthungehtukarnni aelacdhmayehtuohr chbbphraxmraphirkkhit ekid klawtrngknwa emuxsmedcphraecakrungthnburiekhatikhayophthisamtnfaktawnxxk aelaetriymthicaekhatikhayophthisamtnfaktawntk naythxngsukihphrayathiebsrbrirksphuepnthiecaphrayasrithrrmathirach makhxyxmswamiphkdi echiyesdcphrarachdaeninipyngcwn phraecakrungthnburiphrarachthanthrphyesuxphatang aeknaythxngsuk emuxthwayphraephlingphrabrmsphsmedcphrathinngsuriyasnxmrinthraelw cungtngihnaythxngsukepnesnabdiphurksakrungekatxip phayhlng phrayawrwngsathirachaehngchumnumecaphimay ihlngmarbnaythxngsukkbmxngyakhunipemuxngphimay smedcphraecakrungthnburicungkhuniptichumnumecaphimay hlngcaknnkimpraktklawthungnaythxngsukxikely sngkhitiywngs phngsawdareruxngsngkhaynaphrathrrmwiny charasmyodysmedcphrawnrtn wdphraechtuphn klawwa naythxngsukhniip aetphayhlngthukcbid odnkhaphrxmdwyyatimitr phrarachphngsawdar chbbsmedcphraphnrtn wdphraechtuphn chbbtwekhiyn aelaphrarachphngsawdar chbbphrarachhtthelkha sungcharainsmyhlng klawwa naythxngsuksucntwtayphayinkhayophthisamtn aetmxngyaphaphrrkhphwkhniiphaphrayawrwngsathirach chumnumecaphimayxangxinghttps vajirayana org phrarachwicarn cdhmayehtukhwamthrngca cdhmayehtu tngaetkrungekaesiyaelw ecatakmatngemuxngthnburi nithi exiywsriwngs 2540 karemuxngithysmyphraecakrungthnburi sankphimphmtichn hna 138 nithi exiywsriwngs 2540 karemuxngithysmyphraecakrungthnburi sankphimphmtichn hna 140 141 phrarachphngsawdarkrungthnburi chbbphncnthnumas ecim cdhmayraywnthph xphiniharbrrphburus aelaexksarxun krungethph sripyya 2551 ISBN 978 974 342 931 6 santi phkdikha phrarachphngsawdar chbbsmedcphraphnrtn wdphraechtuphn chbbtwekhiyn phrarachphngsawdar chbbsmedcphraphnrtn wdphraechtuphn trwcsxbcharacakexksartwekhiyn krungethph xmrinthrphrinting aexnd phblichching 2558 558 hna hna 35 50 ISBN 978 616 92351 0 1 cdphimphodyesdcphrarachkuslinkarphrarachthanephlingsphphrathrrmpyyabdi thawr tis sanukor p th 4