บทความนี้อาจต้องการตรวจสอบต้นฉบับ ในด้านไวยากรณ์ รูปแบบการเขียน การเรียบเรียง คุณภาพ หรือการสะกด คุณสามารถช่วยพัฒนาบทความได้ |
หินแกรนิต (อังกฤษ: granite) เป็นหินอัคนีแทรกซอน สีจางพบได้ทั่วไปเป็นปกติ แกรนิตมีเนื้อขนาดปานกลางถึงเนื้อหยาบ บางครั้งจะพบผลึกเดี่ยวๆบางชนิดที่มีขนาดใหญ่กว่าปกติ (groundmass) เกิดเป็นหินที่รู้จักกันในนามของ (porphyry) แกรนิตอาจมีสีชมพูจนถึงสีเทาเข้มหรือแม้แต่สีดำขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางเคมีและองค์ประกอบทางแร่ หินโผล่ของหินแกรนิตมีแนวโน้มจะเกิดเป็นมวลหินโผล่ขึ้นมาเป็นผิวโค้งมน บางทีหินแกรนิตก็เกิดเป็นหลุมยุบรูปวงกลมที่รายล้อมไปด้วยแนวเทือกเขาเกิดเป็นแนวการแปรสภาพแบบสัมผัสหรือฮอร์นเฟลส์
หินแกรนิต | |
---|---|
— หินอัคนี Rock — | |
หินแกรนิตประกอบด้วยโพแทสเซียม เฟลด์สปาร์, พลาจิโอเคลส เฟลด์สปาร์, ควอตซ์, ไบโอไทต์ และ/หรือ แอมฟิโบล | |
Composition | |
โพแทสเซียม เฟลด์สปาร์, พลาจิโอเคลส เฟลด์สปาร์ และควอตซ์ (รวมถึงมัสโคไวต์และแอมฟิโบลชนิดฮอร์นเบลนด์) |
แกรนิตมีเนื้อแน่นเสมอ (ปราศจากโครงสร้างภายใน) แข็ง แรงทนทาน ดังนั้นจึงถูกนำไปใช้เป็นหินก่อสร้างกันอย่างกว้างขวาง ค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของหินแกรนิตคือ 2.75 กรัม/ซม3 และค่าความหนืดที่อุณหภูมิและความกดดันมาตรฐานประมาณ4.5 • 1019 Pa•s.
คำว่า “granite” มาจากภาษาลาตินคำว่า “granum” หมายถึง “grain” หรือ “เม็ด” ซึ่งมาจากลักษณะโครงสร้างผลึกในเนื้อหินที่เป็นเม็ดหยาบ
วิทยาแร่
หินแกรนิตถูกจำแนกแยกย่อยไปตามไดอะแกรม QAPF สำหรับหินอัคนีแทรกซอนเนื้อหยาบ (granitoids) และตั้งชื่อตามเปอร์เซนต์ของควอตซ์ แอลคาไลน์เฟลด์สปาร์ (, , หรือ ) และแพลจิโอเคลสเฟลสปาร์ บนส่วนของ A-Q-P ในไดอะแกรมดังกล่าว
หินอัคนีที่แท้จริงตามข้อกำหนดทางสมัยใหม่ประกอบด้วยทั้งแพลจิโอเคลสและแอลคาไลน์เฟลด์สปาร์ เมื่อแกรนิตอยด์ไม่มีแพลจิโอเคลสหรือมีน้อยก็จะเรียกหินนั้นว่า “แอลคาไลน์แกรนิต” เมื่อแกรนิตอยด์มีออร์โธเคลส 10% ก็จะเรียกว่า “โทนาไลต์” (ไพร็อกซีนและแอมฟิโบลพบได้ทั่วไปในโทนาไลต์) แกรนิตที่ประกอบด้วยทั้งมัสโคไวต์และไบโอไทต์ไมก้าก็จะเรียกว่าไบนารีแกรนิตหรือทูไมก้าแกรนิต (two-mica granite) ทูไมก้าแกรนิตโดยทั่วไปจะมีโปแตสเซียมสูงและมีแพลจิโอเคลสต่ำและปรกติจะเป็นแกรนิต S-type หรือ แกรนิต A-type หินภูเขาไฟที่มีองค์ประกอบเทียบเท่ากันกับหินแกรนิตคือไรโอไรต์ หินแกรนิตมีคุณสมบัติให้ซึมผ่านปฐมภูมิได้ต่ำแต่มีการซึมผ่านทุติยภูมิได้สูง
องค์ประกอบทางเคมี
ค่าเฉลี่ยทั่วโลกของสัดส่วนเฉลี่ยขององค์ประกอบทางเคมีที่ต่างกันในหินแกรนิตจากมากไปน้อยโดยเปอร์เซนต์น้ำหนักคือ
- — 72.04%
- Al2O3 — 14.42%
- — 4.12%
- Na2O — 3.69%
- CaO — 1.82%
- — 1.68%
- — 1.22%
- — 0.71%
- — 0.30%
- — 0.12%
- — 0.05%
อ้างอิงจากผลวิเคราะห์ 2485 รายการ
สถานที่พบ
จนถึงทุกวันนี้แกรนิตพบได้เฉพาะบนโลกโดยพบเป็นองค์ประกอบหลักของเปลือกโลกในส่วนของทวีป มักพบแกรนิตเป็นสต็อคขนาดเล็กครอบคลุมเนื้อที่น้อยกว่า 100 ตารางกิโลเมตรและอาจพบเป็นแบโทลิตที่มักพบเกิดร่วมกับแนวเทือกเขา (orogenic mountain ranges) ไดค์ (dike) ขนาดเล็กที่มีองค์ประกอบเป็นแกรนิตเรียกว่า “แอพไพลต์” ซึ่งจะพบเกิดขึ้นบริเวณขอบของการแทรกดัน บางบริเวณก็พบเป็นเพคมาไทต์ (pegmatite) ซึ่งมีผลึกขนาดหยาบเกิดร่วมกับหินแกรนิต
หินแกรนิตได้แทรกดันเข้าไปในชั้นเปลือกโลกตลอดช่วงยุคทางธรณีวิทยาและพบได้มากในช่วงพรีแคมเบรียน หินแกรนิตพบกระจัดกระจายไปทั่วแผ่นเปลือกทวีปของโลกและพบมากเป็นหินพื้นฐานใต้ชั้นหินตะกอนที่มีขนาดบางกว่า
การกำเนิด
แกรนิตเป็นหินอัคนีที่เกิดขึ้นจากแมกมาที่แทรกดันผ่านหินอื่นขึ้นมา โดยแมกมาเนื้อแกรนิตมีต้นกำเนิดที่หลากหลาย การแทรกดันของแกรนิตเกิดขึ้นที่ความลึกใต้ผิวโลก โดยปกติลึกมากกว่า 1.5 กิโลเมตรและอาจลึกมากถึง 50 กิโลเมตรในชั้นเปลือกโลกภาคพื้นทวีป มีการโต้แย้งเกี่ยวกับการกำเนิดของหินแกรนิต ซึ่งนำไปสู่รูปแบบการจำแนกที่หลากหลาย การจำแนกนั้นถูกแบ่งออกตามภูมิภาคของโลก ทั้งแบบฝรั่งเศส แบบอังกฤษ และแบบอเมริกา ความสับสนนี้เกิดขึ้นเพราะว่ารูปแบบการจำแนกแต่ละแบบกำหนดให้แกรนิตมีความหมายที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปแล้วการจำแนกแบบ “อัลฟาเบ็ตซุป” (alphabet soup) มักถูกนำมาใช้เนื่องจากเป็นการจำแนกบนพื้นฐานของการกำเนิดของแมกมา
การกำเนิดทางธรณีเคมี
แกรนิตอยด์เป็นองค์ประกอบของชั้นเปลือกโลกที่มีอยู่ทั่วไป เกิดจากการตกผลึกของแมกมาที่มีองค์ประกอบอยู่บริเวณจุดยูเทคติก (eutectic point) หรือที่จุดต่ำสุดของอุณหภูมิบนเส้นกราฟโคเทคติก แมกมาจะวิวัฒน์ไปสู่จุดยูเทคติกเนื่องจากการแยกส่วนทางอัคนี (igneous differentiation) หรือเพราะว่าแมกมาอยู่ที่ระดับล่างของการหลอมละลายบางส่วน การตกผลึกแบบแยกส่วนนี้ลดการหลอมเหลวของเหล็ก แมกนีเซียม ไททาเนียม แคลเซียม และโซเดียม และเพิ่มการหลอมเหลวของโปแตสเซียม ซิลิก้อน–แอลคาไลน์เฟลด์สปาร์ (มีส่วนประกอบหลักคือโปแตสเซียม) และควอตซ์ (SiO2) ซึ่งถือเป็นเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของแกรนิต
กระบวนการนี้ดำเนินไปโดยไม่คำนึงถึงองค์ประกอบทางเคมีและแหล่งที่มาของแมกมาต้นกำเนิดที่จะพัฒนาไปเป็นแกรนิต อย่างไรก็ตามแหล่งที่มาและองค์ประกอบของแมกมาที่ได้เปลี่ยนแปลงไปเป็นแกรนิตนั้น สามารถใช้หาแร่และธรณีเคมีของหินต้นกำเนิดของแกรนิตนั้นได้ เนื่องจากวิทยาแร่ เนื้อหิน และองค์ประกอบทางเคมีสุดท้ายของหินแกรนิตหนึ่งๆ มักจะมีลักษณะเฉพาะตามหินต้นกำเนิด เช่น หินแกรนิตที่เกิดจากการหลอมละลายของตะกอนอาจมีแอลคาไลน์เฟลด์สปาร์สูง ในขณะที่แกรนิตที่เกิดจากการหลอมมาจากหินบะซอลต์มักมีส่วนประกอบเป็นแพลจิโอเคลสเฟลด์สปาร์ ทั้งหมดนี้ใช้เกณฑ์การจำแนกแบบอัลฟาเบ็ตซุปสมัยใหม่เป็นพื้นฐาน
การจำแนกแบบอัลฟาเบ็ตซุป
การจำแนกแบบอัลฟาเบ็ตซุปของ Chappell & White นั้น ในช่วงแรกๆถูกเสนอขึ้นมาเพื่อแบ่งแกรนิตออกเป็น 2 ประเภทคือ แกรนิต I-type หรือแกรนิตที่มีหินต้นกำเนิดเป็นหินอัคนี (Igneous protolith) กับแกรนิต S-type หรือหินแกรนิตที่มีหินต้นกำเนิดเป็นหินตะกอน (Sedimentary protolith) หินแกรนิตทั้งสองประเภทนี้เกิดขึ้นจากการหลอมละลายของ หินแกรนิต หินอัคนีแทรกซอนสีเข้ม หรือตะกอนที่ปิดทับ ตามลำดับ
หินแกรนิต M-type หรือแกรนิตที่มีวัตถุต้นกำเนิดมาจากแมนเทิลนั้นถูกเสนอขึ้นมาภายหลังเพื่อให้ครอบคลุมหินแกรนิตที่มีแหล่งกำเนิดจากแมกมาสีเข้มที่ตกผลึกซึ่งโดยทั่วไปจะมีแหล่งมาจากแมนเทิล หินแกรนิตชนิดนี้พบได้น้อยเนื่องจากเป็นการยากที่จะเปลี่ยนบะซอลต์ไปเป็นแกรนิตผ่าน
หินแกรนิต A-type (Anoroganic granite) เกิดขึ้นบริเวณเหนือการประทุของภูเขาไฟฮอตสปอตและจะมีองค์ประกอบทางแร่และธรณีเคมีที่แปลก หินแกรนิตเหล่านี้เกิดขึ้นจากการหลอมละลายที่ส่วนล่างของเปลือกโลกภายใต้สภาพที่ปรกติแล้วแห้งอย่างรวดเร็ว หินไรโอไรต์จากโพลงยุบที่เยลโลสโตนเป็นตัวอย่างของหินภูเขาไฟที่มีองค์ประกอบเปรียบเทียบได้กับหินแกรนิต A-type นี้
การเกิดหินแกรนิต
ทฤษฎีการเกิดหินแกรนิตที่เก่าแก่ทฤษฎีหนึ่งที่ได้ลดการยอมรับไปมากแล้ว กล่าวเอาไว้ว่า แกรนิตนั้นเกิดขึ้นในที่ที่มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงโดยมีของไหลที่นำธาตุบางชนิดเข้าไป เช่น โปแตสเซียม แล้วดึงเอาธาตุอื่นๆออกมา เช่น แคลเซี่ยม แล้วเปลี่ยนหินแปรไปเป็นหินแกรนิต กระบวนการนี้คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ตามแนวด้านหน้าของการเคลื่อนย้าย การเกิดหินแกรนิตโดยความร้อนจากการแปรสภาพบริเวณภาคพื้นแอมฟิโบไลต์และแกรนูไลต์เกิดขึ้นได้ยากแต่เป็นไปได้ การเกิดหินแกรนิตแบบอยู่กับที่ (in-situ granitisation) หรือการหลอมละลาย โดยกระบวนการแปรสภาพนั้นยากที่จะรับรู้ได้ยกเว้นเนื้อหินแบบลิวโคโซม (leucosome) และเมลาโนโซม (melanosome) ซึ่งปรากฏให้เห็นอยู่ในหินไนส์ ทันทีที่หินแปรหนึ่งๆเกิดการหลอมละลายมันก็จะไม่เป็นหินแปรอีกต่อไปแต่จะเปลี่ยนไปเป็นแมกมา ดังนั้นหินเหล่านี้จึงมีลักษณะก้ำกึ่งระหว่างทั้งสอง แต่ในทางเทคนิคแล้วไม่ถือว่าเป็นหินแกรนิต เพราะไม่ได้แทรกซอนเข้าไปในหินอื่นๆ การหลอมละลายของหินแข็งนั้นต้องการอุณหภูมิที่สูงและมีน้ำหรือสารระเหยอื่นๆ เป็นสารกระตุ้นช่วยในการลดจุดหลอมเหลวของหินลงมา
การแทรกดันตัวขึ้นมาและการจัดวางตำแหน่ง
มีการถกเถียงกันมากเกี่ยวกับการแทรกดันตัวขึ้นมาและการจัดวางตัวของหินแกรนิตทางด้านบนของเปลือกทวีป เพราะยังไม่มีหลักฐานในภาคสนามที่จะเสนอกลไกใดๆ ได้ดีพอ สมมุติฐานที่เสนอกันขึ้นมาจึงขึ้นอยู่กับข้อมูลจากการทดลอง โดยมีสมมุติฐานสองประการหลักๆ เกี่ยวกับการแทรกดันตัวขึ้นมาของแมกมาผ่านชั้นเปลือกโลก คือ
- Stoke Diaper
- Fracture Propagation
ในบรรดากลไกทั้งสองนี้ Stokes Diaper เป็นที่นิยมใช้กันมาหลายปีในสภาพที่ปราศจากทางเลือกใดที่สมเหตุสมผลกว่า แนวคิดพื้นฐานคือว่าแมกมาจะถูกแทรกดันตัวขึ้นมาผ่านชั้นเปลือกโลกในลักษณะของมวลเดี่ยวๆ ด้วยการลอยตัว ขณะที่มันแทรกดันตัวขึ้นมานั้นมีการแผ่ความร้อนให้กับมวลหินข้างเคียง ทำให้หินข้างเคียงมีลักษณะเป็นของไหลแล้วไหลไปรอบๆ พลูโทน มวลหินข้างเคียงผ่านเข้าไปในแมกมาอย่างรวดเร็วโดยปราศจากการสูญเสียความร้อนหลัก (Weinberg, 1994) ในชั้นเปลือกโลกด้านล่างที่อุ่นและอ่อนนุ่ม หินสามารถเสียรูปได้โดยง่าย แต่ด้านบนของชั้นเปลือกโลกนั้นเย็นกว่าและเปราะกว่า หินจึงไม่สามารถเสียรูปได้โดยง่าย สำหรับแมกมาที่แทรกตัวขึ้นมาเป็นพลูโทนต้องใช้พลังงานอย่างมากในการให้ความร้อนกับหินข้างเคียง จึงเกิดการเย็นตัวและแข็งตัวก่อนที่จะถึงระดับตื้นของชั้นเปลือกโลก
ในปัจจุบันกลไกการแผ่ขยายของรอยแตกเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เพราะกลไกนี้แก้ปัญหาของการเคลื่อนที่ของมวลมหาศาลของแมกมาที่ผ่านเข้าไปในชั้นเปลือกโลกที่เย็นและเปราะ แมกมาดันตัวขึ้นมาแทนที่ในช่องว่างเล็กๆไปตามไดค์ซึ่งเกิดตามระบบรอยเลื่อนที่เกิดขึ้นใหม่หรือรอยเลื่อนที่มีอยู่ก่อนแล้วและรวมถึงเครือข่ายของแนวเฉือนที่มีพลัง (Clemens, 1998) เมื่อท่อแคบๆเหล่านี้ถูกเปิดออกแมกมาด้านบนก็จะแข็งตัวและจะมีคุณสมบัติเป็นฉนวนกันความร้อนป้องกันแมกมาที่แทรกดันตามขึ้นมาจากด้านล่าง
แมกมาแกรนิตต้องหาที่อยู่เพื่อตัวมันเองหรือแทรกดันเข้าไปในหินอื่นเพื่อที่จะเกิดการแทรกซอน และมีกลไลหลากหลายถูกเสนอขึ้นมาเพื่ออธิบายว่าแบโทลิธขนาดใหญ่แทรกเข้าไปอยู่ได้อย่างไร เช่น
- Stoping คือเมื่อแกรนิตทำให้หินข้างเคียงแตกร้าวและแทรกดันขึ้นไปขณะที่ก็ดึงเอาก้อนเปลือกโลกด้านบนออกไปด้วย
- Assimilation คือเมื่อแกรนิตหลอมละลายหินเปิดช่องทางให้มันแทรกดันตัวขึ้นไปในชั้นเปลือกโลกและดึงเอาวัตถุที่อยู่ด้านบนไปตามช่องทางนี้
- Inflation คือเมื่อมวลแกรนิตขยายตัวออกภายใต้ความกดดันและถูกฉีดเข้าไปในตำแหน่งของมัน
ในปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันว่าการแทรกซอนของแกรนิตสามารถใช้กลไกเหล่านี้มาอธิบายร่วมกันได้
การแผ่รังสีโดยธรรมชาติ
แกรนิตเป็นแหล่งของการแผ่รังสีทางธรรมชาติเหมือนกับหินทั่วไป โดยหินแกรนิตบางชนิดมีความเป็นกัมมันตรังสีสูง
หินแกรนิตบางชนิดมีแร่ยูเรเนียมสูงถึง 10 - 20 ส่วนในล้านส่วน ในทางกลับกัน หินอัคนีสีเข้มจำนวนมากอย่างเช่น โทนาไลต์ แกบโบร หรือไดโอไรต์มีแร่ยูเรเนียมเพียง 1 ถึง 5 ส่วนในล้านส่วน และหินปูนรวมถึงหินตะกอนทั้งหลายมีปริมาณยูเรเนียมน้อย พลูโทนหินแกรนิตขนาดใหญ่จำนวนมากเป็นแหล่งให้กับทางน้ำโบราณหรือแหล่งสะสมตัวของยูเรเนียมแบบโรลล์ฟรอนต์ (roll front uranium ore deposits) ที่แร่ยูเรเนียมได้ชะล้างเข้าไปในตะกอนจากหินแกรนิตบนพื้นดินและที่เกี่ยวข้อง โดยส่วนมากจะเป็นพวกเพกมาไทต์ที่มีกัมมันตะรังสีสูง แกรนิตสามารถเป็นแหล่งเสี่ยงภัยจากกัมมันตรังสีทางธรรมชาติ เช่น หมู่บ้านที่ตั้งอยู่บนพืดหินแกรนิตอาจได้รับผลกระทบจากการแผ่รังสีมากกว่าชุมชนอื่นๆ โพรงและฐานยุบของดินบนหินแกรนิตสามารถเป็นที่กักเก็บของแก๊สเรดอนซึ่งเกิดจากการสลายตัวของแร่ยูเรเนียม โดยเรดอนสามารถเข้าไปถึงครัวเรือนผ่านทางบ่อน้ำที่ขุดลงไปในหินแกรนิต ซึ่งแก๊สเรดอนมีผลกระทบเกี่ยวข้องกับสุขภาพ และถือเป็นสาเหตุของมะเร็งปอดในสหรัฐอเมริกาเป็นอันดับสองรองมาจากการสูบบุหรี่
วัสดุที่ผลิตขายเป็นแผ่นหินปูเคาน์เตอร์หรือเป็นวัสดุก่อสร้างไม่ได้มีผลกระทบต่อสุขภาพที่รุนแรงนัก Dr. Dan Steck แห่งมหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น กล่าวว่า ประมาณ 5% ของแกรนิตทั้งหมดมีความเกี่ยวข้องกับกัมมันตรังสี แต่ได้ข้อมูลจากการตรวจหินแกรนิตเพียงไม่กี่ประเภทจากจำนวนหลายหมื่นประเภทเท่านั้น มีแหล่งข้อมูลออนไลน์ขององค์กรสำรวจทางธรณีวิทยาแห่งชาติซึ่งเกี่ยวกับความเสี่ยงของหินแกรนิตและกฎการก่อสร้างที่เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ป้องกันการสะสมของแก็สเรดอนในชั้นใต้ดินและบ้านพักอาศัยซึ่งเป็นสถานที่ปิด
มีการศึกษาหินแกรนิตเคาน์เตอร์ชิ้นหนึ่งในเดือนพฤศจิกายน 2008 โดย National Health and Engineering Inc แห่งสหรัฐอเมริกา พบว่ามีหินแกรนิตจำนวน 18 แผ่นจากจำนวน 39 แผ่นไม่ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยของสหภาพยุโรป (section 4.1.1.1 of the National Health and Engineering study) มากไปกว่านี้ แผ่นหนึ่งจากแผ่นหินจำนวน 39 แผ่นถูกตรวจสอบในการศึกษา E,H.&E มีดัชนีความเข้มข้นเกินข้อกำหนดของสหภาพยุโรป (Section 4.3.1 of the E,H,&E study) สถาบันหินอ่อนมีความเกี่ยวข้องกับการออกข้อกำหนดนี้ด้วยการกล่าวว่าข้อกำหนดของหินแกรนิตเคาน์เตอร์ของสหภาพยุโรปนั้นมีข้อบกพร่อง หินที่ตรวจสอบนั้นได้รวมถึงชนิดของแกรนิตที่เป็นแผ่นหินแกรนิตเคาน์เตอร์ที่มีตลาดร่วมกับอเมริกาเสียประมาณ 80% ตามข้อมูลตลาดล่าสุดที่หาได้
นักวิจัยและองค์กรอื่นๆไม่ได้เห็นด้วยกับสถานะความปลอดภัยในหินแกรนิตของสถาบันหินอ่อนซึ่งรวมถึง AARST (American Association of Radon Scientists and Technicians) และ CRCPD (Conference of Radiation Control Program Directors, an organization of state radiation protection officials) ทั้งสององค์กรนี้มีคณะกรรมการซึ่งที่ผ่านมาได้ออกข้อกำหนดอนุญาตให้มีระดับของการแผ่รังสีเรดอนสูงสุดรวมถึงข้อตกลงในการตรวจวัดรังสีเรดอนจากหินแกรนิตเคาน์เตอร์ ข้อกำหนดของสหภาพยุโรปดูเหมือนว่าจะรวมถึงข้อกำหนดพื้นฐานสำหรับข้อกำหนดฐานของ EPA ฉบับใหม่สำหรับวัสดุก่อสร้างที่เป็นหินแกรนิตในสหรัฐอเมริกาด้วย
การปีนเขา
แกรนิตเป็นหนึ่งในบรรดาหินหลายชนิดที่เป็นที่ชื่นชอบกันในบรรดานักปีนเขาด้วยความชัน ความมั่นคง ระบบรอยแยก และการเสียดทานของมัน สถานที่ที่เป็นที่รู้จักกันดีสำหรับการปีนป่ายหินแกรนิต ได้แก่ หุบเขา Yosemite, Bugaboos, Mont Blanc, เทือกเขา Mourne, Aiguille du Midi และ Grandes Jorasses, เทือกเขา Bregaglia, Corsica, หลายส่วนของ Karakoram, Fitzroy Massif, Patagonia, เกาะ Baffin, Cornwall, และ Cairngorms
การปีนหินแกรนิตเป็นที่นิยมกันมาก ทำให้กำแพงปีนหินเทียมจำนวนมากที่พบในโรงยิมและในสวนสาธารณะนั้นถูกทำขึ้นให้มีลักษณะภายนอกและผิวสัมผัสเหมือนหินแกรนิตจริงๆ ถึงจะทำมาจากวัตถุทดแทนก็ตาม เพราะหินแกรนิตหนักเกินไปสำหรับกำแพงปีนป่ายที่ขนย้ายได้ และหนักเกินไปสำหรับอาคารที่จะเป็นสถานที่ตั้งกำแพงเหล่านั้นด้วย
ดูเพิ่ม
- Aberdeen, Scotland's third largest city nicknamed "The Granite City"
- "Granite Capital of the World", home of the
- , the "Granite Capital of the World"
- New Hampshire, the "Granite State"
- , Colorado
- , Georgia
- , Thailand
อ้างอิง
- Kumagai, Naoichi; Sadao Sasajima; Hidebumi Ito (15 February 1978). "Long-term Creep of Rocks: Results with Large Specimens Obtained in about 20 Years and Those with Small Specimens in about 3 Years". Journal of the Society of Materials Science (Japan). Japan Energy Society. 27 (293): 157–161. สืบค้นเมื่อ 2008-06-16.
- Harvey Blatt and Robert J. Tracy (1997). Petrology (2nd ed.). New York: Freeman. p. 66. ISBN .
- Chappell, B.W. and White, A.J.R., 2001. Two contrasting granite types: 25 years later. Australian Journal of Earth Sciences v.48, p.489-499.
- Boroughs, S., Wolff, J., Bonnichsen, B., Godchaux, M., and Larson, P., 2005, Large-volume, low-δ18O rhyolites of the central Snake River Plain, Idaho, USA: Geology 33: 821–824.
- C.D. Frost, M. McCurry, R. Christiansen, K. Putirka and M. Kuntz, Extrusive A-type magmatism of the Yellowstone hot spot track 15th Goldschmidt Conference Field Trip AC-4. Field Trip Guide, University of Wyoming (2005) 76 pp., plus an appended map.
- Clemens, John (1998). "Observations on the origins and ascent mechanisms of granitic magmas". Journal of the Geological Society of London. 155 (Part 5): 843–51. doi:10.1144/gsjgs.155.5.0843.
{{}}
: CS1 maint: date and year () - . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-13. สืบค้นเมื่อ 2009-09-03.
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-09. สืบค้นเมื่อ 2008-10-19.
- "Radon and Cancer: Questions and Answers". National Cancer Institute. สืบค้นเมื่อ 2008-10-19.
- http://www.marble- 2017-02-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน institute.com/industryresources/assessingexposureexecutivesummary.pdf
เชื่อมต่อภายนอก
- The Emplacement and Origin of Granite 2007-06-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamid hinaekrnit xngkvs granite epnhinxkhniaethrksxn sicangphbidthwipepnpkti aekrnitmienuxkhnadpanklangthungenuxhyab bangkhrngcaphbphlukediywbangchnidthimikhnadihykwapkti groundmass ekidepnhinthiruckkninnamkhxng porphyry aekrnitxacmisichmphucnthungsiethaekhmhruxaemaetsidakhunxyukbxngkhprakxbthangekhmiaelaxngkhprakxbthangaer hinophlkhxnghinaekrnitmiaenwonmcaekidepnmwlhinophlkhunmaepnphiwokhngmn bangthihinaekrnitkekidepnhlumyubrupwngklmthiraylxmipdwyaenwethuxkekhaekidepnaenwkaraeprsphaphaebbsmphshruxhxrneflshinaekrnit hinxkhni Rock hinaekrnitprakxbdwyophaethsesiym efldspar phlacioxekhls efldspar khwxts iboxitht aela hrux aexmfioblCompositionophaethsesiym efldspar phlacioxekhls efldspar aelakhwxts rwmthungmsokhiwtaelaaexmfioblchnidhxrneblnd phaphthayrayaiklkhxnghinaekrnitcakxuthyanaehngchatihubekhaoyesimt aemnaemxrsehmuxnghinaekrnitsahrbwdmxrmxn rthxuthah phunphiwdinkracdkracayipdwykxnhinkhnadihyaelaesskhxnghinaekrnitthihludlwnglngma sunghludhlnlngmacakphnngkhxnghnapha ehmuxngprakxbipdwyblxkthiaetkyxyxxkip aekrnitmienuxaennesmx prascakokhrngsrangphayin aekhng aerngthnthan dngnncungthuknaipichepnhinkxsrangknxyangkwangkhwang khakhwamhnaaennechliykhxnghinaekrnitkhux 2 75 krm sm3 aelakhakhwamhnudthixunhphumiaelakhwamkddnmatrthanpraman4 5 1019 Pa s khawa granite macakphasalatinkhawa granum hmaythung grain hrux emd sungmacaklksnaokhrngsrangphlukinenuxhinthiepnemdhyabwithyaaeraekrnitxxrbikhiwlar in chili hinaekrnitthukcaaenkaeykyxyiptamidxaaekrm QAPF sahrbhinxkhniaethrksxnenuxhyab granitoids aelatngchuxtamepxresntkhxngkhwxts aexlkhailnefldspar hrux aelaaephlcioxekhlseflspar bnswnkhxng A Q P inidxaaekrmdngklaw hinxkhnithiaethcringtamkhxkahndthangsmyihmprakxbdwythngaephlcioxekhlsaelaaexlkhailnefldspar emuxaekrnitxydimmiaephlcioxekhlshruxminxykcaeriykhinnnwa aexlkhailnaekrnit emuxaekrnitxydmixxrothekhls 10 kcaeriykwa othnailt iphrxksinaelaaexmfioblphbidthwipinothnailt aekrnitthiprakxbdwythngmsokhiwtaelaiboxithtimkakcaeriykwaibnariaekrnithruxthuimkaaekrnit two mica granite thuimkaaekrnitodythwipcamiopaetsesiymsungaelamiaephlcioxekhlstaaelaprkticaepnaekrnit S type hrux aekrnit A type hinphuekhaifthimixngkhprakxbethiybethaknkbhinaekrnitkhuxiroxirt hinaekrnitmikhunsmbtiihsumphanpthmphumiidtaaetmikarsumphanthutiyphumiidsung xngkhprakxbthangekhmi khaechliythwolkkhxngsdswnechliykhxngxngkhprakxbthangekhmithitangkninhinaekrnitcakmakipnxyodyepxresntnahnkkhux 72 04 Al2O3 14 42 4 12 Na2O 3 69 CaO 1 82 1 68 1 22 0 71 0 30 0 12 0 05 xangxingcakphlwiekhraah 2485 raykarsthanthiphbepnaekrnitomonlitinbritisokhlmebiyaekrnitthithaepnaephnhinslkchuxphutayhnahlumfngsphniwxingaelnd hincak cnthungthukwnniaekrnitphbidechphaabnolkodyphbepnxngkhprakxbhlkkhxngepluxkolkinswnkhxngthwip mkphbaekrnitepnstxkhkhnadelkkhrxbkhlumenuxthinxykwa 100 tarangkiolemtraelaxacphbepnaebothlitthimkphbekidrwmkbaenwethuxkekha orogenic mountain ranges idkh dike khnadelkthimixngkhprakxbepnaekrniteriykwa aexphiphlt sungcaphbekidkhunbriewnkhxbkhxngkaraethrkdn bangbriewnkphbepnephkhmaitht pegmatite sungmiphlukkhnadhyabekidrwmkbhinaekrnit hinaekrnitidaethrkdnekhaipinchnepluxkolktlxdchwngyukhthangthrniwithyaaelaphbidmakinchwngphriaekhmebriyn hinaekrnitphbkracdkracayipthwaephnepluxkthwipkhxngolkaelaphbmakepnhinphunthanitchnhintakxnthimikhnadbangkwakarkaenidphaphthayrayaiklkhxnghinaekrnitinecnin praethsxinediy aekrnitepnhinxkhnithiekidkhuncakaemkmathiaethrkdnphanhinxunkhunma odyaemkmaenuxaekrnitmitnkaenidthihlakhlay karaethrkdnkhxngaekrnitekidkhunthikhwamlukitphiwolk odypktilukmakkwa 1 5 kiolemtraelaxaclukmakthung 50 kiolemtrinchnepluxkolkphakhphunthwip mikarotaeyngekiywkbkarkaenidkhxnghinaekrnit sungnaipsurupaebbkarcaaenkthihlakhlay karcaaenknnthukaebngxxktamphumiphakhkhxngolk thngaebbfrngess aebbxngkvs aelaaebbxemrika khwamsbsnniekidkhunephraawarupaebbkarcaaenkaetlaaebbkahndihaekrnitmikhwamhmaythiaetktangkn odythwipaelwkarcaaenkaebb xlfaebtsup alphabet soup mkthuknamaichenuxngcakepnkarcaaenkbnphunthankhxngkarkaenidkhxngaemkma karkaenidthangthrniekhmi aekrnitxydepnxngkhprakxbkhxngchnepluxkolkthimixyuthwip ekidcakkartkphlukkhxngaemkmathimixngkhprakxbxyubriewncudyuethkhtik eutectic point hruxthicudtasudkhxngxunhphumibnesnkrafokhethkhtik aemkmacawiwthnipsucudyuethkhtikenuxngcakkaraeykswnthangxkhni igneous differentiation hruxephraawaaemkmaxyuthiradblangkhxngkarhlxmlalaybangswn kartkphlukaebbaeykswnnildkarhlxmehlwkhxngehlk aemkniesiym iththaeniym aekhlesiym aelaosediym aelaephimkarhlxmehlwkhxngopaetsesiym silikxn aexlkhailnefldspar miswnprakxbhlkkhuxopaetsesiym aelakhwxts SiO2 sungthuxepnepnxngkhprakxbthisakhykhxngaekrnit krabwnkarnidaeninipodyimkhanungthungxngkhprakxbthangekhmiaelaaehlngthimakhxngaemkmatnkaenidthicaphthnaipepnaekrnit xyangirktamaehlngthimaaelaxngkhprakxbkhxngaemkmathiidepliynaeplngipepnaekrnitnn samarthichhaaeraelathrniekhmikhxnghintnkaenidkhxngaekrnitnnid enuxngcakwithyaaer enuxhin aelaxngkhprakxbthangekhmisudthaykhxnghinaekrnithnung mkcamilksnaechphaatamhintnkaenid echn hinaekrnitthiekidcakkarhlxmlalaykhxngtakxnxacmiaexlkhailnefldsparsung inkhnathiaekrnitthiekidcakkarhlxmmacakhinbasxltmkmiswnprakxbepnaephlcioxekhlsefldspar thnghmdniicheknthkarcaaenkaebbxlfaebtsupsmyihmepnphunthan karcaaenkaebbxlfaebtsup karcaaenkaebbxlfaebtsupkhxng Chappell amp White nn inchwngaerkthukesnxkhunmaephuxaebngaekrnitxxkepn 2 praephthkhux aekrnit I type hruxaekrnitthimihintnkaenidepnhinxkhni Igneous protolith kbaekrnit S type hruxhinaekrnitthimihintnkaenidepnhintakxn Sedimentary protolith hinaekrnitthngsxngpraephthniekidkhuncakkarhlxmlalaykhxng hinaekrnit hinxkhniaethrksxnsiekhm hruxtakxnthipidthb tamladb hinaekrnit M type hruxaekrnitthimiwtthutnkaenidmacakaemnethilnnthukesnxkhunmaphayhlngephuxihkhrxbkhlumhinaekrnitthimiaehlngkaenidcakaemkmasiekhmthitkphluksungodythwipcamiaehlngmacakaemnethil hinaekrnitchnidniphbidnxyenuxngcakepnkaryakthicaepliynbasxltipepnaekrnitphan hinaekrnit A type Anoroganic granite ekidkhunbriewnehnuxkarprathukhxngphuekhaifhxtspxtaelacamixngkhprakxbthangaeraelathrniekhmithiaeplk hinaekrnitehlaniekidkhuncakkarhlxmlalaythiswnlangkhxngepluxkolkphayitsphaphthiprktiaelwaehngxyangrwderw hiniroxirtcakophlngyubthieylolsotnepntwxyangkhxnghinphuekhaifthimixngkhprakxbepriybethiybidkbhinaekrnit A type ni karekidhinaekrnit thvsdikarekidhinaekrnitthiekaaekthvsdihnungthiidldkaryxmrbipmakaelw klawexaiwwa aekrnitnnekidkhuninthithimikrabwnkarepliynaeplngxyangrunaerngodymikhxngihlthinathatubangchnidekhaip echn opaetsesiym aelwdungexathatuxunxxkma echn aekhlesiym aelwepliynhinaepripepnhinaekrnit krabwnkarnikhadwacaekidkhunidtamaenwdanhnakhxngkarekhluxnyay karekidhinaekrnitodykhwamrxncakkaraeprsphaphbriewnphakhphunaexmfiobiltaelaaekrnuiltekidkhunidyakaetepnipid karekidhinaekrnitaebbxyukbthi in situ granitisation hruxkarhlxmlalay odykrabwnkaraeprsphaphnnyakthicarbruidykewnenuxhinaebbliwokhosm leucosome aelaemlaonosm melanosome sungpraktihehnxyuinhinins thnthithihinaeprhnungekidkarhlxmlalaymnkcaimepnhinaeprxiktxipaetcaepliynipepnaemkma dngnnhinehlanicungmilksnakakungrahwangthngsxng aetinthangethkhnikhaelwimthuxwaepnhinaekrnit ephraaimidaethrksxnekhaipinhinxun karhlxmlalaykhxnghinaekhngnntxngkarxunhphumithisungaelaminahruxsarraehyxun epnsarkratunchwyinkarldcudhlxmehlwkhxnghinlngmakaraethrkdntwkhunmaaelakarcdwangtaaehnngmikarthkethiyngknmakekiywkbkaraethrkdntwkhunmaaelakarcdwangtwkhxnghinaekrnitthangdanbnkhxngepluxkthwip ephraayngimmihlkthaninphakhsnamthicaesnxklikid iddiphx smmutithanthiesnxknkhunmacungkhunxyukbkhxmulcakkarthdlxng odymismmutithansxngprakarhlk ekiywkbkaraethrkdntwkhunmakhxngaemkmaphanchnepluxkolk khux Stoke Diaper Fracture Propagation inbrrdaklikthngsxngni Stokes Diaper epnthiniymichknmahlaypiinsphaphthiprascakthangeluxkidthismehtusmphlkwa aenwkhidphunthankhuxwaaemkmacathukaethrkdntwkhunmaphanchnepluxkolkinlksnakhxngmwlediyw dwykarlxytw khnathimnaethrkdntwkhunmannmikaraephkhwamrxnihkbmwlhinkhangekhiyng thaihhinkhangekhiyngmilksnaepnkhxngihlaelwihliprxb phluothn mwlhinkhangekhiyngphanekhaipinaemkmaxyangrwderwodyprascakkarsuyesiykhwamrxnhlk Weinberg 1994 inchnepluxkolkdanlangthixunaelaxxnnum hinsamarthesiyrupidodyngay aetdanbnkhxngchnepluxkolknneynkwaaelaepraakwa hincungimsamarthesiyrupidodyngay sahrbaemkmathiaethrktwkhunmaepnphluothntxngichphlngnganxyangmakinkarihkhwamrxnkbhinkhangekhiyng cungekidkareyntwaelaaekhngtwkxnthicathungradbtunkhxngchnepluxkolk inpccubnklikkaraephkhyaykhxngrxyaetkepnthiyxmrbxyangkwangkhwang ephraaklikniaekpyhakhxngkarekhluxnthikhxngmwlmhasalkhxngaemkmathiphanekhaipinchnepluxkolkthieynaelaepraa aemkmadntwkhunmaaethnthiinchxngwangelkiptamidkhsungekidtamrabbrxyeluxnthiekidkhunihmhruxrxyeluxnthimixyukxnaelwaelarwmthungekhruxkhaykhxngaenwechuxnthimiphlng Clemens 1998 emuxthxaekhbehlanithukepidxxkaemkmadanbnkcaaekhngtwaelacamikhunsmbtiepnchnwnknkhwamrxnpxngknaemkmathiaethrkdntamkhunmacakdanlang aemkmaaekrnittxnghathixyuephuxtwmnexnghruxaethrkdnekhaipinhinxunephuxthicaekidkaraethrksxn aelamiklilhlakhlaythukesnxkhunmaephuxxthibaywaaebothlithkhnadihyaethrkekhaipxyuidxyangir echn Stoping khuxemuxaekrnitthaihhinkhangekhiyngaetkrawaelaaethrkdnkhunipkhnathikdungexakxnepluxkolkdanbnxxkipdwy Assimilation khuxemuxaekrnithlxmlalayhinepidchxngthangihmnaethrkdntwkhunipinchnepluxkolkaeladungexawtthuthixyudanbniptamchxngthangni Inflation khuxemuxmwlaekrnitkhyaytwxxkphayitkhwamkddnaelathukchidekhaipintaaehnngkhxngmn inpccubnepnthiyxmrbknwakaraethrksxnkhxngaekrnitsamarthichklikehlanimaxthibayrwmknidkaraephrngsiodythrrmchatiaekrnitepnaehlngkhxngkaraephrngsithangthrrmchatiehmuxnkbhinthwip odyhinaekrnitbangchnidmikhwamepnkmmntrngsisung hinaekrnitbangchnidmiaeryuereniymsungthung 10 20 swninlanswn inthangklbkn hinxkhnisiekhmcanwnmakxyangechn othnailt aekbobr hruxidoxirtmiaeryuereniymephiyng 1 thung 5 swninlanswn aelahinpunrwmthunghintakxnthnghlaymiprimanyuereniymnxy phluothnhinaekrnitkhnadihycanwnmakepnaehlngihkbthangnaobranhruxaehlngsasmtwkhxngyuereniymaebborllfrxnt roll front uranium ore deposits thiaeryuereniymidchalangekhaipintakxncakhinaekrnitbnphundinaelathiekiywkhxng odyswnmakcaepnphwkephkmaithtthimikmmntarngsisung aekrnitsamarthepnaehlngesiyngphycakkmmntrngsithangthrrmchati echn hmubanthitngxyubnphudhinaekrnitxacidrbphlkrathbcakkaraephrngsimakkwachumchnxun ophrngaelathanyubkhxngdinbnhinaekrnitsamarthepnthikkekbkhxngaekserdxnsungekidcakkarslaytwkhxngaeryuereniym odyerdxnsamarthekhaipthungkhrweruxnphanthangbxnathikhudlngipinhinaekrnit sungaekserdxnmiphlkrathbekiywkhxngkbsukhphaph aelathuxepnsaehtukhxngmaerngpxdinshrthxemrikaepnxndbsxngrxngmacakkarsubbuhri wsduthiphlitkhayepnaephnhinpuekhanetxrhruxepnwsdukxsrangimidmiphlkrathbtxsukhphaphthirunaerngnk Dr Dan Steck aehngmhawithyalyesntcxhn klawwa praman 5 khxngaekrnitthnghmdmikhwamekiywkhxngkbkmmntrngsi aetidkhxmulcakkartrwchinaekrnitephiyngimkipraephthcakcanwnhlayhmunpraephthethann miaehlngkhxmulxxnilnkhxngxngkhkrsarwcthangthrniwithyaaehngchatisungekiywkbkhwamesiyngkhxnghinaekrnitaelakdkarkxsrangthiekiywkhxng ephuxichpxngknkarsasmkhxngaekserdxninchnitdinaelabanphkxasysungepnsthanthipid mikarsuksahinaekrnitekhanetxrchinhnungineduxnphvscikayn 2008 ody National Health and Engineering Inc aehngshrthxemrika phbwamihinaekrnitcanwn 18 aephncakcanwn 39 aephnimphanmatrthankhwamplxdphykhxngshphaphyuorp section 4 1 1 1 of the National Health and Engineering study makipkwani aephnhnungcakaephnhincanwn 39 aephnthuktrwcsxbinkarsuksa E H amp E midchnikhwamekhmkhnekinkhxkahndkhxngshphaphyuorp Section 4 3 1 of the E H amp E study sthabnhinxxnmikhwamekiywkhxngkbkarxxkkhxkahndnidwykarklawwakhxkahndkhxnghinaekrnitekhanetxrkhxngshphaphyuorpnnmikhxbkphrxng hinthitrwcsxbnnidrwmthungchnidkhxngaekrnitthiepnaephnhinaekrnitekhanetxrthimitladrwmkbxemrikaesiypraman 80 tamkhxmultladlasudthihaid nkwicyaelaxngkhkrxunimidehndwykbsthanakhwamplxdphyinhinaekrnitkhxngsthabnhinxxnsungrwmthung AARST American Association of Radon Scientists and Technicians aela CRCPD Conference of Radiation Control Program Directors an organization of state radiation protection officials thngsxngxngkhkrnimikhnakrrmkarsungthiphanmaidxxkkhxkahndxnuyatihmiradbkhxngkaraephrngsierdxnsungsudrwmthungkhxtklnginkartrwcwdrngsierdxncakhinaekrnitekhanetxr khxkahndkhxngshphaphyuorpduehmuxnwacarwmthungkhxkahndphunthansahrbkhxkahndthankhxng EPA chbbihmsahrbwsdukxsrangthiepnhinaekrnitinshrthxemrikadwykarpinekhayxdekhahinaekrnit inpataokeniy praethschili aekrnitepnhnunginbrrdahinhlaychnidthiepnthichunchxbkninbrrdankpinekhadwykhwamchn khwammnkhng rabbrxyaeyk aelakaresiydthankhxngmn sthanthithiepnthiruckkndisahrbkarpinpayhinaekrnit idaek hubekha Yosemite Bugaboos Mont Blanc ethuxkekha Mourne Aiguille du Midi aela Grandes Jorasses ethuxkekha Bregaglia Corsica hlayswnkhxng Karakoram Fitzroy Massif Patagonia ekaa Baffin Cornwall aela Cairngorms karpinhinaekrnitepnthiniymknmak thaihkaaephngpinhinethiymcanwnmakthiphbinorngyimaelainswnsatharnannthukthakhunihmilksnaphaynxkaelaphiwsmphsehmuxnhinaekrnitcring thungcathamacakwtthuthdaethnktam ephraahinaekrnithnkekinipsahrbkaaephngpinpaythikhnyayid aelahnkekinipsahrbxakharthicaepnsthanthitngkaaephngehlanndwyduephimAberdeen Scotland s third largest city nicknamed The Granite City Granite Capital of the World home of the the Granite Capital of the World New Hampshire the Granite State Colorado Georgia ThailandxangxingKumagai Naoichi Sadao Sasajima Hidebumi Ito 15 February 1978 Long term Creep of Rocks Results with Large Specimens Obtained in about 20 Years and Those with Small Specimens in about 3 Years Journal of the Society of Materials Science Japan Japan Energy Society 27 293 157 161 subkhnemux 2008 06 16 Harvey Blatt and Robert J Tracy 1997 Petrology 2nd ed New York Freeman p 66 ISBN 0716724383 Chappell B W and White A J R 2001 Two contrasting granite types 25 years later Australian Journal of Earth Sciences v 48 p 489 499 Boroughs S Wolff J Bonnichsen B Godchaux M and Larson P 2005 Large volume low d18O rhyolites of the central Snake River Plain Idaho USA Geology 33 821 824 C D Frost M McCurry R Christiansen K Putirka and M Kuntz Extrusive A type magmatism of the Yellowstone hot spot track 15th Goldschmidt Conference Field Trip AC 4 Field Trip Guide University of Wyoming 2005 76 pp plus an appended map Clemens John 1998 Observations on the origins and ascent mechanisms of granitic magmas Journal of the Geological Society of London 155 Part 5 843 51 doi 10 1144 gsjgs 155 5 0843 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a CS1 maint date and year lingk khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 05 13 subkhnemux 2009 09 03 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2012 03 09 subkhnemux 2008 10 19 Radon and Cancer Questions and Answers National Cancer Institute subkhnemux 2008 10 19 http www marble 2017 02 20 thi ewyaebkaemchchin institute com industryresources assessingexposureexecutivesummary pdfechuxmtxphaynxkwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb hinaekrnit The Emplacement and Origin of Granite 2007 06 28 thi ewyaebkaemchchin