วัดยางกวง เป็นวัดราษฎร์สังกัดคณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ตั้งอยู่ใน อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
วัดยางกวง | |
---|---|
ชื่อสามัญ | วัดยางกวง, วัดยางกวงจ๋อมสะหลีปุรีนามน่างรั้ว (กาดประตูก้อม), วัดแสนแส้ว, วัดน่างรั้ว, วัดหน่างรั้ว |
ที่ตั้ง | อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ |
ประเภท | วัดราษฎร์ |
นิกาย | มหานิกาย |
ส่วนหนึ่งของ |
ประวัติ
วัดยางกวงน่าจะเป็นวัดขึ้นมาตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 20 จัดเป็นวัดรุ่นแรก ๆ ของเมืองเชียงใหม่ สันนิษฐานได้จากการพบเศียรพระพุทธรูปหล่อสำริดที่จัดเป็นสกุลช่างของล้านนารุ่นแรกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในศิลปกรรมแบบนี้ขึ้นที่วัดนี้ ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า แสนแส้ว วัดนี้จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า วัดแสนแส้ว และยังมีอีกชื่อว่า วัดน่างรั้ว หรือ วัดหน่างรั้ว คำว่า หน่างรั้ว คือ รั้ว หรือแนวกัน ที่ทำให้คนหรือสัตว์เข้ามาติดแล้วออกไปไม่ได้
ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ได้กล่าวไว้ว่า พญามังรายทรงออกแสวงหาชัยภูมิเพื่อสร้างเมืองใหม่ พระองค์เสด็จออกจากเวียงกุมกามและทรงแวะตั้งค่ายพักแรม ณ บริเวณแห่งนี้ โดยให้ทหารและเสนาอำมาตย์สร้างหน่างรั้วขึ้นมา วัดนี้มีหลักฐานปรากฏใน โคลงนิราศหริภุญชัย (พ.ศ. 2060) จนเมื่อเชียงใหม่ถูกพม่ายึดครอง ทำให้วัดอยู่ในสภาพวัดร้าง วัดได้รับการบูรณะอีกครั้งหลังจากที่พระเจ้ากาวิละกลับมาขับไล่พม่าครั้งสุดท้ายออกจากล้านนา ภายหลังมีการเปลี่ยนชื่อมาเป็น "วัดยางกวง" เหมือนในเชียงตุง เพื่อเป็นอนุสรณ์ว่าผู้ที่บูรณะมาจากบ้านนายางกวงเชียงตุง ต่อมาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 วัดยางกวงแห่งนี้กับกลายเป็นวัดร้างอีก
พ.ศ. 2549 เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรครองราชย์ครบ 60 ปี พระเทพวรสิทธาจารย์ เจ้าอาวาสวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร รองเจ้าคณะภาค 7 เห็นว่าวัดยางกวงซึ่งร้างอยู่ ยังมีหลักฐานหลงเหลืออยู่อย่างสมบูรณ์ คือ เจดีย์ และพระพุทธรูป จึงเห็นสมควรทำการฟื้นฟูและบูรณะขึ้นใหม่
วัดยางกวงตั้งเป็นวัดอีกครั้งเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2554 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557
อาคารและเสนาสนะ
เจดีย์ทรงปราสาทแปดเหลี่ยมประกอบด้วย ฐานหน้ากระดานแปดเหลี่ยมรองรับฐานบัวแปดเหลี่ยมสองชั้น ฐานบัวทั้งสองมีลวดบัวลูกแก้วอกไก่คาดประดับชั้นละสองเส้น ถัดขึ้นไปเป็นเรือนธาตุแปดเหลี่ยม ทุกด้านมีซุ้มจระนำประดิษฐานพระพุทธรูป เหนือเรือนธาตุเป็นบัวถลาแปดเหลี่ยมชั้นเดียวรองรับองค์ระฆัง บัลลังก์และปล้องไฉนทรงแปดเหลี่ยมและปลีทรงกลม เจดีย์วัดยางกวงมีลักษณะใกล้เคียงกับเจดีย์แปดเหลี่ยมวัดอินทขีลสะดือเมืองมาก ซึ่งเจดีย์กลุ่มนี้รับอิทธิพลทางศิลปะมาจากเจดีย์แปดเหลี่ยมในศิลปะหริภุญชัย กำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ 20 นอกจากยังพบเศียรพระพุทธรูปหล่อสำริดที่เรียกว่า แสนแส้ว อีกด้วย
วิหารมีการพัฒนามา 4 ยุค โดยจากหลักฐานการขุดแต่ง หลักฐานยุคแรกครอบคลุมช่วงระยะเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2350–2450
อ้างอิง
- . สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-15. สืบค้นเมื่อ 2021-12-15.
- "ฮือฮา!! นักโบราณฯ ขุดพบฐานวิหารลายคำเดิมวัดยางกวง ขณะบูรณะวิหารหลังใหม่". ข่าวสด.
- "วัดยางกวง". สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
- "ศิลปากรเชียงใหม่เผยผลศึกษาละเอียดยิบ"วัดยางกวง"ไขปริศนาฐานพระกระจกจีนสุดฮือฮา". มติชน.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wdyangkwng epnwdrasdrsngkdkhnasngkhfaymhanikay tngxyuin xaephxemuxngechiyngihm cnghwdechiyngihmwdyangkwngchuxsamywdyangkwng wdyangkwngcxmsahlipurinamnangrw kadpratukxm wdaesnaesw wdnangrw wdhnangrwthitngxaephxemuxngechiyngihm cnghwdechiyngihmpraephthwdrasdrnikaymhanikayswnhnungkhxngsaranukrmphraphuththsasnaprawtiwdyangkwngnacaepnwdkhunmatngaetpramanphuththstwrrsthi 20 cdepnwdrunaerk khxngemuxngechiyngihm snnisthanidcakkarphbesiyrphraphuththruphlxsaridthicdepnskulchangkhxnglannarunaerkthimikhnadihythisudinsilpkrrmaebbnikhunthiwdni sungeriykknthwipwa aesnaesw wdnicungmichuxeriykxikchuxhnungwa wdaesnaesw aelayngmixikchuxwa wdnangrw hrux wdhnangrw khawa hnangrw khux rw hruxaenwkn thithaihkhnhruxstwekhamatidaelwxxkipimid tananphunemuxngechiyngihm idklawiwwa phyamngraythrngxxkaeswnghachyphumiephuxsrangemuxngihm phraxngkhesdcxxkcakewiyngkumkamaelathrngaewatngkhayphkaerm n briewnaehngni odyihthharaelaesnaxamatysranghnangrwkhunma wdnimihlkthanpraktin okhlngnirashriphuychy ph s 2060 cnemuxechiyngihmthukphmayudkhrxng thaihwdxyuinsphaphwdrang wdidrbkarburnaxikkhrnghlngcakthiphraecakawilaklbmakhbilphmakhrngsudthayxxkcaklanna phayhlngmikarepliynchuxmaepn wdyangkwng ehmuxninechiyngtung ephuxepnxnusrnwaphuthiburnamacakbannayangkwngechiyngtung txmaphayhlngsngkhramolkkhrngthi 2 wdyangkwngaehngnikbklayepnwdrangxik ph s 2549 ephuxthwayepnphrarachkuslinworkasthiphrabathsmedcphramhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitrkhrxngrachykhrb 60 pi phraethphwrsiththacary ecaxawaswdphrathatudxysuethphrachwrwihar rxngecakhnaphakh 7 ehnwawdyangkwngsungrangxyu yngmihlkthanhlngehluxxyuxyangsmburn khux ecdiy aelaphraphuththrup cungehnsmkhwrthakarfunfuaelaburnakhunihm wdyangkwngtngepnwdxikkhrngemuxwnthi 31 minakhm ph s 2554 idrbphrarachthanwisungkhamsimaemuxwnthi 15 mkrakhm ph s 2557xakharaelaesnasnaecdiythrngprasathaepdehliymprakxbdwy thanhnakradanaepdehliymrxngrbthanbwaepdehliymsxngchn thanbwthngsxngmilwdbwlukaekwxkikkhadpradbchnlasxngesn thdkhunipepneruxnthatuaepdehliym thukdanmisumcranapradisthanphraphuththrup ehnuxeruxnthatuepnbwthlaaepdehliymchnediywrxngrbxngkhrakhng bllngkaelaplxngichnthrngaepdehliymaelaplithrngklm ecdiywdyangkwngmilksnaiklekhiyngkbecdiyaepdehliymwdxinthkhilsaduxemuxngmak sungecdiyklumnirbxiththiphlthangsilpamacakecdiyaepdehliyminsilpahriphuychy kahndxayurawphuththstwrrsthi 20 nxkcakyngphbesiyrphraphuththruphlxsaridthieriykwa aesnaesw xikdwy wiharmikarphthnama 4 yukh odycakhlkthankarkhudaetng hlkthanyukhaerkkhrxbkhlumchwngrayaewlatngaet ph s 2350 2450xangxing sanknganwthnthrrmcnghwdechiyngihm khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2021 12 15 subkhnemux 2021 12 15 huxha nkobran khudphbthanwiharlaykhaedimwdyangkwng khnaburnawiharhlngihm khawsd wdyangkwng sanknganphraphuththsasnaaehngchati silpakrechiyngihmephyphlsuksalaexiydyib wdyangkwng ikhprisnathanphrakrackcinsudhuxha mtichn wikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb wdyangkwng