สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาฝรั่งเศส (อังกฤษ: French Renaissance) หมายถึงการเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรมและ ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 จนถึง ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ที่เป็นส่วนหนึ่งของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของยุโรป ที่นักประวัติศาสตร์เชื่อกันว่าเริ่มต้นขึ้นในอิตาลีในคริสต์ศตวรรษที่ 14 สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสตามปกติแล้วถือว่าเริ่มขึ้น ตั้งแต่การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลีในปี ค.ศ. 1494 ในรัชสมัยของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 8 จนกระทั่งเมื่อพระเจ้าอองรีที่ 4 เสด็จสวรรคตในปี ค.ศ. 1610 ช่วงที่ว่านี้ไม่รวมการพัฒนาทางเทคโนโลยี, ศิลปะ และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลีที่เข้ามาในฝรั่งเศสก่อนหน้านั้น (เช่นโดยทางสำนักดยุคแห่งเบอร์กันดี หรือโดยทางราชสำนักพระสันตะปาปาอาวินยอง) กาฬโรคที่ระบาดในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ 14 และสงครามร้อยปีทำให้สถานภาพทางการเมืองและทางเศรษฐกิจของฝรั่งเศสอยู่ในสภาพที่อ่อนแอมาจนกระทั่งมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ซึ่งทำให้เป็นอุปสรรคต่อการการรับอิทธิพลต่างๆ ของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาได้อย่างเต็มที่
รัชสมัยของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 (ระหว่าง ค.ศ. 1515 ถึง ค.ศ. 1547) และพระราชโอรสพระเจ้าอองรีที่ 2 (ระหว่าง ค.ศ. 1547 ถึง ค.ศ. 1559) โดยทั่วไปถือว่าเป็นจุดสุดยอดของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศส หลังจากการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าอองรีที่ 2 จากอุบัติเหตุในการประลองทวนบนหลังม้าแล้ว ฝรั่งเศสก็ปกครองโดยพระอัครมเหสีหม้ายแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ และพระราชโอรสพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 2, พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 9 และต่อมา พระเจ้าอองรีที่ 3 แม้ว่าในช่วงนั้นขบวนการทางฟื้นฟูศิลปวิทยายังคงดำเนินต่อไป แต่ในขณะเดียวกันสงครามศาสนาของฝรั่งเศสระหว่างอูเกอโนต์และโรมันคาทอลิกก็ผลาญประเทศไปด้วยในขณะเดียวกัน
สิ่งสำคัญที่เกิดขึ้นในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสก็รวมทั้งการเริ่มการปกครอง, การเผยแพร่ลัทธิมนุษยนิยม; การเริ่มต้นยุคแห่งการสำรวจโลกใหม่ (เช่นโดย (Giovanni da Verrazzano) และ ฌาคส์ คาร์ติเยร์ ); การนำเข้า (จากอิตาลี, เบอร์กันดี และอื่นๆ) และการพัฒนาทางเทคนิคและศิลปะในสาขาการพิมพ์, สถาปัตยกรรม, ประติมากรรม, จิตรกรรม, ดนตรี, วิทยาศาสตร์, และ และการสร้างกฎเกณฑ์อันซับซ้อนเกี่ยวกับพฤติกรรมในสังคม
ศิลปะในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศส
ยุคทอง
ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 การรุกรานของฝรั่งเศสเข้าไปในอิตาลี และการที่ฝรั่งเศสอยู่ไม่ไกล จากสำนักดยุคแห่งเบอร์กันดีอันรุ่งเรืองนัก (ที่เกี่ยวข้องกับฟลานเดอร์ส) ทำให้ฝรั่งเศสได้มีโอกาสประสบกับสินค้า, จิตรกรรม และ วิญญาณของการสร้างสรรค์สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาตอนเหนือ และ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี และความเปลี่ยนแปลงทางด้านศิลปะในระยะแรกในฝรั่งเศสก็มักจะมาจากจิตรกรอิตาลีและเฟล็มมิชเช่น (Jean Clouet) และบุตรชาย (François Clouet) และจิตรกรอิตาลี, (Rosso Fiorentino), ฟรันเชสโก ปรีมาติชโช (Francesco Primaticcio) และ (Niccolò dell'Abbate) ของตระกูลการเขียนที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่าที่เริ่มขึ้นใน ค.ศ. 1531) เลโอนาร์โด ดา วินชีเองก็ได้รับเชิญมาพักในฝรั่งเศสโดยพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 แต่นอกไปจากภาพเขียนที่นำติดตัวมาแล้ว ดา วินชีก็มิได้สร้างงานที่เป็นชิ้นเป็นอันให้แก่ราชสำนักฝรั่งเศสแต่อย่างใด
ศิลปะในยุคนี้ที่เริ่มตั้งแต่รัชสมัยของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 จนถึงรัชสมัยของพระเจ้าอองรีที่ 4 เป็นศิลปะที่มีอิทธิพลจากขบวนการพัฒนาจักษุศิลป์และประติมากรรมของอิตาลีตอนปลายเป็นอันมาก ในช่วงที่เรียกว่าแมนเนอริสม์ (ที่เกี่ยวข้องกับงานของไมเคิล แอนเจโล และ พาร์มิจานิโน และผู้อื่น) ที่เห็นได้ลักษณะของตัวแบบที่มีสัดส่วนที่ยาวและสง่าขึ้น และการเพิ่มการใช้ทางจักษุ (visual rhetoric) หรือการสื่อความหมายทางตาที่รวมทั้งการใช้อุปมานิทัศน์ และ ตำนานเทพ
ในช่วงนี้ก็มีศิลปินหลายคนที่มีความสามารถที่รวมทั้งจิตรกรฌอง โฟเคท์แห่งตูร์ ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนภาพสำหรับหนังสือวิจิตรได้อย่างงดงาม และประติมากร (Jean Goujon) และ (Germain Pilon)
แต่สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความรุ่งเรืองของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสก็ได้แก่การสร้างวังแห่งลุ่มแม่น้ำลัวร์ ที่มิได้มีลักษณะเป็นมิได้ป็นการสร้างปราสาทเพื่อการป้องกันข้าศึกอีกต่อไป แต่เป็นการสร้างสำหรับเป็นที่อยู่อาศัยเพื่อความสำราญของผู้เป็นเจ้าของ โดยใช้ภูมิทัศน์อันน่าชมของบริเวณลุ่มแม่น้ำลัวร์เป็นฉากหลังในการแสดงความสามารถทางสถาปัตยกรรม
ปราสาทลูฟร์เก่าในปารีสก็ได้รับการก่อสร้างใหม่ภายใต้การนำของ (Pierre Lescot) ที่กลายมาเป็นลักษณะหลักของสถาปัตยกรรมของ "château" หรือ พระราชวังของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศสที่สร้างต่อมา ทางตะวันตกของลูฟร์แคทเธอรีน เดอ เมดิชิก็ทรงสร้างพระราชวังที่ ที่ประกอบด้วยสวนภูมิทัศน์ขนาดใหญ่ และ (grotto)
แต่สงครามศาสนาของฝรั่งเศสซึ่งเป็นสงครามกลางเมืองที่เนิ่นนานถึงสามสิบปีเป็นสิ่งที่ถ่วงและหมางความเจริญทางการสร้างงานศิลปะออกไปจากวงของการสร้างเพื่อศาสนาและการโฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง
-
-
-
- ชัยชนะของฤดูหนาว
(ราว ค.ศ. 1568)
งานสะสมส่วนบุคคล -
-
-
- ปีกหนึ่งของพระราชวังลูฟร์
-
ปลายแมนเนอริสม์และต้นบาโรก
การขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าอองรีที่ 4 นำมาสู่การพัฒนาเมืองขนานใหญ่ในปารีสปารีสที่รวมทั้งการสร้าง (Pont Neuf), หรือ "Place Royale" (จตุรัสหลวง), และการต่อเติมพระราชวังลูฟร์
นอกจากนั้นแล้วพระเจ้าอองรีที่ 4 ก็ทรงเชิญศิลปินเช่น (Toussaint Dubreuil) , (Martin Fréminet) และ (Ambroise Dubois) ให้มาสร้างพระราชวังฟงแตงโบล ที่เรียกว่าที่สอง
มารี เดอ เมดิชิสมเด็จพระราชินีในพระเจ้าอองรีที่ 4 ทรงเชิญจิตรกรเฟล็มมิชปีเตอร์ พอล รูเบนส์มายังฝรั่งเศสเพื่อเขียน "ภาพชุดพระราชินีมารี เดอ เมดิชิ" ซึ่งเป็นภาพขนาดใหญ่จำนวนยี่สิบสี่ภาพที่บรรยายชีวประวัติของพระองค์ เพื่อใช้ตกแต่งพระราชวังลักเซมเบิร์กในกรุงปารีส จิตรกรเฟล็มมิชอีกคนหนึ่งที่ได้มาทำงานในราชสำนักคือ (Frans Pourbus the younger)
นอกราชอาณาจักรฝรั่งเศสในขณะนั้น เช่นใน[[อาณาจักรดยุคแห่งลอร์แรน ]]ก็จะเป็นงานของปลายสมัยแมนเนอริสม์ที่แตกต่างออกไปเช่นที่พบในงานของ (Jacques Bellange), (Claude Deruet) และ (Jacques Callot) ศิลปินลอร์แรนขณะนั้นไม่มีการติดต่อกับศิลปินฝรั่งเศสซึ่งทำให้การพัฒนาแตกต่างออกไปที่มีลักษณะที่แรงกว่าของฝรั่งเศส และมักจะออกไปทางยั่วยวนอารมณ์ (erotic mannerism) ที่รวมทั้งการเขียนภาพที่เป็นยามกลางคืน หรือ การฝันร้าย นอกจากนั้นก็เป็นช่างผู้มีฝีมือในทาง
- "ไฮยาซินธ์และคลีเมนแต่งตัวตอนเช้า"
(รายละเอียด) -
-
-
- "การล้อมเมืองเบรดา"
วรรณกรรมของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศส
ดนตรีของสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศส
อาณาจักรดยุคแห่งเบอร์กันดีซึ่งเป็นภูมิภาคที่พูดภาษาฝรั่งเศสที่ติดกับทางทางตะวันออกฝรั่งเศสเป็นศูนย์กลางทางการดนตรีของยุโรปในตอนต้นและตอนกลางของคริสต์ศตวรรษที่ 15 นักดนตรีผู้มีชื่อเสียงหลายคนของยุโรปถ้าไม่มาจากเบอร์กันดีก็เดินทางไปศึกษาจากคีตกวีที่นั่น นอกจากนั้นก็ยังมีการแลกเปลี่ยนทางการดนตรีระหว่างสำนักเบอร์กันดีและราชสำนักฝรั่งเศสและสถาบันศาสนากันอย่างสม่ำเสมอในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ดนตรีเป็นบ่อเกิดของดนตรีแบบ (polyphony) ของที่มีอิทธิพลต่อดนตรีของยุโรปมาจนถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 ลักษณะของดนตรีของฝรั่งเศสในช่วงนี้เป็นลักษณะที่บ่งถึงเอกลักษณ์ดนตรีของราชสำนัก และดนตรีของสถาบันคริสเตียนสำคัญๆ ส่วนใหญ่แล้วคีตกวีฝรั่งเศสจะไม่นิยมลักษณะที่ราบเรีย บ (sombre) ของดนตรีตระกูลฝรั่งเศส-เฟล็มมิช และ พยายามสร้างความชัดเจนในด้านโครงสร้างของดนตรี และในดนตรีที่ไม่เกี่ยวกับศาสนาเช่น ก็จะสร้างความเบา, การทำให้ร้องได้ง่าย (singability) และ การทำให้เป็นที่นิยมกันโดยทั่วไป (Guillaume Dufay) และ (Gilles Binchois) เป็นตัวอย่างของนักดนตรีคนสำคัญสองคนของตระกูลเบอร์กันดีของสมัยต้นสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
คีตกวีผู้มีชื่อเสียงไปทั่วยุโรป (Josquin Des Prez) เป็นนักดนตรีประจำราชสำนักของพระเจ้าหลุยส์ที่ 12อยู่ชั่วระยะหนึ่ง และอาจจะเป็นผู้เขียนงานชิ้นสำคัญๆ บางชิ้นขึ้นที่นั่น (เช่นงาน เพลงสดุดี 129, ที่อาจจะเขียนสำหรับงานพระบรมศพของพระเจ้าหลุยส์ในปี ค.ศ. 1515) พระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 ผู้เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสทรงให้ความสำคัญในการสร้างดนตรีอันหรูหราเป็นสิ่งแรก และทรงนำนักดนตรีติดตามพระองค์ไปในโอกาสที่ทรงไปพบปะกับสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษในการพบปะที่ทุ่งภูษาทอง ในปี ค.ศ. 1520 เพื่อเป็นการอวดโอ้ถึงความสามารถของการดนตรีของราชสำนักฝรั่งเศส ที่คาดกันว่าจัดโดย (Jean Mouton) คีตกวีผู้มีชื่อเสียงที่สุดในการเขียนโมเต็ตของต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16
แต่งานดนตรีที่สำคัญของฝรั่งเศสในสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาคือการเขียนงานประเภทที่เรียกว่า ""* (chanson) ซึ่งเป็นฆราวัสดนตรี (secular music) แบบ ที่กลายมาเป็นดนตรีที่เป็นที่นิยมกันเป็นอย่างมากในคริสต์ศตวรรษที่ 16 รวมทั้งโดยทั่วไปในยุโรป เพลงขับในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 16 มักจะเปิดขึ้นด้วย (ยาว, สั้น-สั้น) และ ที่ต่อมานำไปใช้ในอิตาลีโดย ที่เป็นต้นตอของ ตามปกติแล้วเพลงขับจะมีเสียงร้องสามถึงสี่เสียงโดยไม่มีเครื่องดนตรีประกอบแต่เวอร์ชันที่นิยมกันมักจะเขียนให้มีดนตรีประกอบ คีตกวีคนสำคัญที่มีชื่อของฝรั่งเศสในการเขียนเพลงขับก็ได้แก่ (Claudin de Sermisy) และ (Clément Janequin) Le guerre โดยฌาเนอแคงเขียนขึ้นในโอกาสการฉลองชัยชนะของฝรั่งเศสใน ในปี ค.ศ. 1515 ที่เลียนเสียงปืนใหญ่, เสียงครางของผู้บาดเจ็บ และเสียงสัญญาณรุกและถอยจากทรัมเป็ต การพัฒนาของเพลงขับต่อมาเป็นลักษณะที่เรียกว่า ที่เห็นได้จากงานของ (Claude Le Jeune): ในแบบเพลงขับที่มาจากการพัฒนาโดยกลุ่มกวีที่เรียกว่า ภายใต้การนำของ (Jean-Antoine de Baïf) ซึ่งเป็นท่วงทำนองจังหวะของดนตรีที่สะท้อนการเน้นจังหวะของบทร้องโดยตรง ในการพยายามสร้างผลทางวาทศาสตร์ของดนตรีของกรีกโบราณ เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 เพลงขับก็มาแทนที่ด้วย (air de cour) ซึ่งเป็นประเภทเพลงร้องที่นิยมกันในฝรั่งเศสเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 17
สงครามศาสนามีผลอย่างลึกซึ้งต่อการดนตรีของฝรั่งเศส อิทธิพลของนิกายคาลวินทำให้ดนตรีทางศาสนาของโปรเตสแตนต์มีลักษณะที่แตกต่างจากโมเต็ตละตินอันหรูหราซับซ้อนของโรมันคาทอลิกเป็นอันมาก คีตกวีทั้งโปรเตสแตนต์และโรมันคาทอลิกต่างก็เขียนเพลงขับที่เรียกว่า "" (chanson spirituelle) ที่คล้ายกับฆราวัสดนตรีแต่เนื้อเพลงเป็นบทสอนทางจริยธรรมแทนที่
ตัวอย่างเช่นงานของคีตกวีโปรเตสแตนต์ (Claude Goudimel) ผู้มีชื่อเสียงในการเขียนเพลงสดุดีที่มีแรงบันดาลใจจากนิกายคาลวิน ผู้ถูกลอบสังหารในลิยงระหว่างเหตุการณ์การสังหารหมู่วันเซนต์บาโทโลมิว แต่ก็ไม่ใช่คีตกวีโปรเตสแตนต์เท่านั้นที่ถูกสังหารในระหว่างความขัดแย้งทางศาสนาในปี ค.ศ. 1581 คีตกวีโรมันคาทอลิก (Antoine de Bertrand) ผู้มีความสามารถและเขียนงานเพลงขับไว้เป็นจำนวนมากก็ถูกสังหารโดยหมู่ชนโปรเตสแตนต์ในตูลูส
อ้างอิง
- Dobbins, Frank. "Chanson." In The Oxford Companion to Music, edited by Alison Latham. Oxford Music Online.
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smyfunfusilpwithyafrngess xngkvs French Renaissance hmaythungkarekhluxnihwthangwthnthrrmaela rahwangplaykhriststwrrsthi 15 cnthung tnkhriststwrrsthi 17 thiepnswnhnungkhxngsmyfunfusilpwithyakhxngyuorp thinkprawtisastrechuxknwaerimtnkhuninxitaliinkhriststwrrsthi 14 smyfunfusilpwithyakhxngfrngesstampktiaelwthuxwaerimkhun tngaetkarrukrankhxngfrngessekhaipinxitaliinpi kh s 1494 inrchsmykhxngphraecacharlsthi 8 cnkrathngemuxphraecaxxngrithi 4 esdcswrrkhtinpi kh s 1610 chwngthiwaniimrwmkarphthnathangethkhonolyi silpa aelawrrnkrrmthiekiywkhxngkbsmyfunfusilpwithyaxitalithiekhamainfrngesskxnhnann echnodythangsankdyukhaehngebxrkndi hruxodythangrachsankphrasntapapaxawinyxng kalorkhthirabadinyuorpinkhriststwrrsthi 14 aelasngkhramrxypithaihsthanphaphthangkaremuxngaelathangesrsthkickhxngfrngessxyuinsphaphthixxnaexmacnkrathngmathungplaykhriststwrrsthi 15 sungthaihepnxupsrrkhtxkarkarrbxiththiphltang khxngsmyfunfusilpwithyaidxyangetmthi rchsmykhxngphraecafrxngswsthi 1 rahwang kh s 1515 thung kh s 1547 aelaphrarachoxrsphraecaxxngrithi 2 rahwang kh s 1547 thung kh s 1559 odythwipthuxwaepncudsudyxdkhxngsmyfunfusilpwithyakhxngfrngess hlngcakkaresdcswrrkhtkhxngphraecaxxngrithi 2 cakxubtiehtuinkarpralxngthwnbnhlngmaaelw frngesskpkkhrxngodyphraxkhrmehsihmayaekhthethxrin edx emdichi aelaphrarachoxrsphraecafrxngswsthi 2 phraecacharlsthi 9 aelatxma phraecaxxngrithi 3 aemwainchwngnnkhbwnkarthangfunfusilpwithyayngkhngdaenintxip aetinkhnaediywknsngkhramsasnakhxngfrngessrahwangxuekxontaelaormnkhathxlikkphlaypraethsipdwyinkhnaediywkn singsakhythiekidkhuninsmyfunfusilpwithyakhxngfrngesskrwmthngkarerimkarpkkhrxng karephyaephrlththimnusyniym karerimtnyukhaehngkarsarwcolkihm echnody Giovanni da Verrazzano aela chakhs khartieyr karnaekha cakxitali ebxrkndi aelaxun aelakarphthnathangethkhnikhaelasilpainsakhakarphimph sthaptykrrm pratimakrrm citrkrrm dntri withyasastr aela aelakarsrangkdeknthxnsbsxnekiywkbphvtikrrminsngkhmsilpainsmyfunfusilpwithyakhxngfrngessyukhthxng phraaemmariaelaphrabutr ody chxng ofekhth raw kh s 1452 1455 inplaykhriststwrrsthi 15 karrukrankhxngfrngessekhaipinxitali aelakarthifrngessxyuimikl caksankdyukhaehngebxrkndixnrungeruxngnk thiekiywkhxngkbflanedxrs thaihfrngessidmioxkasprasbkbsinkha citrkrrm aela wiyyankhxngkarsrangsrrkhsmyfunfusilpwithyatxnehnux aela smyfunfusilpwithyaxitali aelakhwamepliynaeplngthangdansilpainrayaaerkinfrngesskmkcamacakcitrkrxitaliaelaeflmmichechn Jean Clouet aelabutrchay Francois Clouet aelacitrkrxitali Rosso Fiorentino frnechsok primatichoch Francesco Primaticcio aela Niccolo dell Abbate khxngtrakulkarekhiynthieriykknxyangimepnthangkarwathierimkhunin kh s 1531 eloxnarod da winchiexngkidrbechiymaphkinfrngessodyphraecafrxngswsthi 1 aetnxkipcakphaphekhiynthinatidtwmaaelw da winchikmiidsrangnganthiepnchinepnxnihaekrachsankfrngessaetxyangid silpainyukhnithierimtngaetrchsmykhxngphraecafrxngswsthi 1 cnthungrchsmykhxngphraecaxxngrithi 4 epnsilpathimixiththiphlcakkhbwnkarphthnacksusilpaelapratimakrrmkhxngxitalitxnplayepnxnmak inchwngthieriykwaaemnenxrism thiekiywkhxngkbngankhxngimekhil aexnecol aela pharmicanion aelaphuxun thiehnidlksnakhxngtwaebbthimisdswnthiyawaelasngakhun aelakarephimkarichthangcksu visual rhetoric hruxkarsuxkhwamhmaythangtathirwmthngkarichxupmanithsn aela tananethph inchwngnikmisilpinhlaykhnthimikhwamsamarththirwmthngcitrkrchxng ofekhthaehngtur phumichuxesiynginkarekhiynphaphsahrbhnngsuxwicitridxyangngdngam aelapratimakr Jean Goujon aela Germain Pilon aetsingthiaesdngihehnthungkhwamrungeruxngkhxngsmyfunfusilpwithyakhxngfrngesskidaekkarsrangwngaehnglumaemnalwr thimiidmilksnaepnmiidpnkarsrangprasathephuxkarpxngknkhasukxiktxip aetepnkarsrangsahrbepnthixyuxasyephuxkhwamsaraykhxngphuepnecakhxng odyichphumithsnxnnachmkhxngbriewnlumaemnalwrepnchakhlnginkaraesdngkhwamsamarththangsthaptykrrm prasathlufrekainpariskidrbkarkxsrangihmphayitkarnakhxng Pierre Lescot thiklaymaepnlksnahlkkhxngsthaptykrrmkhxng chateau hrux phrarachwngkhxngsmyfunfusilpwithyakhxngfrngessthisrangtxma thangtawntkkhxnglufraekhthethxrin edx emdichikthrngsrangphrarachwngthi thiprakxbdwyswnphumithsnkhnadihy aela grotto aetsngkhramsasnakhxngfrngesssungepnsngkhramklangemuxngthieninnanthungsamsibpiepnsingthithwngaelahmangkhwamecriythangkarsrangngansilpaxxkipcakwngkhxngkarsrangephuxsasnaaelakarokhsnachwnechuxthangkaremuxng aemriphrarachiniaehngskxtaelnd iwthukkh raw kh s 1559 1560 ngansasmsilpahlwng lxndxn phraecafrxngswsthi 1 aela frxngsws khluext raw kh s 1535 phiphithphnthlufr idaexnnklastw trakulkarekhiynfngaetngobl kh s 1550 1560 phiphithphnthlufr chychnakhxngvduhnaw raw kh s 1568 ngansasmswnbukhkhl phithiswmmngkudaek charelxmayinkrungorm culcitrkrrm chxng ofekhth wngechxnngos phrarachwngchxngbxrd pikhnungkhxngphrarachwnglufr phxbbrrcuphrathykhxng phraecafrxngswsthi 2 playaemnenxrismaelatnbaork karkhunkhrxngrachykhxngphraecaxxngrithi 4 namasukarphthnaemuxngkhnanihyinparisparisthirwmthngkarsrang Pont Neuf hrux Place Royale cturshlwng aelakartxetimphrarachwnglufr nxkcaknnaelwphraecaxxngrithi 4 kthrngechiysilpinechn Toussaint Dubreuil Martin Freminet aela Ambroise Dubois ihmasrangphrarachwngfngaetngobl thieriykwathisxng mari edx emdichismedcphrarachiniinphraecaxxngrithi 4 thrngechiycitrkreflmmichpietxr phxl ruebnsmayngfrngessephuxekhiyn phaphchudphrarachinimari edx emdichi sungepnphaphkhnadihycanwnyisibsiphaphthibrryaychiwprawtikhxngphraxngkh ephuxichtkaetngphrarachwnglkesmebirkinkrungparis citrkreflmmichxikkhnhnungthiidmathanganinrachsankkhux Frans Pourbus the younger nxkrachxanackrfrngessinkhnann echnin xanackrdyukhaehnglxraern kcaepnngankhxngplaysmyaemnenxrismthiaetktangxxkipechnthiphbinngankhxng Jacques Bellange Claude Deruet aela Jacques Callot silpinlxraernkhnannimmikartidtxkbsilpinfrngesssungthaihkarphthnaaetktangxxkipthimilksnathiaerngkwakhxngfrngess aelamkcaxxkipthangywywnxarmn erotic mannerism thirwmthngkarekhiynphaphthiepnyamklangkhun hrux karfnray nxkcaknnkepnchangphumifimuxinthang ihyasinthaelakhliemnaetngtwtxnecha raylaexiyd phrabrmrachaphiesk phrarachinimarithi mhawiharaesngtedxnis raylaexiyd pietxr phxl ruebns kh s 1622 1625 karaelkepliynecahying thiphrmaednsepn raylaexiyd pietxr phxl ruebns kh s 1622 1625 karaelkepliynecahying phraecahluysbrrlunitiphawa pietxr phxl ruebns kh s 1622 1625 karlxmemuxngebrda wrrnkrrmkhxngsmyfunfusilpwithyakhxngfrngessdntrikhxngsmyfunfusilpwithyakhxngfrngesskhwa aela say xanackrdyukhaehngebxrkndisungepnphumiphakhthiphudphasafrngessthitidkbthangthangtawnxxkfrngessepnsunyklangthangkardntrikhxngyuorpintxntnaelatxnklangkhxngkhriststwrrsthi 15 nkdntriphumichuxesiynghlaykhnkhxngyuorpthaimmacakebxrkndikedinthangipsuksacakkhitkwithinn nxkcaknnkyngmikaraelkepliynthangkardntrirahwangsankebxrkndiaelarachsankfrngessaelasthabnsasnaknxyangsmaesmxinplaykhriststwrrsthi 15 dntriepnbxekidkhxngdntriaebb polyphony khxngthimixiththiphltxdntrikhxngyuorpmacnthungplaykhriststwrrsthi 15 lksnakhxngdntrikhxngfrngessinchwngniepnlksnathibngthungexklksndntrikhxngrachsank aeladntrikhxngsthabnkhrisetiynsakhy swnihyaelwkhitkwifrngesscaimniymlksnathiraberiy b sombre khxngdntritrakulfrngess eflmmich aela phyayamsrangkhwamchdecnindanokhrngsrangkhxngdntri aelaindntrithiimekiywkbsasnaechn kcasrangkhwameba karthaihrxngidngay singability aela karthaihepnthiniymknodythwip Guillaume Dufay aela Gilles Binchois epntwxyangkhxngnkdntrikhnsakhysxngkhnkhxngtrakulebxrkndikhxngsmytnsmyfunfusilpwithya khitkwiphumichuxesiyngipthwyuorp Josquin Des Prez epnnkdntripracarachsankkhxngphraecahluysthi 12xyuchwrayahnung aelaxaccaepnphuekhiynnganchinsakhy bangchinkhunthinn echnngan ephlngsdudi 129 thixaccaekhiynsahrbnganphrabrmsphkhxngphraecahluysinpi kh s 1515 phraecafrxngswsthi 1 phuesdckhunkhrxngrachyepnphramhakstriyfrngessthrngihkhwamsakhyinkarsrangdntrixnhruhraepnsingaerk aelathrngnankdntritidtamphraxngkhipinoxkasthithrngipphbpakbsmedcphraecaehnrithi 8 aehngxngkvsinkarphbpathithungphusathxng inpi kh s 1520 ephuxepnkarxwdoxthungkhwamsamarthkhxngkardntrikhxngrachsankfrngess thikhadknwacdody Jean Mouton khitkwiphumichuxesiyngthisudinkarekhiynomettkhxngtnkhriststwrrsthi 16 aetngandntrithisakhykhxngfrngessinsmyfunfusilpwithyakhuxkarekhiynnganpraephththieriykwa chanson sungepnkhrawsdntri secular music aebb thiklaymaepndntrithiepnthiniymknepnxyangmakinkhriststwrrsthi 16 rwmthngodythwipinyuorp ephlngkhbintnkhriststwrrsthi 16 mkcaepidkhundwy yaw sn sn aela thitxmanaipichinxitaliody thiepntntxkhxng tampktiaelwephlngkhbcamiesiyngrxngsamthungsiesiyngodyimmiekhruxngdntriprakxbaetewxrchnthiniymknmkcaekhiynihmidntriprakxb khitkwikhnsakhythimichuxkhxngfrngessinkarekhiynephlngkhbkidaek Claudin de Sermisy aela Clement Janequin Le guerre odychaenxaekhngekhiynkhuninoxkaskarchlxngchychnakhxngfrngessin inpi kh s 1515 thieliynesiyngpunihy esiyngkhrangkhxngphubadecb aelaesiyngsyyanrukaelathxycakthrmept karphthnakhxngephlngkhbtxmaepnlksnathieriykwa thiehnidcakngankhxng Claude Le Jeune inaebbephlngkhbthimacakkarphthnaodyklumkwithieriykwa phayitkarnakhxng Jean Antoine de Baif sungepnthwngthanxngcnghwakhxngdntrithisathxnkarenncnghwakhxngbthrxngodytrng inkarphyayamsrangphlthangwathsastrkhxngdntrikhxngkrikobran emuxmathungplaykhriststwrrsthi 16 ephlngkhbkmaaethnthidwy air de cour sungepnpraephthephlngrxngthiniymkninfrngessemuxkhriststwrrsthi 17 sngkhramsasnamiphlxyangluksungtxkardntrikhxngfrngess xiththiphlkhxngnikaykhalwinthaihdntrithangsasnakhxngopretsaetntmilksnathiaetktangcakomettlatinxnhruhrasbsxnkhxngormnkhathxlikepnxnmak khitkwithngopretsaetntaelaormnkhathxliktangkekhiynephlngkhbthieriykwa chanson spirituelle thikhlaykbkhrawsdntriaetenuxephlngepnbthsxnthangcriythrrmaethnthi twxyangechnngankhxngkhitkwiopretsaetnt Claude Goudimel phumichuxesiynginkarekhiynephlngsdudithimiaerngbndaliccaknikaykhalwin phuthuklxbsngharinliyngrahwangehtukarnkarsngharhmuwnesntbaotholmiw aetkimichkhitkwiopretsaetntethannthithuksngharinrahwangkhwamkhdaeyngthangsasnainpi kh s 1581 khitkwiormnkhathxlik Antoine de Bertrand phumikhwamsamarthaelaekhiynnganephlngkhbiwepncanwnmakkthuksngharodyhmuchnopretsaetntintulusxangxingDobbins Frank Chanson In The Oxford Companion to Music edited by Alison Latham Oxford Music Online duephimsmyfunfusilpwithya smyfunfusilpwithyatxnehnux smyfunfusilpwithyaxitali sngkhramsasnakhxngfrngess prasathaelawngaehnglumaemnalwraehlngkhxmulxunBlunt Anthony Art and Architecture in France 1500 1700 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a imruckpharamietxr ide thuklaewn help Chastel Andre French Art Vol II The Renaissance ISBN 2 08 013583 X Chastel Andre French Art Vol III The Ancient Regime ISBN 2 08 013617 8