สถาปัตยกรรมอินเดีย หมายถึงสถาปัตยกรรมที่พบในประเทศอินเดียปัจจุบัน หยั่งรากมาจากประวัติศาสตร์ของชาติอินเดีย, และ ศาสนาที่เกิดขึ้นในอินเดีย ซึ่งมีการวิวัฒนาการและพัฒนา แตกต่างกันไปตามยุคสมัยและพื้นที่ ได้รับอิทธิพลจากภายนอกในแต่ละยุค ทั้ง กรีก, โรมัน, เปอร์เซีย และ อิสลาม ผสมผสานกับสถาปัตยกรรมยุคก่อน ๆ และงานศิลปะที่อุทิศเพื่อกษัตริย์และศาสนาอย่างลงตัว
ทัชมาฮาล ผลงานชิ้นเอกของสถาปัตยกรรมโมกุล | บ่อน้ำขั้นบันไดอทาลัช สร้างด้วยอิทธิพลของสถาปัตยกรรมฮินดู |
โลทัสเทมเพิล อาคารยุคสาธารณรัฐที่มีชื่อเสียง |
ยุคอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ (3300 ปีก่อน ค.ศ. – 1700 ปีก่อน ค.ศ.)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุครอบคุลมพื้นที่ขนาดใหญ่ล้อมรอบแม่น้ำสินธุและบริเวณโดยรอบ ในยุคที่อารยธรรมเจริญรุ่งเรืองมาก (2600–1900 BCE) ได้กำเนิดเมืองจำนวนหนึ่งที่มีความเป็นแบบแผนเดียวกัน ได้แก่ ฮารัปปา, และ โมเหนโจ-ดาโร หนึ่งในแหล่งมรดกโลก การวางผังเมืองและการวิศวกรรมของเมืองเหล่านี้น่าสนใจมาก ในขณะที่การออกแบบอาคารต่าง ๆ นั้นยังเป็นแบบ "ยึดประโยชน์ใช้สอยเป็นสำคัญ" (utilitarian) กล่าวคือไม่ค่อยมีการประดิดประดอยหรือตกแต่งให้สวยงามวิจิตร จากหลักฐานพบ, ระบบชลประทานและท่อน้ำ, ที่เก็บน้ำ แต่ยังไม่สามารถระบุว่าพบสิ่งก่อสร้างที่เป็นปราสาทหรือศาสนสถานได้ บางเมืองพบการสร้างป้อมปราการ "citadel" นอกจากนี้ยังพบบ่อน้ำอันนำมาสู่การสร้างบ่อน้ำขั้นบันได (stepwell) ในแค่ส่วนหนึ่งของเมืองอาจพบได้มากถึง 700 บ่อ นักวิชาการบางคนจึงเชื่อว่าอารยธรรมฯ นี้เป็นผู้คิดค้นการขุดบ่อน้ำอิฐทรงกระบอก (cylindrical brick lined wells)
การตกแต่งเชิงสถาปัตยกรรมนั้นพบได้น้อยมาก ถึงแม้จะพบ "รูเล็ก ๆ " ในผนังบางตึกก็ตาม งานศิลปะส่วนมากที่พบทำมาจากดินเผา (terracotta) และมีขนาดเล็กจิ๋ว เช่น พวกตราหรือโล่ต่าง ๆ ส่วนรูปปั้นขนาดใหญ่โตนั้นแทบไม่พบเลย ส่วนมากแล้วการก่อสร้างด้วยอิฐนั้นทำมาจากอิฐแบบเผาไฟ ซึ่งต่างกับอีกอารยธรรมใกล้เคียงกันคือเมโสโปเตเมีย ที่ใช้อิฐชนิดผึ่งแดด น้อยมากที่จะสร้างด้วยหิน เช่นใน ธลวีระ (Dholavira) บ้านเรือนส่วนใหญ่มีสองชั้น มีขนาดและแปลนที่เหมือน ๆ กันเมืองใหญ่ ๆ นั้นลดลงอย่างรวดเร็วตามลำดับโดยไม่รู้สาเหตุ เหลือไว้แต่เพียงซากหมู่บ้านและวัฒนธรรมที่ซับซ้อนน้อยกว่าให้ชม
มหาชนะปัท (600 ปีก่อน ค.ศ. – 320 ปีก่อน ค.ศ. )
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคคลาสสิก (320 ปีก่อน ค.ศ. - 550 ปีก่อน ค.ศ. )
อนุสรณ์หินขนาดใหญ่
ระลอกการสร้างสิ่งก่อสร้างใหม่นี้มาพร้อมกับจักรวรรดิเมารยะ ในปาฏลีบุตรเมืองหลวงของเมารยะซึ่งได้รับการกล่าวขานว่ามีขนาดมหึมาโดยทูตชาวกรีก อนุสรณ์สถานหินขนาดใหญ่โตเหล่านี้ได้รับอิทธิพลโดยตรงจากเปอร์เซียยุคแรกและจากอารยธรรมกรีก
ต่อมาในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช ผู้ทรงมีความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาอย่างมาก พระองค์ได้มีพระราชกระแสให้ตั้งเสาแห่งอโศกขึ้นตามวัดพุทธต่าง ๆ และพระองค์ยังทรงสร้างสถูปอีกจำนวนราว 84.000 แห่ง ทั่วอินเดีย ภายในนั้นบรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าที่พระองค์รับสั่งให้ขุดออกมาจากสถูปโบราณในสมัยพุทธองค์ซึ่งล้วนเสื่อมสลายไปตามกาลเวลา เป็นที่ยอมรับกันว่าสถูปต่าง ๆ นั้นเริ่มมีการสร้างขึ้นและวิวัฒนาการขึ้นเป็นลำดับตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นต้นมา เช่น สถูปสาญจี, เกสริยาสถูป ที่ล้วนพบเสาแห่งอโศกตั้งอยู่ด้วยทั้งสิ้น สถูปอื่น ๆ ที่เป็นไปได้ว่าสร้างโดยพระองค์หรือได้รับอิทธิพลจากสถูปในรัชสมัยพระองค์ เช่น , และ ธรรมราชิกสถูป ในคันธาระ
พระองค์ยังทรงสร้างวัดมหาโพธิ์หลังแรกที่พุทธคยาล้อมรอบต้นศรีมหาโพธิ์ ซึ่งภายในประกอบไปด้วยผลงานชิ้นเอก เช่น (พระที่นั่งเพชร) และพระองค์ยังทรงนิยมสร้างโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสัตว์ขึ้นทุกที่ที่พระองค์เสด็จไป นี่ถือเป็นช่วงเวลาที่ศิลปะอินเดียได้รับอิทธิพลมากและเฟื่องฟู
ในสมัยจักรวรรดิเมารยะ (321 - 185 ปีก่อน ค.ศ.) ได้สร้างบ้านเมืองที่ล้อมด้วยกำแพงเมือง และในเมืองเต็มไปด้วยสถูป วิหาร ผลงานชิ้นสำคัญ เช่น ปาฏลีบุตร และเสาแห่งอโศก ซึ่งโดเด่นและยิ่งใหญ่ เมื่อเปรียบเทียบกับอารยธรรมอื่น ๆ ในสมัยเดียวกันในส่วนอื่นของโลก ผลงานของเมารยะถือว่าโดดเด่นกว่าใคร จอห์น มาร์แชล (นักโบราณคดี) เคยถึงกับยอมรับว่า ผลงานของเมารยะนั้นถือว่าเอาชนะผลงานที่ดีที่สุดของพวกเอเธนส์ (กรีก) ในสมัยเดียวกันไปได้สบาย ๆ เลย
ถ้ำเจาะหิน
ในช่วงเวลาเดียวกันก็เริ่มต้นที่จะพัฒนา ถ้ำแรกที่มีการเจาะหินและแกะสลักเข้าไปคือ (Barabar Caves) ในรัฐพิหาร สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นเพื่อระลึกถึงพระเจ้าอโศกมหาราช การเจาะหินเข้าไปในเขาเพื่อสร้างถ้ำฝีมือมนุษย์นี้แสดงให้เห็นถึงความสามารถออันเหนือชั้นในการเจาะหินแกรนิตซึ่งแข็งและยากที่จะเจาะ แต่สามารถเจาะออกมาเป็นรูปร่างและรูปทรงที่ถูกต้องตามหลักทางเรขาคณิต นอกจากนี้ยังขัดผิวหินเหล่านี้จนเงามันและสามารถสะท้อนเหมือนกระจกเงาได้
เชื่อกันว่าหลังการล่มสลายของจักรวรรดิเมารยะประมาณ 200 ปีก่อน ค.ศ. รวมกับการกวาดล้างชาวพุทธของ ชาวพุทธหนีภัยไปบริเวณ ภายใต้การปกป้องของจักรวรรดิสาตวาหนะ ชาวพุทธได้นำเทคนิคการเจาะถ้ำนี้ไปยังบริเวณตะวันตกของอินเดียนี้ด้วย ถ้ำเจาะหินในยุคนี้มีขนาดใหญ่ขึ้นและเกี่ยวพันกับศาสนาอย่างชัดเจน โดยมักสร้างเป็นศาสนสถานหรือประกอบพิธีกรรมของศาสนาพุทธและศาสนาเชน ถ้ำเจาะในยุคนี้ เช่น ถ้ำการเล (Karla Caves) และ (Pandavleni Caves) ถ้ำเหล่านี้มีแปลนการสร้างที่วางแผนมาอย่างดี พบว่าโดยทั่วไปจะสร้างสถูปด้านหลังห้องเจดีย์ (Chaitya) เป็นทรง และห้องหับร้อมล้อมถ้ำเป็นวิหาร สร้างดวยแปลนทรงสี่เหลี่ยม ถ้ำเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนจากเงินบริจาคจากพ่อค้า นักบวช พระ รัฐบาล หรือแม้แต่ ชาวกรีก โดยบุคคลเหล่านี้จะได้รับการจารึกชื่อผู้บริจาคไว้ในถ้ำ คิดเป็นประมาณ 8% ของจารึกทั้งหมด
การเจาะถ้ำนี้เริ่มเสื่อมถอยลงหลังราวคริสต์ศตวรรษที่ 2 อาจด้วยเพราะศาสนาพุทธอีกนิกายคือ มหายาน กำลังเจริญรุ่งเรืองขึ้น และงานสร้างทั้งสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมในคันธาระและที่หนักหน่วงขึ้นเรื่อย ๆ ถ้ำเจาะหินเริ่มกลับมาอีกครั้งในราวคริสต์ศตวรรษที่ 5 ตัวอย่างสำคัญคือ ถ้ำอชันตา และ ถ้ำเอลโลรา จนเมื่อในที่สุดศาสนาฮินดูเข้ามาเป็นศาสนาหลักในอินเดีย ความนิยมในการสรางศาสนสถานแบบอาคารตั้งสูง (stand-alone) ก็เข้ามาแทนที่การสร้างเจาะหินเป็นถ้ำแทน
สถาปัตยกรรมเจาะหินยังมาควบคู่กับการพัฒนาบ่อน้ำขั้นบันได (Stepwell) เช่นกัน ประมาณ ค.ศ. 200 - 400 ยาวจนถึง ค.ศ. 950 บ่อน้ำขั้นบันไดเริ่มมีการพัฒนาและวิจิตรขึ้นมาก
สถูปที่ตกแต่งอย่างวิจิตร
สถูปต่าง ๆ เริ่มมีการตกแต่งอย่างวิจิตรด้วยรูปสลักนูนต่ำ โดยมีครั้งแรกที่ (125 BCE) การตกแต่งเชิงประติมากรรมและภาพสลักพุทธประวัติต่อมาเริ่มพบที่ (115 BCE), พุทธคยา (60 BCE), (125–60 BCE), อีกครั้งที่ซึ่งพบการตั้งเสาโตรณะขึ้นครั้งแรก และที่ ต่อมาสถูปเริ่มแพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ เอเชียตะวันออก พร้อมกับการเข้ามาของศาสนาพุทธ ซุ้มโตรณะนั้น นักวิชาการบางคนเชื่อว่าพัฒนาเป็นซุ้มโทริอิของญี่ปุ่นในปัจจุบัน
วัดและโบสถ์พราหมณ์
วัดที่สร้างในสมัยนี้สามารถจำแนกเป็นรูปทรงต่าง ๆ ของอาคารวัดที่เหลืออยู่แบบตั้งเดี่ยว (stand alone) ได้แก่ รูปไข่ (elliptical), รูปกลม (circular), รูปสี่เหลี่ยม (quadrilateral), รูปสามเหลี่ยมกุด (truncated pyramidal) อย่างเช่นที่เจดีย์มหาโพธิ์ และทรงแอพไซดอล (apsiadal)
ยุคกลางตอนต้น (ค.ศ. 550 - 1200)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคกลางตอนปลาย (ค.ศ. 1100 - 1526)
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคใหม่ตอนต้น (ค.ศ. 1500 - 1858)
สถาปัตยกรรมราชบุตร
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สถาปัตยกรรมพระพุทธศาสนา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สถาปัตยกรรมอินโด-อิสลามตอนปลาย
สถาปัตยกรรมโมกุล
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ลักษณะพื้นถิ่น
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สถาปัตยกรรมมราฐา
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สถาปัตยกรรมซิกข์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคอาณานิคมยุโรป
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ยุคปัจจุบัน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
- See Raj Jadhav, pp. 7–13 in Modern Traditions: Contemporary Architecture in India.
- Takezawa, Suichi. "Stepwells -Cosmology of Subterranean Architecture as seen in Adalaj" (pdf). The Diverse Architectural World of The Indian Sub-Continent. สืบค้นเมื่อ 2009-11-18.
- Rowland, 31–34, 32 quoted; Harle, 15–18
- Livingstone & Beach, 19
- Rowland, 31–34, 33 quoted; Harle, 15–18
- Buddhist Architecture, Lee Huu Phuoc, Grafikol 2009, pp. 140–174
- Piercey & Scarborough (2008)
- See Stanley Finger (2001), Origins of Neuroscience: A History of Explorations Into Brain Function, Oxford University Press, p. 12, ISBN .
- Chandra (2008)
- The Early History of India by Vincent A. Smith
- Annual report 1906–07 [1] p. 89
- Buddhist Architecture, Le Huu Phuoc, Grafikol 2009, pp. 97–99
- Buddhist architecture, Lee Huu Phuoc, Grafikol 2009, pp. 98–99
- "Ajanta Caves". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-03-12.
- Livingston & Beach, xxiii
- Centre, UNESCO World Heritage. "Buddhist Monuments at Sanchi". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2019-03-23.
- Buddhist Architecture, Lee Huu Phuoc, Grafikol 2009, pp. 149- –150
- Encyclopædia Britannica (2008), Pagoda.
- Encyclopædia Britannica (2008), torii
- Japanese Architecture and Art Net Users System (2001), torii.
แหล่งข้อมูล
- Blair, S. S., & Bloom, J. M. (1996), The art and architecture of Islam 1250-1800, Yale University Press.
- Chandra, Pramod (2008), "South Asian arts", Encyclopædia Britannica
- Evenson, Norma (1989). The Indian Metropolis. New Haven and London: Yale University press. ISBN .
- Foekema, Gerard (1996), A Complete Guide to Hoysaḷa Temples, Abhinav Publications, ISBN .
- Gast, Klaus-Peter (2007), Modern Traditions: Contemporary Architecture in India, Birkhäuser, ISBN .
- Harle, J.C. (1994). The Art and Architecture of the Indian Subcontinent. Pelican History of Art (2nd ed.). Yale University Press. ISBN .
- (1907). Historic Landmarks of the Deccan. Allahabad: The Pioneer Press.
- Hegewald, Julia A. B. (2011). "The International Jaina Style? Māru-Gurjara Temples Under the Solaṅkīs, throughout India and in the Diaspora". Ars Orientalis. 45 (20191029). doi:10.3998/ars.13441566.0045.005. ISSN 2328-1286.
- Le Huu Phuoc, Buddhist Architecture, 2009, Grafikol
- Livingston, Morna & Beach, Milo (2002), Steps to Water: The Ancient Stepwells of India, Princeton Architectural Press, ISBN .
- Michell, George, (1977) The Hindu Temple: An Introduction to its Meaning and Forms, 1977, University of Chicago Press, ISBN
- Michell, George (1990), The Penguin Guide to the Monuments of India, Volume 1: Buddhist, Jain, Hindu, 1990, Penguin Books, ISBN
- Michell, George (1995). Architecture and Art of Southern India: Vijayanagara and the Successor States 1350–1750. Cambridge University Press. ISBN .
- Nilsson, Sten (1968). European Architecture in India 1750–1850. London: Faber and Faber. ISBN .
- Piercey, W. Douglas & Scarborough, Harold (2008), hospital, Encyclopædia Britannica.
- Possehl, Gregory L. (1996), "Mehrgarh", Oxford Companion to Archaeology edited by Brian Fagan, Oxford University Press.
- Rowland, Benjamin, The Art and Architecture of India: Buddhist, Hindu, Jain, 1967 (3rd edn.), Pelican History of Art, Penguin, ISBN
- Savage, George (2008), interior design, Encyclopædia Britannica.
- Sen, Sailendra Nath (1999). Ancient Indian history and civilization (2 ed.). New Delhi: New Age International. ISBN . OCLC 133102415.
- Tadgell, Christopher (1990). The history of architecture in India : from the dawn of civilization to the end of the Raj. London: Architecture Design and Technology Press. ISBN .
- Thapar, Bindia (2004). Introduction to Indian Architecture. Singapore: Periplus Editions. ISBN .
- Rodda & Ubertini (2004), The Basis of Civilization-Water Science?, International Association of Hydrological Science, ISBN .
- Sinopoli, Carla M. (2003), The Political Economy of Craft Production: Crafting Empire in South India, C. 1350–1650, Cambridge University Press, ISBN .
- Sinopoli, Carla M. (2003), "Echoes of Empire: Vijayanagara and Historical Memory, Vijayanagara as Historical Memory", Archaeologies of memory edited by Ruth M. Van Dyke & Susan E. Alcock, Blackwell Publishing, ISBN .
- Singh, Vijay P. & Yadava, R. N. (2003), Water Resources System Operation: Proceedings of the International Conference on Water and Environment, Allied Publishers, ISBN .
- (1995). (บ.ก.). The Javanese Candi: Function and Meaning, Volume 17 from Studies in Asian Art and Archaeology, Vol 17. Leiden: E.J. BRILL. ISBN .
- Vastu-Silpa Kosha, Encyclopedia of Hindu Temple architecture and Vastu/S.K.Ramachandara Rao, Delhi, Devine Books, (Lala Murari Lal Chharia Oriental series) ISBN (Set)
- Yazdani, Ghulam (1947). Bidar, Its History and Monuments.
อ่านเพิ่มเติม
- (1913). Indian Architecture, its psychology, structure, and history from the first Muhammadan invasion to the present day. J. Murray, London.
- (1914). Viśvakarmā; examples of Indian architecture, sculpture, painting, handicraft. London.
- (1915). The Ancient and Medieval Architecture of India: a study of Indo-Aryan civilisation. John Murray, London.
- ; Cruickshank, Dan, Sir Banister Fletcher's a History of Architecture, Architectural Press, 20th edition, 1996 (first published 1896). ISBN . Cf. Part Four, Chapter 26.
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมอินเดีย
- Kamiya, Taeko, The Architecture of India.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sthaptykrrmxinediy hmaythungsthaptykrrmthiphbinpraethsxinediypccubn hyngrakmacakprawtisastrkhxngchatixinediy aela sasnathiekidkhuninxinediy sungmikarwiwthnakaraelaphthna aetktangkniptamyukhsmyaelaphunthi idrbxiththiphlcakphaynxkinaetlayukh thng krik ormn epxresiy aela xislam phsmphsankbsthaptykrrmyukhkxn aelangansilpathixuthisephuxkstriyaelasasnaxyanglngtwthchmahal phlnganchinexkkhxngsthaptykrrmomkulbxnakhnbnidxthalch srangdwyxiththiphlkhxngsthaptykrrmhindusrirngkhnathswamimnethiyr twxyangsthaptykrrmdrawiediynolthsethmephil xakharyukhsatharnrththimichuxesiyngyukhxarythrrmlumaemnasinthu 3300 pikxn kh s 1700 pikxn kh s omehnoc daor hnunginemuxngthiihythisudinxarythrrmlumaemnasinthu xarythrrmlumaemnasinthukhrxbkhulmphunthikhnadihylxmrxbaemnasinthuaelabriewnodyrxb inyukhthixarythrrmecriyrungeruxngmak 2600 1900 BCE idkaenidemuxngcanwnhnungthimikhwamepnaebbaephnediywkn idaek harppa aela omehnoc daor hnunginaehlngmrdkolk karwangphngemuxngaelakarwiswkrrmkhxngemuxngehlaninasnicmak inkhnathikarxxkaebbxakhartang nnyngepnaebb yudpraoychnichsxyepnsakhy utilitarian klawkhuximkhxymikarpradidpradxyhruxtkaetngihswyngamwicitr cakhlkthanphb rabbchlprathanaelathxna thiekbna aetyngimsamarthrabuwaphbsingkxsrangthiepnprasathhruxsasnsthanid bangemuxngphbkarsrangpxmprakar citadel nxkcakniyngphbbxnaxnnamasukarsrangbxnakhnbnid stepwell inaekhswnhnungkhxngemuxngxacphbidmakthung 700 bx nkwichakarbangkhncungechuxwaxarythrrm niepnphukhidkhnkarkhudbxnaxiththrngkrabxk cylindrical brick lined wells kartkaetngechingsthaptykrrmnnphbidnxymak thungaemcaphb ruelk inphnngbangtukktam ngansilpaswnmakthiphbthamacakdinepha terracotta aelamikhnadelkciw echn phwktrahruxoltang swnruppnkhnadihyotnnaethbimphbely swnmakaelwkarkxsrangdwyxithnnthamacakxithaebbephaif sungtangkbxikxarythrrmiklekhiyngknkhuxemosopetemiy thiichxithchnidphungaedd nxymakthicasrangdwyhin echnin thlwira Dholavira baneruxnswnihymisxngchn mikhnadaelaaeplnthiehmuxn knemuxngihy nnldlngxyangrwderwtamladbodyimrusaehtu ehluxiwaetephiyngsakhmubanaelawthnthrrmthisbsxnnxykwaihchmmhachnapth 600 pikxn kh s 320 pikxn kh s swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhkhlassik 320 pikxn kh s 550 pikxn kh s xnusrnhinkhnadihy esaaehngxoskthisthupsayci ralxkkarsrangsingkxsrangihmnimaphrxmkbckrwrrdiemarya inpatlibutremuxnghlwngkhxngemaryasungidrbkarklawkhanwamikhnadmhumaodythutchawkrik xnusrnsthanhinkhnadihyotehlaniidrbxiththiphlodytrngcakepxresiyyukhaerkaelacakxarythrrmkrik txmainrchsmykhxngphraecaxoskmharach phuthrngmikhwameluxmisinphraphuththsasnaxyangmak phraxngkhidmiphrarachkraaesihtngesaaehngxoskkhuntamwdphuththtang aelaphraxngkhyngthrngsrangsthupxikcanwnraw 84 000 aehng thwxinediy phayinnnbrrcuphrabrmsaririkthatukhxngphraphuththecathiphraxngkhrbsngihkhudxxkmacaksthupobraninsmyphuththxngkhsunglwnesuxmslayiptamkalewla epnthiyxmrbknwasthuptang nnerimmikarsrangkhunaelawiwthnakarkhunepnladbtngaetrchsmyphraecaxoskmharachepntnma echn sthupsayci eksriyasthup thilwnphbesaaehngxosktngxyudwythngsin sthupxun thiepnipidwasrangodyphraxngkhhruxidrbxiththiphlcaksthupinrchsmyphraxngkh echn aela thrrmrachiksthup inkhnthara phraxngkhyngthrngsrangwdmhaophthihlngaerkthiphuththkhyalxmrxbtnsrimhaophthi sungphayinprakxbipdwyphlnganchinexk echn phrathinngephchr aelaphraxngkhyngthrngniymsrangorngphyabalaelaorngphyabalstwkhunthukthithiphraxngkhesdcip nithuxepnchwngewlathisilpaxinediyidrbxiththiphlmakaelaefuxngfu insmyckrwrrdiemarya 321 185 pikxn kh s idsrangbanemuxngthilxmdwykaaephngemuxng aelainemuxngetmipdwysthup wihar phlnganchinsakhy echn patlibutr aelaesaaehngxosk sungodednaelayingihy emuxepriybethiybkbxarythrrmxun insmyediywkninswnxunkhxngolk phlngankhxngemaryathuxwaoddednkwaikhr cxhn maraechl nkobrankhdi ekhythungkbyxmrbwa phlngankhxngemaryannthuxwaexachnaphlnganthidithisudkhxngphwkexethns krik insmyediywknipidsbay ely thaecaahin ecdiy Chaitya hlkkhxngthakarel Karla Caves inchwngewlaediywknkerimtnthicaphthna thaaerkthimikarecaahinaelaaekaslkekhaipkhux Barabar Caves inrthphihar snnisthanwasrangkhunephuxralukthungphraecaxoskmharach karecaahinekhaipinekhaephuxsrangthafimuxmnusyniaesdngihehnthungkhwamsamarthxxnehnuxchninkarecaahinaekrnitsungaekhngaelayakthicaecaa aetsamarthecaaxxkmaepnruprangaelarupthrngthithuktxngtamhlkthangerkhakhnit nxkcakniyngkhdphiwhinehlanicnengamnaelasamarthsathxnehmuxnkrackengaid echuxknwahlngkarlmslaykhxngckrwrrdiemaryapraman 200 pikxn kh s rwmkbkarkwadlangchawphuththkhxng chawphuththhniphyipbriewn phayitkarpkpxngkhxngckrwrrdisatwahna chawphuththidnaethkhnikhkarecaathaniipyngbriewntawntkkhxngxinediynidwy thaecaahininyukhnimikhnadihykhunaelaekiywphnkbsasnaxyangchdecn odymksrangepnsasnsthanhruxprakxbphithikrrmkhxngsasnaphuththaelasasnaechn thaecaainyukhni echn thakarel Karla Caves aela Pandavleni Caves thaehlanimiaeplnkarsrangthiwangaephnmaxyangdi phbwaodythwipcasrangsthupdanhlnghxngecdiy Chaitya epnthrng aelahxnghbrxmlxmthaepnwihar srangdwyaeplnthrngsiehliym thaehlaniidrbkarsnbsnundanenginthuncakenginbricakhcakphxkha nkbwch phra rthbal hruxaemaet chawkrik odybukhkhlehlanicaidrbkarcarukchuxphubricakhiwintha khidepnpraman 8 khxngcarukthnghmd karecaathanierimesuxmthxylnghlngrawkhriststwrrsthi 2 xacdwyephraasasnaphuththxiknikaykhux mhayan kalngecriyrungeruxngkhun aelangansrangthngsthaptykrrmaelasilpkrrminkhntharaaelathihnkhnwngkhuneruxy thaecaahinerimklbmaxikkhrnginrawkhriststwrrsthi 5 twxyangsakhykhux thaxchnta aela thaexlolra cnemuxinthisudsasnahinduekhamaepnsasnahlkinxinediy khwamniyminkarsrangsasnsthanaebbxakhartngsung stand alone kekhamaaethnthikarsrangecaahinepnthaaethn sthaptykrrmecaahinyngmakhwbkhukbkarphthnabxnakhnbnid Stepwell echnkn praman kh s 200 400 yawcnthung kh s 950 bxnakhnbniderimmikarphthnaaelawicitrkhunmak sthupthitkaetngxyangwicitr sthuptang erimmikartkaetngxyangwicitrdwyrupslknunta odymikhrngaerkthi 125 BCE kartkaetngechingpratimakrrmaelaphaphslkphuththprawtitxmaerimphbthi 115 BCE phuththkhya 60 BCE 125 60 BCE xikkhrngthisungphbkartngesaotrnakhunkhrngaerk aelathi txmasthuperimaephrhlayinexechiytawnxxkechiyngit aela exechiytawnxxk phrxmkbkarekhamakhxngsasnaphuthth sumotrnann nkwichakarbangkhnechuxwaphthnaepnsumothrixikhxngyipuninpccubn wdaelaobsthphrahmn wdthisranginsmynisamarthcaaenkepnrupthrngtang khxngxakharwdthiehluxxyuaebbtngediyw stand alone idaek rupikh elliptical rupklm circular rupsiehliym quadrilateral rupsamehliymkud truncated pyramidal xyangechnthiecdiymhaophthi aelathrngaexphisdxl apsiadal yukhklangtxntn kh s 550 1200 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhklangtxnplay kh s 1100 1526 swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhihmtxntn kh s 1500 1858 sthaptykrrmrachbutr swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsthaptykrrmphraphuththsasna swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsthaptykrrmxinod xislamtxnplay sthaptykrrmomkul swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidlksnaphunthin swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsthaptykrrmmratha swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsthaptykrrmsikkh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhxananikhmyuorpswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidyukhpccubnswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxingSee Raj Jadhav pp 7 13 in Modern Traditions Contemporary Architecture in India Takezawa Suichi Stepwells Cosmology of Subterranean Architecture as seen in Adalaj pdf The Diverse Architectural World of The Indian Sub Continent subkhnemux 2009 11 18 Rowland 31 34 32 quoted Harle 15 18 Livingstone amp Beach 19 Rowland 31 34 33 quoted Harle 15 18 Buddhist Architecture Lee Huu Phuoc Grafikol 2009 pp 140 174 Piercey amp Scarborough 2008 See Stanley Finger 2001 Origins of Neuroscience A History of Explorations Into Brain Function Oxford University Press p 12 ISBN 0 19 514694 8 Chandra 2008 The Early History of India by Vincent A Smith Annual report 1906 07 1 p 89 Buddhist Architecture Le Huu Phuoc Grafikol 2009 pp 97 99 Buddhist architecture Lee Huu Phuoc Grafikol 2009 pp 98 99 Ajanta Caves UNESCO World Heritage Centre phasaxngkvs subkhnemux 2019 03 12 Livingston amp Beach xxiii Centre UNESCO World Heritage Buddhist Monuments at Sanchi UNESCO World Heritage Centre phasaxngkvs subkhnemux 2019 03 23 Buddhist Architecture Lee Huu Phuoc Grafikol 2009 pp 149 150 Encyclopaedia Britannica 2008 Pagoda Encyclopaedia Britannica 2008 torii Japanese Architecture and Art Net Users System 2001 torii aehlngkhxmulBlair S S amp Bloom J M 1996 The art and architecture of Islam 1250 1800 Yale University Press Chandra Pramod 2008 South Asian arts Encyclopaedia Britannica Evenson Norma 1989 The Indian Metropolis New Haven and London Yale University press ISBN 978 0 300 04333 4 Foekema Gerard 1996 A Complete Guide to Hoysaḷa Temples Abhinav Publications ISBN 81 7017 345 0 Gast Klaus Peter 2007 Modern Traditions Contemporary Architecture in India Birkhauser ISBN 978 3 7643 7754 0 Harle J C 1994 The Art and Architecture of the Indian Subcontinent Pelican History of Art 2nd ed Yale University Press ISBN 0300062176 1907 Historic Landmarks of the Deccan Allahabad The Pioneer Press Hegewald Julia A B 2011 The International Jaina Style Maru Gurjara Temples Under the Solaṅkis throughout India and in the Diaspora Ars Orientalis 45 20191029 doi 10 3998 ars 13441566 0045 005 ISSN 2328 1286 Le Huu Phuoc Buddhist Architecture 2009 Grafikol Livingston Morna amp Beach Milo 2002 Steps to Water The Ancient Stepwells of India Princeton Architectural Press ISBN 1 56898 324 7 Michell George 1977 The Hindu Temple An Introduction to its Meaning and Forms 1977 University of Chicago Press ISBN 978 0 226 53230 1 Michell George 1990 The Penguin Guide to the Monuments of India Volume 1 Buddhist Jain Hindu 1990 Penguin Books ISBN 0140081445 Michell George 1995 Architecture and Art of Southern India Vijayanagara and the Successor States 1350 1750 Cambridge University Press ISBN 978 0 521 44110 0 Nilsson Sten 1968 European Architecture in India 1750 1850 London Faber and Faber ISBN 978 0 571 08225 4 Piercey W Douglas amp Scarborough Harold 2008 hospital Encyclopaedia Britannica Possehl Gregory L 1996 Mehrgarh Oxford Companion to Archaeology edited by Brian Fagan Oxford University Press Rowland Benjamin The Art and Architecture of India Buddhist Hindu Jain 1967 3rd edn Pelican History of Art Penguin ISBN 0140561021 Savage George 2008 interior design Encyclopaedia Britannica Sen Sailendra Nath 1999 Ancient Indian history and civilization 2 ed New Delhi New Age International ISBN 81 224 1198 3 OCLC 133102415 Tadgell Christopher 1990 The history of architecture in India from the dawn of civilization to the end of the Raj London Architecture Design and Technology Press ISBN 978 1 85454 350 9 Thapar Bindia 2004 Introduction to Indian Architecture Singapore Periplus Editions ISBN 978 0 7946 0011 2 Rodda amp Ubertini 2004 The Basis of Civilization Water Science International Association of Hydrological Science ISBN 1 901502 57 0 Sinopoli Carla M 2003 The Political Economy of Craft Production Crafting Empire in South India C 1350 1650 Cambridge University Press ISBN 0 521 82613 6 Sinopoli Carla M 2003 Echoes of Empire Vijayanagara and Historical Memory Vijayanagara as Historical Memory Archaeologies of memory edited by Ruth M Van Dyke amp Susan E Alcock Blackwell Publishing ISBN 0 631 23585 X Singh Vijay P amp Yadava R N 2003 Water Resources System Operation Proceedings of the International Conference on Water and Environment Allied Publishers ISBN 81 7764 548 X 1995 b k The Javanese Candi Function and Meaning Volume 17 from Studies in Asian Art and Archaeology Vol 17 Leiden E J BRILL ISBN 9789004102156 Vastu Silpa Kosha Encyclopedia of Hindu Temple architecture and Vastu S K Ramachandara Rao Delhi Devine Books Lala Murari Lal Chharia Oriental series ISBN 978 93 81218 51 8 Set Yazdani Ghulam 1947 Bidar Its History and Monuments xanephimetim 1913 Indian Architecture its psychology structure and history from the first Muhammadan invasion to the present day J Murray London 1914 Visvakarma examples of Indian architecture sculpture painting handicraft London 1915 The Ancient and Medieval Architecture of India a study of Indo Aryan civilisation John Murray London Cruickshank Dan Sir Banister Fletcher s a History of Architecture Architectural Press 20th edition 1996 first published 1896 ISBN 0 7506 2267 9 Cf Part Four Chapter 26 aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb sthaptykrrmxinediy Kamiya Taeko The Architecture of India