สมการเค็พเพลอร์ (เยอรมัน: Kepler-Gleichung) เป็นสมการอดิศัยในทาง ที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างมุมกวาดเยื้องศูนย์กลาง , มุมกวาดเฉลี่ย และ ความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร ในที่ใช้ในกฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์
เมื่อแทนค่าความเยื้องศูนย์กลาง ที่กำหนดโดยวงโคจรในสมการนี้ ตำแหน่งของดาวเคราะห์ในวงโคจรสามารถระบุได้โดยการหาค่ามุมกวาดเยื้องศูนย์กลาง ในรูปของฟังก์ชันของค่ามุมกวาดเฉลี่ย
ประวัติศาสตร์
ในหนังสือ (ละติน: Astronomia nova, ดาราศาสตร์ใหม่) ในปี ค.ศ. 1609 โยฮันเนิส เค็พเพลอร์ได้อธิบายถึงสิ่งที่ปัจจุบันรู้จักกันในชื่อว่า กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์ โดยกฎข้อที่หนึ่ง "ดาวเคราะห์โคจรด้วยโดยมีดวงอาทิตย์อยู่ที่จุดโฟกัสหนึ่ง" และกฎข้อที่สอง (กฎพื้นที่กวาดคงที่) ได้ถูกอธิบายไว้ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากในยุคสมัยของเค็พเพลอร์นั้นยังไม่มีแคลคูลัส การอธิบายทางคณิตศาสตร์จึงเป็นในทางเรขาคณิตเป็นหลัก โดยตัวเค็พเพลอร์เองได้เขียนอธิบายเป็นคำพูด ไม่ใช่เป็นสูตรทางคณิตศาสตร์ แต่หากเขียนเป็นสมการก็จะได้แบบนี้ (ดูรูปทางขวาประกอบ)
- สามเหลี่ยม KHN + เซกเตอร์ KHA
โดยที่ คือเวลานับจากที่ดาวเคราะห์โคจรผ่านจุดใกล้, คือความเยื้องศูนย์กลาง และ คือมุมกวาดเยื้องศูนย์กลาง
ต่อมาสูตรนี้ถูกเขียนใหม่ในภายหลังโดยเลอ็อนฮาร์ท อ็อยเลอร์ โดยอ็อยเลอร์ได้แสดงได้โดยใช้คาบการโคจร T เขียนเป็น
หรือใช้เฉลี่ย แล้วแสดงด้วยค่าที่เรียกว่ามุมกวาดเฉลี่ย ซึ่งนิยามโดย เขียนสมการใหม่ได้ในรูป
ซึ่งสมการในรูปแบบนี้เองที่ได้กลายมาเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อว่า สมการเค็พเพลอร์
ในยุคปัจจุบันเราสามารถระบุตำแหน่งของดาวเคราะห์ในแต่ละช่วงเวลาได้โดยการแก้สมการการเคลื่อนที่ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงตัวเลข แต่ในยุคของเค็พเพลอร์นั้นยังไม่มีวิธีการแบบนั้น รวมถึงยังไม่มีการค้นพบกฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตันด้วย ดังนั้นในการระบุตำแหน่งของดาวเคราะห์ในแต่ละช่วงเวลานั้น จึงต้องทำโดยเริ่มจากกำหนดรูปร่างของวงโคจรวงรี (กล่าวคือตัวแปร และ ของระบบพิกัดเชิงขั้วของวงรี ) แล้วก็แก้สมการของเค็พเพลอร์ นั่นคือเมื่อได้ค่ารู้ค่า และ เราต้องแก้หาว่า สามารถเขียนเป็นฟังก์ชันของ และ ได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม เนื่องจากสมการนี้เป็นสมการอดิศัย จึงต้องใช้เทคนิคที่มีความซับซ้อนในการหาผลเฉลย
การแก้
วิธีแก้สมการเค็พเพลอร์ที่เป็นที่รู้จักดีมีอยู่ 2 วิธี โดยวิธีหนึ่งคือการใช้ทฤษฎีบทของลากร็องฌ์ และอีกวิธีคือการแสดงด้วย
เมื่อใช้ทฤษฎีบทของลากร็องฌ์ เราสามารถเขียนสมการเค็พเพลอร์ในรูปของได้เป็น
โดยจะใช้ได้ดีเมื่อ มีขนาดเล็ก
ส่วนวิธีการแสดงด้วยฟังก์ชันเบ็สเซิลนั้นใช้ได้ดีแม้ในกรณีที่ ไม่ได้มีขนาดเล็ก ทำโดยแจกแจงเป็นอนุกรมฟูรีเย ซึ่งผลสุดท้ายแล้วจะได้ว่า
โดยในที่นี้ คือฟังก์ชันเบ็สเซิลอันดับที่
อ้างอิง
- 天文学辞典 » ケプラー方程式
- 木下宙 (1998). 天体と軌道の力学. 東京大学出版会. ISBN .
- 数学セミナー増刊「数学・物理100の方程式」日本評論社、、p.134.
- 「数学・物理100の方程式」p.135.
- 「岩波数学公式Ⅱ」新装版、岩波書店、1987年、、p.129.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
smkarekhphephlxr eyxrmn Kepler Gleichung epnsmkarxdisyinthang thiichxthibaykhwamsmphnthrahwangmumkwadeyuxngsunyklang E displaystyle E mumkwadechliy M displaystyle M aela khwameyuxngsunyklangkhxngwngokhcr e displaystyle e inthiichinkdkarekhluxnthikhxngdawekhraahkhxngekhphephlxrphlechlykhxngsmkarekhphephlxrsahrbwngokhcrthimikhakhwameyuxngsunyklang e displaystyle e tangkniptngaet 0 cnthung 1 M E esin E displaystyle M E e sin E emuxaethnkhakhwameyuxngsunyklang e displaystyle e thikahndodywngokhcrinsmkarni taaehnngkhxngdawekhraahinwngokhcrsamarthrabuidodykarhakhamumkwadeyuxngsunyklang E displaystyle E inrupkhxngfngkchnkhxngkhamumkwadechliy M displaystyle M prawtisastrcud M khuxtaaehnngkhxngdawekhraah cud N khuxtaaehnngdwngxathity xyuthicudofkskhxngkhxngdawekhraah cud A khuxcudikldwngxathitythisud inhnngsux latin Astronomia nova darasastrihm inpi kh s 1609 oyhnenis ekhphephlxridxthibaythungsingthipccubnruckkninchuxwa kdkarekhluxnthikhxngdawekhraahkhxngekhphephlxr odykdkhxthihnung dawekhraahokhcrdwyodymidwngxathityxyuthicudofkshnung aelakdkhxthisxng kdphunthikwadkhngthi idthukxthibayiw xyangirktam enuxngcakinyukhsmykhxngekhphephlxrnnyngimmiaekhlkhuls karxthibaythangkhnitsastrcungepninthangerkhakhnitepnhlk odytwekhphephlxrexngidekhiynxthibayepnkhaphud imichepnsutrthangkhnitsastr aethakekhiynepnsmkarkcaidaebbni durupthangkhwaprakxb t displaystyle t propto samehliym KHN esketxr KHA 12 E esin E displaystyle frac 1 2 E e sin E odythi t displaystyle t khuxewlanbcakthidawekhraahokhcrphancudikl e displaystyle e khuxkhwameyuxngsunyklang aela E displaystyle E khuxmumkwadeyuxngsunyklang txmasutrnithukekhiynihminphayhlngodyelxxnharth xxyelxr odyxxyelxridaesdngidodyichkhabkarokhcr T ekhiynepn tT E esin E2p displaystyle frac t T frac E e sin E 2 pi hruxichechliy n 2p T displaystyle n 2 pi T aelwaesdngdwykhathieriykwamumkwadechliy sungniyamody M nt displaystyle M nt ekhiynsmkarihmidinrup M E esin E displaystyle M E e sin E sungsmkarinrupaebbniexngthiidklaymaepnthiruckodythwipinchuxwa smkarekhphephlxr inyukhpccubnerasamarthrabutaaehnngkhxngdawekhraahinaetlachwngewlaidodykaraeksmkarkarekhluxnthidwywithikarwiekhraahechingtwelkh aetinyukhkhxngekhphephlxrnnyngimmiwithikaraebbnn rwmthungyngimmikarkhnphbkdkhwamonmthwngsaklkhxngniwtndwy dngnninkarrabutaaehnngkhxngdawekhraahinaetlachwngewlann cungtxngthaodyerimcakkahndruprangkhxngwngokhcrwngri klawkhuxtwaepr e displaystyle e aela l displaystyle l khxngrabbphikdechingkhwkhxngwngri r l 1 ecos 8 displaystyle r l 1 e cos theta aelwkaeksmkarkhxngekhphephlxr nnkhuxemuxidkharukha M displaystyle M aela e displaystyle e eratxngaekhawa E displaystyle E samarthekhiynepnfngkchnkhxng M displaystyle M aela e displaystyle e idxyangir xyangirktam enuxngcaksmkarniepnsmkarxdisy cungtxngichethkhnikhthimikhwamsbsxninkarhaphlechlykaraekwithiaeksmkarekhphephlxrthiepnthiruckdimixyu 2 withi odywithihnungkhuxkarichthvsdibthkhxnglakrxngch aelaxikwithikhuxkaraesdngdwy emuxichthvsdibthkhxnglakrxngch erasamarthekhiynsmkarekhphephlxrinrupkhxngidepn E esin M e22sin 2M displaystyle E e sin M frac e 2 2 sin 2M cdots odycaichiddiemux e displaystyle e mikhnadelk swnwithikaraesdngdwyfngkchnebsesilnnichiddiaeminkrnithi e displaystyle e imidmikhnadelk thaodyaeckaecngepnxnukrmfuriey sungphlsudthayaelwcaidwa E M n 1 2nJn ne sin nM displaystyle E M sum n 1 infty frac 2 n J n ne sin nM odyinthini Jn displaystyle J n khuxfngkchnebsesilxndbthi n displaystyle n Jn z 1p 0pcos zsin 8 n8 d8 displaystyle J n z frac 1 pi int 0 pi cos z sin theta n theta d theta xangxing天文学辞典 ケプラー方程式 木下宙 1998 天体と軌道の力学 東京大学出版会 ISBN 978 4 13 060721 6 数学セミナー増刊 数学 物理100の方程式 日本評論社 ISBN 4 535 70409 0 p 134 数学 物理100の方程式 p 135 岩波数学公式 新装版 岩波書店 1987年 ISBN 4 00 005508 9 p 129