บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
สารพฤกษเคมี หรือ ไฟโตนิวเทรียนท์ (อังกฤษ: Phytochemicals หรือ Phytonutrients) หมายถึง สารเคมีที่มีที่พบเฉพาะในพืช สารกลุ่มนี้อาจเป็นสารที่ทำให้พืชผักชนิดนั้น ๆ มีสี กลิ่นหรือรสชาติที่เป็นลักษณะเฉพาะตัว สารพฤกษเคมีเหล่านี้หลายชนิดมีฤทธิ์ต่อต้านหรือป้องกันโรคบางชนิดและโรคสำคัญที่มักจะกล่าวกันว่าสารกลุ่มนี้ช่วยป้องกันได้คือโรคมะเร็ง กลไกการทำงานของสารพฤกษเคมีเมื่อเข้าสู่ร่างกายอาจช่วยให้เอนไซม์บางกลุ่มทำงานได้ดีขึ้น เอนไซม์บางชนิดทำหน้าที่ทำให้สารก่อมะเร็งหมดฤทธิ์ ซึ่งปัจจุบันพบสารพฤกษเคมีแล้วระหว่าง 50,000 ถึง 130,000 ชนิด
ผักและผลไม้เป็นแหล่งที่ดีสำหรับสารต้านอนุมูลอิสระ คนส่วนมากรับประทานผักและผลไม้ได้ไม่เพียงพอในแต่ละวัน จึงอาจจะมีสารต้านอนุมูลอิสระในระดับต่ำ การบริโภคผักและผลไม้ในปริมาณที่เหมาะสมต่อวัน จะช่วยให้ประสิทธิภาพของสารต้านอนุมูลอิสระเพียงพอในการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่าง ๆ ได้
นักวิทยาศาสตร์พบว่าสารพฤกษเคมีสร้างประโยชน์ด้วยกลไกการออกฤทธิ์ในรูปแบบต่าง ๆ คือ ต้านออกซิเดชัน ทำลายฤทธิ์ของอนุมูลอิสระ ลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญที่ทำให้ลดการเกิดโรคมะเร็งได้ เพิ่มภูมิต้านทานโรค และควบคุมการออกฤทธิ์ของฮอร์โมน
การผสมผสานของสารต้านอนุมูลอิสระที่พบในผักและผลไม้ชนิดต่าง ๆ หลากชนิดจะให้คุณภาพการต้านอนุมูลอิสระที่ดีกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับการได้รับสารต้านอนุมูลอิสระจากแหล่งอาหารเพียงแหล่งเดียว
ประเภทของสารพฤกษเคมี
สารพฤกษเคมีที่อยู่ภายใต้การวิจัยสามารถจำแนกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ เช่น
- แคโรทีนอยด์ (Carotenoids)
- (Glucosinolate) / (Isothiocynate)
- (Polyphenols) : ฟลาโวนอยด์ (Flavonoids) , แอนโทไซยานิน (Anthocyanins) , (Bioflavonoids) , (Proanthocyanidins)
- ไฟโตเอสโตรเจน (Phytoestrogens)
- (Phenolics)
- ซาโปนิน (Saponins)
- (Phytosterol)
- (Sulfide) และ (Thiols)
เควอซิทิน (Quercetin)
กับบทบาทสำคัญในการป้องกันโรคหลอดเลือดและหัวใจ เควอซิทินเป็นสารพฤกษเคมีที่อยู่ในกลุ่มฟลาโวนอยด์ เป็นสารที่ให้ฤทธิ์ในการต้านออกซิเดชันสูงที่สุด มีมากในหัวหอม หอมแดง และพืชตระกูลถั่ว ให้ฤทธิ์ในการป้องกันการอักเสบ ป้องกันแบคทีเรีย และไวรัส ช่วยป้องกันอาการแพ้ ป้องกันการแข็งตัวของเลือด ป้องกันการเกิดออกซิเดชันในหลอดเลือด และป้องกันหลอดเลือดเลี้ยงสมองอุดตัน การรับประทานผักและผลไม้ที่อุดมไปด้วยเควอซิทินในปริมาณสูงมีส่วนสัมพันธ์กับการทำงานของหัวใจที่ดี จากการศึกษาจำนวนมากพบว่า เควอซิทินถือว่าเป็นไฟโตนิวเทรียนท์ที่ปกป้องหลอดเลือด (vasoprotective) และช่วยในการทำงานของหลอดเลือดหัวใจ ช่วยให้ระบบการไหลเวียนและการทำงานหัวใจดีขึ้น
การได้รับฟลาโวนอลและฟลาโวนในระดับที่สูง ( มากกว่า 30 มิลลิกรัมต่อวัน ) จะช่วยลดความเสี่ยงของ การเกิดโรคลมชักในระยะแรกในผู้ป่วยสูงอายุได้สองในสามส่วน เควอซิทิน คือ ฟลาโวนอยด์ที่สำคัญในอาหารที่ทำการศึกษา
เควอซิทินมีคุณสมบัติในการป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดและปกป้องหลอดเลือด และลดการเป็นพิษต่อเซลล์ไขมันแอลดีแอล (LDL) จากการทดลองในหลอดทดลอง ซึ่งถือว่าเป็นกลไกที่สำคัญที่จะช่วยในการทำงานของหลอดเลือด หัวใจและลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เควอซิทินกับบทบาทสำคัญในการต่อต้านเซลล์มะเร็ง
เควอซิทินทำให้เกิดการยับยั้งวงจรชีวิตเซลล์ หยุดการขยายตัวของเซลล์ และรวมถึงการทำให้เกิดอะพ็อพโทซิส (apoptosis) หรือการตายของเซลล์ในการเจริญเติบโตของเซลล์เต้านมที่ผิดปกติได้
เควอซิทินได้รับการพิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นตัวนำการตายของเซลล์ในเซลล์เนื้องอกลำไส้ รวมทั้งยังช่วยยับยั้งฟอสโฟริเลชัน (phosphorylation) ของกลุ่มเซลล์ที่ได้รับสารกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์เนื้องอก และลดทางการเจริญเติบโตในเซลล์เนื้องอกชนิดนี้
กรดเอลลาจิก (Ellagic Acid)
กรดเอลลาจิกอาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการถูกทำลายดีเอ็นเอของเซลล์บางชนิด กรดเอลลาจิกช่วยลดการทำลายดีเอ็นเอที่จะทำให้ เกิดโรคเรื้อรังทำให้เกิดภาวะการเปลี่ยนตามวัย (Ageing) และโรคมะเร็ง
กรดเอลลาจิกจะยับยั้งการทำงานของเอนไซม์บางชนิด เช่น เอ็น-อะซิติลทรานเฟอเรส ซึ่งจะนำไปสู่การเปลี่ยน แปลงโครงสร้างดีเอ็นเอในเนื้องอกในกระเพาะปัสสาวะของมนุษย์ กรดเอลลาจิกในปริมาณที่มากขึ้นจะยับยั้ง การทำงานของเอนไซม์ในขอบเขตที่มากขึ้นได้
เมื่อเซลล์กลายเป็นมะเร็ง กรดเอลลาจิกอาจจะสามารถหยุดการขยายตัวของเซลล์ กรดเอลลาจิกช่วยยับยั้งการแบ่งเซลล์ในเซลล์มะเร็งปากมดลูก และยังช่วยป้องกันการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็ง
เฮสเพอริดิน (Hesperidin)
ช่วยเสริมสร้างสุขภาพหัวใจและเส้นเลือดดำ
เฮสเพอริดินมีส่วนสำคัญในการลดการซึมผ่านและความอ่อนแอของเส้นเลือดดำ โดยเฉพาะโรคที่สัมพันธ์กับการเพิ่มการซึมผ่านเส้นเลือด เช่น ริดสีดวงทวาร ลักปิดลักเปิด แผลเน่าเปื่อยพุพอง แผลถลอก
การขาดเฮสเพอริดินจะเกี่ยวข้องกับความผิดปกติของ เส้นเลือดฝอย ความอ่อนเพลีย และตะคริวที่ขาในเวลากลางคืน การเสริมเฮสเพอริดินจะช่วยลดอาการบวมน้ำ หรือการบวมเนื่องจากการสะสมของของเหลว โดยสารเฮสเพอริดินจะทำงานดีที่สุดเมื่อมีวิตามินซีร่วมด้วย
เฮสเพอริดินที่รวมกับฟลาโวนอยด์จากผลไม้จำพวกส้ม เช่น ไดออสมิน (Diosmin) มีประสิทธิภาพในการลดความรุนแรงของเส้นเลือดดำขอด ริดสีดวงทวาร ได้โดยการช่วยลดความตึงและความยืดหยุ่นของเส้นเลือดดำ และช่วยลดการซึมผ่านของเส้นเลือดจึงสามารถลดอาการบวมน้ำได้
เฮสเพอริดินอาจจะลดระดับพลาสมาคอเลสเตอรอล บุคคลที่ดื่มน้ำส้มถึง 3 แก้วต่อวัน จะเพิ่มระดับไขมัน ชนิดดี (HDL) ได้ถึง 21% และลดระดับคอเลสเตอ-รอลและไตรกลีเซอไรด์
ลูทีน (Lutein)
ลูทีนเป็นแคโรทีนอยด์สีเหลืองซึ่งมีส่วนอย่างมากในการต่อต้านสารต้านอนุมูลอิสระ ลูทีนพบได้ทั่วไปในผักใบเขียวและมีส่วนสำคัญในการบำรุงสายตา โมเลกุลของลูทีนพบในปริมาณสูงในจุดของดวงตา โดยเฉพาะพื้นที่ของเรตินาที่เกี่ยวกับการรับภาพ ซึ่งจะช่วยในการดูดซับแสงสีน้ำเงินในแถบสีการมองเห็นและช่วยปกป้องการทำลายของคลื่นสั้นที่มีต่อเยื่อบุผิวเรตินาจากการศึกษา พบว่า ระดับลูทีน 2.0 – 6.9 มิลลิกรัมต่อวัน จะช่วยป้องกันความเสื่อมของจุดด่างในดวงตาได้
สารลูทีนจะช่วยสร้างสารต้านอนุมูลอิสระในการป้องกันเยื่อแก้วตา (retina)
การรับประทานแคโรทีนอยด์ในปริมาณที่สูงที่สุดจะมี อัตราเสี่ยงต่ำกว่า 43% สำหรับภาวะการเสื่อมของจอประสาทตาตามอายุอย่างเฉียบพลันของจอประสาทตา เมื่อเปรียบเทียบการรับประทานในปริมาณที่ต่ำที่สุด จากการศึกษากลุ่มตัวอย่างจำนวน 876 คนซึ่งมีอายุ ระหว่าง 55 – 80 ปี การได้รับลูทีนและซีซานทีน ในอัตราสูงจะช่วยลดความเสี่ยงของจอประสาทตาเสื่อมอย่างเฉียบพลันตามอายุได้
จากการศึกษาคนไข้จำนวน 421 คน แสดงให้เห็นว่าผู้ที่ได้รับลูทีนและซีซานทีนในระดับสูงที่สุดจะมีส่วนสำคัญต่อการลดระดับอัตราเสี่ยงของความเสื่อมของตาตามอายุได้
จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า หญิงและชายที่ได้รับ ลูทีนในระดับสูงที่สุดจะเป็นต้อกระจกในอัตราที่ต่ำกว่า ผู้ที่ไม่รับประทานลูทีนจากผักและผลไม้เละสารลูทีนอาจช่วยป้องกันมะเร็งปอด มะเร็งสำไส้ และมะเร็งเต้านม พบว่าการรับประทานสารลูทีน ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ในทั้งผู้ชาย ผู้หญิง และการลดอัตราเสี่ยงที่สำคัญที่สุดคือการตรวจพบการเป็นโรคมะเร็งลำไส้ระยะเริ่มแรก การรับประทานผักที่อุดมไปด้วยแคโรทีนอยด์ ซึ่งประกอบด้วยลูทีนในปริมาณสูงจะมีความสัมพันธ์กับอัตราเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งเต้านมที่ลดลง โดยเฉพาะสำหรับสตรีที่มีประวัติว่ามีบุคคลในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งเต้านม
ไลโคปีน (Lycopene)
ไลโคปีนช่วยลดอัตราเสี่ยงการเป็นมะเร็งหลายชนิด โดยเฉพาะมะเร็งต่อมลูกหมาก
ผู้เข้ารับการทดสอบที่รับประทานมะเขือเทศในปริมาณสูงที่สุด 10 ครั้งต่อสัปดาห์ มีอัตราเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมากต่ำกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่รับประทานน้อยกว่า 1.5 ครั้งต่อสัปดาห์
การรับประทานมะเขือเทศในอัตราสูงจะช่วยลดอัตราการเป็นโรคมะเร็งต่อมลูกหมากทุกประเภท ได้ถึง 35% และลดความรุนแรงของโรคมะเร็งต่อมลูกหมาก 53%
สารสกัดจากมะเขือเทศที่ประกอบด้วยไลโคปีน 30 มิลลิกรัมต่อวัน จะช่วยลดการเจริญเติบโตของโรคมะเร็งต่อมลูกหมากในคนไข้ภายหลังจากการรักษา โรคมาแล้ว 3 สัปดาห์
ไลโคปีนอาจจะมีส่วนสำคัญในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก โดยจะลดการเกิดเนื้องอกและยับยั้งการพัฒนาวงจรชีวิตของเซลล์ในช่วงต้นของการเกิดเซลล์มะเร็ง (ระยะ G1) ไลโคปีนอาจช่วยป้องกันความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหัวใจ
บุคคลที่มีสารสกัดพลาสมาไลโคปีนที่สูงที่สุดจะมีอัตราของการเกิดการหนาตัวของหลอดเลือด IMT (intima-mediated thickness) ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดระยะเริ่มต้นถึง 90% ต่ำที่สุด ดังนั้นการได้รับไลโคปีนในปริมาณที่สูงอาจช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
การรับประทานไลโคปีนสามารถลดอัตราเสี่ยงของภาวะกล้ามเนื้อหัวใจลงต่ำกว่า 60% สำหรับบุคคลที่มีสารสกัดไลโคปีนสูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่มีสารสกัดไลโคปีนต่ำสุด
ไลโคปีนอาจจะลดความรุนแรงของการเผาไหม้ของผิวหนังจากแสงอาทิตย์ บุคคลที่รับประทานมะเขือเทศบด 40 กรัมต่อวัน ได้รับสารไลโคปีน 16 กรัมต่อวัน จะมีอัตราของอาการเผาไหม้ของผิวหนังจากแสงอาทิตย์ลดลง 40% หลังจากรับประทานมะเขือเทศติดต่อกันนาน 10 สัปดาห์
อ้างอิง
- Afendi, Farit Mochamad; Okada, Taketo; Yamazaki, Mami; และคณะ (กุมภาพันธ์ 2012). "KNApSAcK Family Databases: Integrated Metabolite–Plant Species Databases for Multifaceted Plant Research". Plant and Cell Physiology. 53 (2): e1. doi:10.1093/pcp/pcr165. PMID 22123792.
- Rutz, Adriano; Sorokina, Maria; Galgonek, Jakub; และคณะ (26 พฤษภาคม 2022). "The LOTUS initiative for open knowledge management in natural products research". eLife. 11: e70780. doi:10.7554/eLife.70780. PMC 9135406. PMID 35616633.
บรรณานุกรม
- วินัย ดะห์ลัน, ร.ศ. (2007). เอกสารประกอบการบรรยาย "โภชนาการพื้นฐานเพื่อการมีสุขภาพสมบูรณ์สูงสุด".
แหล่งข้อมูลอื่น
- United States Department of Agriculture. Dr. Duke's Phytochemical and Ethnobotanical Databases.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul sarphvksekhmi khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir sarphvksekhmi hrux ifotniwethriynth xngkvs Phytochemicals hrux Phytonutrients hmaythung sarekhmithimithiphbechphaainphuch sarklumnixacepnsarthithaihphuchphkchnidnn misi klinhruxrschatithiepnlksnaechphaatw sarphvksekhmiehlanihlaychnidmivththitxtanhruxpxngknorkhbangchnidaelaorkhsakhythimkcaklawknwasarklumnichwypxngknidkhuxorkhmaerng klikkarthangankhxngsarphvksekhmiemuxekhasurangkayxacchwyihexnismbangklumthanganiddikhun exnismbangchnidthahnathithaihsarkxmaernghmdvththi sungpccubnphbsarphvksekhmiaelwrahwang 50 000 thung 130 000 chnid phkaelaphlimepnaehlngthidisahrbsartanxnumulxisra khnswnmakrbprathanphkaelaphlimidimephiyngphxinaetlawn cungxaccamisartanxnumulxisrainradbta karbriophkhphkaelaphliminprimanthiehmaasmtxwn cachwyihprasiththiphaphkhxngsartanxnumulxisraephiyngphxinkarldkhwamesiyngtxkarekidorkhtang id nkwithyasastrphbwasarphvksekhmisrangpraoychndwyklikkarxxkvththiinrupaebbtang khux tanxxksiedchn thalayvththikhxngxnumulxisra ldkhwamesiyhaythiekidkhunkbdiexnex sungepnkliksakhythithaihldkarekidorkhmaerngid ephimphumitanthanorkh aelakhwbkhumkarxxkvththikhxnghxromn karphsmphsankhxngsartanxnumulxisrathiphbinphkaelaphlimchnidtang hlakchnidcaihkhunphaphkartanxnumulxisrathidikwa emuxepriybethiybkbkaridrbsartanxnumulxisracakaehlngxaharephiyngaehlngediywpraephthkhxngsarphvksekhmisarphvksekhmithixyuphayitkarwicysamarthcaaenkidepnpraephthihy echn aekhorthinxyd Carotenoids Glucosinolate Isothiocynate Polyphenols flaownxyd Flavonoids aexnothisyanin Anthocyanins Bioflavonoids Proanthocyanidins ifotexsotrecn Phytoestrogens Phenolics saopnin Saponins Phytosterol Sulfide aela Thiols ekhwxsithin Quercetin kbbthbathsakhyinkarpxngknorkhhlxdeluxdaelahwic ekhwxsithinepnsarphvksekhmithixyuinklumflaownxyd epnsarthiihvththiinkartanxxksiedchnsungthisud mimakinhwhxm hxmaedng aelaphuchtrakulthw ihvththiinkarpxngknkarxkesb pxngknaebkhthieriy aelaiwrs chwypxngknxakaraeph pxngknkaraekhngtwkhxngeluxd pxngknkarekidxxksiedchninhlxdeluxd aelapxngknhlxdeluxdeliyngsmxngxudtn karrbprathanphkaelaphlimthixudmipdwyekhwxsithininprimansungmiswnsmphnthkbkarthangankhxnghwicthidi cakkarsuksacanwnmakphbwa ekhwxsithinthuxwaepnifotniwethriynththipkpxnghlxdeluxd vasoprotective aelachwyinkarthangankhxnghlxdeluxdhwic chwyihrabbkarihlewiynaelakarthanganhwicdikhun karidrbflaownxlaelaflaowninradbthisung makkwa 30 millikrmtxwn cachwyldkhwamesiyngkhxng karekidorkhlmchkinrayaaerkinphupwysungxayuidsxnginsamswn ekhwxsithin khux flaownxydthisakhyinxaharthithakarsuksa ekhwxsithinmikhunsmbtiinkarpxngknimihekidlimeluxdinhlxdeluxdaelapkpxnghlxdeluxd aelaldkarepnphistxesllikhmnaexldiaexl LDL cakkarthdlxnginhlxdthdlxng sungthuxwaepnklikthisakhythicachwyinkarthangankhxnghlxdeluxd hwicaelaldkhwamesiyngtxkarepnorkhhlxdeluxdhwictib ekhwxsithinkbbthbathsakhyinkartxtanesllmaerng ekhwxsithinthaihekidkarybyngwngcrchiwitesll hyudkarkhyaytwkhxngesll aelarwmthungkarthaihekidxaphxphothsis apoptosis hruxkartaykhxngesllinkarecriyetibotkhxngeslletanmthiphidpktiid ekhwxsithinidrbkarphisucnihehnwaepntwnakartaykhxngesllinesllenuxngxklais rwmthngyngchwyybyngfxsofrielchn phosphorylation khxngklumesllthiidrbsarkratunkarecriyetibotkhxngesllenuxngxk aelaldthangkarecriyetibotinesllenuxngxkchnidni krdexllacik Ellagic Acid krdexllacikxacchwyldkhwamesiyngtxkarthukthalaydiexnexkhxngesllbangchnid krdexllacikchwyldkarthalaydiexnexthicathaih ekidorkheruxrngthaihekidphawakarepliyntamwy Ageing aelaorkhmaerng krdexllacikcaybyngkarthangankhxngexnismbangchnid echn exn xasitilthranefxers sungcanaipsukarepliyn aeplngokhrngsrangdiexnexinenuxngxkinkraephaapssawakhxngmnusy krdexllacikinprimanthimakkhuncaybyng karthangankhxngexnisminkhxbekhtthimakkhunid emuxesllklayepnmaerng krdexllacikxaccasamarthhyudkarkhyaytwkhxngesll krdexllacikchwyybyngkaraebngesllinesllmaerngpakmdluk aelayngchwypxngknkaraephrkracaykhxngesllmaerng ehsephxridin Hesperidin chwyesrimsrangsukhphaphhwicaelaesneluxdda ehsephxridinmiswnsakhyinkarldkarsumphanaelakhwamxxnaexkhxngesneluxdda odyechphaaorkhthismphnthkbkarephimkarsumphanesneluxd echn ridsidwngthwar lkpidlkepid aephlenaepuxyphuphxng aephlthlxk karkhadehsephxridincaekiywkhxngkbkhwamphidpktikhxng esneluxdfxy khwamxxnephliy aelatakhriwthikhainewlaklangkhun karesrimehsephxridincachwyldxakarbwmna hruxkarbwmenuxngcakkarsasmkhxngkhxngehlw odysarehsephxridincathangandithisudemuxmiwitaminsirwmdwy ehsephxridinthirwmkbflaownxydcakphlimcaphwksm echn idxxsmin Diosmin miprasiththiphaphinkarldkhwamrunaerngkhxngesneluxddakhxd ridsidwngthwar idodykarchwyldkhwamtungaelakhwamyudhyunkhxngesneluxdda aelachwyldkarsumphankhxngesneluxdcungsamarthldxakarbwmnaid ehsephxridinxaccaldradbphlasmakhxelsetxrxl bukhkhlthidumnasmthung 3 aekwtxwn caephimradbikhmn chniddi HDL idthung 21 aelaldradbkhxelsetx rxlaelaitrkliesxird luthin Lutein luthinepnaekhorthinxydsiehluxngsungmiswnxyangmakinkartxtansartanxnumulxisra luthinphbidthwipinphkibekhiywaelamiswnsakhyinkarbarungsayta omelkulkhxngluthinphbinprimansungincudkhxngdwngta odyechphaaphunthikhxngertinathiekiywkbkarrbphaph sungcachwyinkardudsbaesngsinaengininaethbsikarmxngehnaelachwypkpxngkarthalaykhxngkhlunsnthimitxeyuxbuphiwertinacakkarsuksa phbwa radbluthin 2 0 6 9 millikrmtxwn cachwypxngknkhwamesuxmkhxngcuddangindwngtaid sarluthincachwysrangsartanxnumulxisrainkarpxngkneyuxaekwta retina karrbprathanaekhorthinxydinprimanthisungthisudcami xtraesiyngtakwa 43 sahrbphawakaresuxmkhxngcxprasathtatamxayuxyangechiybphlnkhxngcxprasathta emuxepriybethiybkarrbprathaninprimanthitathisud cakkarsuksaklumtwxyangcanwn 876 khnsungmixayu rahwang 55 80 pi karidrbluthinaelasisanthin inxtrasungcachwyldkhwamesiyngkhxngcxprasathtaesuxmxyangechiybphlntamxayuid cakkarsuksakhnikhcanwn 421 khn aesdngihehnwaphuthiidrbluthinaelasisanthininradbsungthisudcamiswnsakhytxkarldradbxtraesiyngkhxngkhwamesuxmkhxngtatamxayuid cakkarsuksaaesdngihehnwa hyingaelachaythiidrb luthininradbsungthisudcaepntxkrackinxtrathitakwa phuthiimrbprathanluthincakphkaelaphlimelasarluthinxacchwypxngknmaerngpxd maerngsais aelamaerngetanm phbwakarrbprathansarluthin chwyldkhwamesiyngtxkarekidorkhmaernglaisinthngphuchay phuhying aelakarldxtraesiyngthisakhythisudkhuxkartrwcphbkarepnorkhmaernglaisrayaerimaerk karrbprathanphkthixudmipdwyaekhorthinxyd sungprakxbdwyluthininprimansungcamikhwamsmphnthkbxtraesiynginkarepnorkhmaerngetanmthildlng odyechphaasahrbstrithimiprawtiwamibukhkhlinkhrxbkhrwepnorkhmaerngetanm ilokhpin Lycopene ilokhpinchwyldxtraesiyngkarepnmaernghlaychnid odyechphaamaerngtxmlukhmak phuekharbkarthdsxbthirbprathanmaekhuxethsinprimansungthisud 10 khrngtxspdah mixtraesiynginkarepnorkhmaerngtxmlukhmaktakwaemuxepriybethiybkbphuthirbprathannxykwa 1 5 khrngtxspdah karrbprathanmaekhuxethsinxtrasungcachwyldxtrakarepnorkhmaerngtxmlukhmakthukpraephth idthung 35 aelaldkhwamrunaerngkhxngorkhmaerngtxmlukhmak 53 sarskdcakmaekhuxethsthiprakxbdwyilokhpin 30 millikrmtxwn cachwyldkarecriyetibotkhxngorkhmaerngtxmlukhmakinkhnikhphayhlngcakkarrksa orkhmaaelw 3 spdah ilokhpinxaccamiswnsakhyinkarybyngkarecriyetibotkhxngesllmaerngetanmaelamaerngpakmdluk odycaldkarekidenuxngxkaelaybyngkarphthnawngcrchiwitkhxngesllinchwngtnkhxngkarekidesllmaerng raya G1 ilokhpinxacchwypxngknkhwamesiyngtxkarepnorkhhwic bukhkhlthimisarskdphlasmailokhpinthisungthisudcamixtrakhxngkarekidkarhnatwkhxnghlxdeluxd IMT intima mediated thickness sungepntwbngchikhxngorkhikhmnxudtninesneluxdrayaerimtnthung 90 tathisud dngnnkaridrbilokhpininprimanthisungxacchwyldxtraesiyngkhxngkarepnorkhikhmnxudtninesneluxd karrbprathanilokhpinsamarthldxtraesiyngkhxngphawaklamenuxhwiclngtakwa 60 sahrbbukhkhlthimisarskdilokhpinsungthisudemuxepriybethiybkbphuthimisarskdilokhpintasud ilokhpinxaccaldkhwamrunaerngkhxngkarephaihmkhxngphiwhnngcakaesngxathity bukhkhlthirbprathanmaekhuxethsbd 40 krmtxwn idrbsarilokhpin 16 krmtxwn camixtrakhxngxakarephaihmkhxngphiwhnngcakaesngxathityldlng 40 hlngcakrbprathanmaekhuxethstidtxknnan 10 spdahxangxingAfendi Farit Mochamad Okada Taketo Yamazaki Mami aelakhna kumphaphnth 2012 KNApSAcK Family Databases Integrated Metabolite Plant Species Databases for Multifaceted Plant Research Plant and Cell Physiology 53 2 e1 doi 10 1093 pcp pcr165 PMID 22123792 Rutz Adriano Sorokina Maria Galgonek Jakub aelakhna 26 phvsphakhm 2022 The LOTUS initiative for open knowledge management in natural products research eLife 11 e70780 doi 10 7554 eLife 70780 PMC 9135406 PMID 35616633 brrnanukrm winy dahln r s 2007 exksarprakxbkarbrryay ophchnakarphunthanephuxkarmisukhphaphsmburnsungsud aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb sarphvksekhmi United States Department of Agriculture Dr Duke s Phytochemical and Ethnobotanical Databases bthkhwamekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk