ศิลปะหริภุญชัย บ้างเขียน ศิลปะหริภุญไชย เป็นศิลปะในอาณาจักรหริภุญชัย มีศูนย์กลางความเจริญอยู่ที่เมืองหริภุญชัย (จังหวัดลำพูนในปัจจุบัน) งานช่างของเมืองนี้ เกี่ยวข้องกับงานช่างที่มีความเจริญรุ่งเรืองอยู่ก่อนของราชธานีพุกาม ประเทศพม่า มีวิวัฒนาการงานศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะอื่น ๆ จนเกิดการผสมผสานเข้าด้วยกัน และคลี่คลายเป็นศิลปะที่มีลักษณะเฉพาะเป็นของตัวเอง
สถาปัตยกรรม
รูปแบบสถาปัตยกรรมเจดีย์อันเป็นเอกลักษณ์ของหริภุญชัย เกี่ยวเนื่องกับ "รูปแบบทรงปราสาท" นอกจากได้รับอิทธิพลจากพม่าแบบพุกาม ยังมีลักษณะบางประการที่เกี่ยวเนื่องกับสถาปัตยกรรมแบบทวารวดีด้วย
สถาปัตยกรรมที่สำคัญ ได้แก่ เจดีย์กู่กุด ซึ่งเป็นเจดีย์สี่เหลี่ยมและรัตนเจดีย์เป็นเจดีย์แปดเหลี่ยมในวัดเดียวกัน คือ วัดจามเทวี เจดีย์ทั้งสององค์นี้ก่อเป็นทรงปราสาท คำว่า "กู่กุด" หมายถึงเจดีย์ที่ยอดหัก เดิมเคยมียอดแหลม อยู่ประเภทเรือนยอด หรือ กุฎาคาร ในเมืองลำพูนยังพบหลักฐานเจดีย์ทรงปราสาท 5 ยอดคือเจดีย์วัดเชียงยืน (หรือเรียกว่า เชียงยัน) และปรากฏเจดีย์ทรงลอมฟาง คือเจดีย์กู่ช้าง ที่นักวิชาการกล่าวว่าน่าจะเป็นรูปแบบที่รับจากสถาปัตยกรรมแบบพม่าสมัยพุกาม
เจดีย์ของใช้เทคนิคการก่อโดยใช้เสารับน้ำหนักส่วนยอดกลางอันเป็นรูปแบบและเทคนิคที่นิยมอยู่ในสถาปัตยกรรมแบบพม่าสมัยพุกาม อย่างไรก็ตามเจดีย์ของวัดหนองดู่และเจดีย์เชียงยืนยังมีปัญหาทางด้านกำหนดอายุการสร้าง ว่าควรเป็นรูปแบบของศิลปะหริภุญไชยตอนปลาย หรือเป็นรูปแบบของล้านนาตอนต้น
สำหรับเจดีย์วัดกู่คำ หรือวัดเจดีย์เหลี่ยม จังหวัดเชียงใหม่ มีลักษณะรูปแบบเดียวกับเจดีย์กู่กุดในเมืองหริภุญไชย ข้อแตกรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะทางศิลปะของพระพุทธรูป ลวดลายประดับซุ้มพระ ซึ่งที่เจดีย์เหลี่ยมได้ถูกเปลี่ยนแปลงจนกลายเป็นลักษณะของศิลปะพม่าเมื่อตอนต้นสมัยรัตนโกสินทร์ แต่ลักษณะโครงสร้างโดยส่วนรวมแล้วมีลักษณะเป็นแบบเดียวกับเจดีย์กู่กุด
สำหรับสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ เช่น วิหาร อุโบสถ หอไตร หรือบ้านเรือน ย่อมล้วนมีโครงหลังคาเครื่องไม้ น่าจะมุงด้วยแป้นเกล็ด (แผ่นไม้แทนกระเบื้อง) หรือมุงด้วยกระเบื้องดินเผา จึงชำรุดเสียหายไปหมด ไม่เหลือหลักฐานให้ศึกษาได้แล้วในสภาพปัจจุบัน
ประติมากรรม
พระพุทธรูป
งานประติมากรรมในศิลปะหริภุญไชย โดยเฉพาะพระพุทธรูปส่วนใหญ่นิยมสร้างขึ้นจากดินเผา ศิลา สำริด และปูนปั้น ดังนั้นจึงไม่ใช่ประติมากรรมลอยตัว แต่เป็นประติมากรรมที่สร้างขึ้นประดับศาสนสถาน และงานส่วนใหญ่สร้างขึ้น เนื่องในพุทธศาสนาแบบเถรวาท
พระพุทธรูปสมัยหริภุญไชยแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 พุทธศตวรรษที่ 13–15 อิทธิพลศิลปะทวารวดีจากภาคกลางของประเทศไทย ระยะที่ 2 พุทธศตวรรษที่ 15–16 อิทธิพลศิลปะเขมร และระยะที่ 3 พุทธศตวรรษที่ 17–18 อิทธิพล และมีลักษณะที่เป็นศิลปะหริภุญไชยอย่างแท้จริง
คำว่าพระพุทธรูปสมัยหริภุญไชยอย่างแท้จริง คือ พระพุทธรูปที่สร้างจากดินเผาและ ปูนปั้น ที่แม้จะได้รับอิทธิพลจากศิลปะทวารวดี ศิลปะเขมร และศิลปะพุกาม แต่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเช่นตัวอย่าง ประติมากรรมพระเศียรพระพุทธรูปดินเผาที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริภุญไชย จังหวัดลำพูน และพระเศียรพระพุทธรูปดินเผาที่จัดแสดงพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่ พระเศียรพระพุทธรูปนี้มีลักษณะค่อนข้างแบน พระพักตร์สี่เหลี่ยม พระพักตร์เคร่งขรึม พระนลาฏกว้าง พระขนงเป็นสันนูนต่อกัน และมีเส้นขีดซ้อนกันขนานอยู่เบื้องใต้ พระเนตรโปน ถือได้ว่าเป็นลักษณะเฉพาะอย่างแท้จริง มีความแตกต่างจากพระพุทธรูปหริภุญไชย ในช่วงก่อนพุทธศตวรรษ 17–18 และลักษณะของ พระนาสิกแบนใหญ่ พระโอษฐ์แบะกว้างแบบทวารวดี และมีขอบพระโอษฐ์หนา พระมัสสุเป็นเส้นขีดอยู่เหนือพระโอษฐ์
รูปแบบเฉพาะอย่างแท้จริงของพระพุทธรูปสมัยหริภุญไชย คือ ขมวดพระเกศาที่เป็นเกลียวยกขึ้นสูงขึ้นมาอย่างมาก และมีอุษณีษะทรงกรวยขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่ขมวดพระเกศามักทำจากดินเผา นำไปเผาก่อนแล้วนำมาติดกับพระเศียรในภายหลัง และนิยมทำขอบพระพักตร์เป็นสันแนวตั้งขึ้นมาระหว่างพระนลาฏกับขมวดพระเกศา คล้ายกับที่เรียกว่า ไรพระศก
เครื่องปั้นดินเผา
รูปแบบและลวดลายของเศษเครื่องปั้นดินเผาเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันในชื่อ เครื่องถ้วยหริภุญไชย บางท่านกำหนดว่า มีอายุระหว่างพุทธศตวรรษที่ 14–19 ส่วนนักวิชาการบางท่าน ได้กำหนดอายุของศิลปะหริภุญไชยเก่าขึ้นไปอีกว่า น่าจะมีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 13–19 เครื่องปั้นดินเผาหริภุญไชยนี้มีรูปแบบของหม้อน้ำที่มีรูปกลม เชิงกว้าง หรือรูปแบบของคนโท ซึ่งมีรูปกลมคอเรียวสูง และตกแต่งด้วยการเขียนสีแดง ทั้งเป็นเส้นธรรมดาที่ส่วนคอ ไหล่ และตัวคนโท และบางใบก็เขียนเป็นลวดลาย ที่ตัวคนโทอย่างสวยงาม
อ้างอิง
- "เจดีย์แบบหริภุญชัย (ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘)". สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ.
- "เวียงกุมกามกับลักษณะทางวัฒนธรรมที่สัมพันธ์กับหริภุญไชย". สำนักศิลปากรที่ ๗ เชียงใหม่.
- "สมัยก่อนล้านนา". สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
- สงวน รอดบุญ. (2528). ศิลปกรรมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. หน้า 69.
- "ทำไมช่างที่ลำพูน ปั้นพระพุทธรูป "มีหนวด" ?!?". ศิลปวัฒนธรรม.
- ศักดิ์ชัย สายสิงห์. (2556). พระพุทธรูปในประเทศไทย : รูปแบบ พัฒนาการ และความเชื่อของคนไทย. กรุงทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- "เครื่องปั้นดินเผาหริภุญไชย". สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
silpahriphuychy bangekhiyn silpahriphuyichy epnsilpainxanackrhriphuychy misunyklangkhwamecriyxyuthiemuxnghriphuychy cnghwdlaphuninpccubn nganchangkhxngemuxngni ekiywkhxngkbnganchangthimikhwamecriyrungeruxngxyukxnkhxngrachthaniphukam praethsphma miwiwthnakarngansilpkrrmthiidrbxiththiphlcaksilpaxun cnekidkarphsmphsanekhadwykn aelakhlikhlayepnsilpathimilksnaechphaaepnkhxngtwexngecdiykukud wdcamethwiecdiyechiyngyn tngxyuinekhtsngkhawas danthisehnuxkhxngphrathatuhriphuychyphraphuththrupbnecdiykukud epnptimakrrmnunsungsthaptykrrmrupaebbsthaptykrrmecdiyxnepnexklksnkhxnghriphuychy ekiywenuxngkb rupaebbthrngprasath nxkcakidrbxiththiphlcakphmaaebbphukam yngmilksnabangprakarthiekiywenuxngkbsthaptykrrmaebbthwarwdidwy sthaptykrrmthisakhy idaek ecdiykukud sungepnecdiysiehliymaelartnecdiyepnecdiyaepdehliyminwdediywkn khux wdcamethwi ecdiythngsxngxngkhnikxepnthrngprasath khawa kukud hmaythungecdiythiyxdhk edimekhymiyxdaehlm xyupraephtheruxnyxd hrux kudakhar inemuxnglaphunyngphbhlkthanecdiythrngprasath 5 yxdkhuxecdiywdechiyngyun hruxeriykwa echiyngyn aelapraktecdiythrnglxmfang khuxecdiykuchang thinkwichakarklawwanacaepnrupaebbthirbcaksthaptykrrmaebbphmasmyphukam ecdiykhxngichethkhnikhkarkxodyichesarbnahnkswnyxdklangxnepnrupaebbaelaethkhnikhthiniymxyuinsthaptykrrmaebbphmasmyphukam xyangirktamecdiykhxngwdhnxngduaelaecdiyechiyngyunyngmipyhathangdankahndxayukarsrang wakhwrepnrupaebbkhxngsilpahriphuyichytxnplay hruxepnrupaebbkhxnglannatxntn sahrbecdiywdkukha hruxwdecdiyehliym cnghwdechiyngihm milksnarupaebbediywkbecdiykukudinemuxnghriphuyichy khxaetkraylaexiydekiywkblksnathangsilpakhxngphraphuththrup lwdlaypradbsumphra sungthiecdiyehliymidthukepliynaeplngcnklayepnlksnakhxngsilpaphmaemuxtxntnsmyrtnoksinthr aetlksnaokhrngsrangodyswnrwmaelwmilksnaepnaebbediywkbecdiykukud sahrbsingkxsrangxun echn wihar xuobsth hxitr hruxbaneruxn yxmlwnmiokhrnghlngkhaekhruxngim nacamungdwyaepnekld aephnimaethnkraebuxng hruxmungdwykraebuxngdinepha cungcharudesiyhayiphmd imehluxhlkthanihsuksaidaelwinsphaphpccubnpratimakrrmphraphuththrup nganpratimakrrminsilpahriphuyichy odyechphaaphraphuththrupswnihyniymsrangkhuncakdinepha sila sarid aelapunpn dngnncungimichpratimakrrmlxytw aetepnpratimakrrmthisrangkhunpradbsasnsthan aelanganswnihysrangkhun enuxnginphuththsasnaaebbethrwath phraphuththrupsmyhriphuyichyaebngxxkidepn 3 raya khux rayathi 1 phuththstwrrsthi 13 15 xiththiphlsilpathwarwdicakphakhklangkhxngpraethsithy rayathi 2 phuththstwrrsthi 15 16 xiththiphlsilpaekhmr aelarayathi 3 phuththstwrrsthi 17 18 xiththiphl aelamilksnathiepnsilpahriphuyichyxyangaethcring khawaphraphuththrupsmyhriphuyichyxyangaethcring khux phraphuththrupthisrangcakdinephaaela punpn thiaemcaidrbxiththiphlcaksilpathwarwdi silpaekhmr aelasilpaphukam aetmiexklksnechphaatwechntwxyang pratimakrrmphraesiyrphraphuththrupdinephathicdaesdnginphiphithphnthsthanaehngchati hriphuyichy cnghwdlaphun aelaphraesiyrphraphuththrupdinephathicdaesdngphiphithphnthsthanaehngchati echiyngihm phraesiyrphraphuththrupnimilksnakhxnkhangaebn phraphktrsiehliym phraphktrekhrngkhrum phranlatkwang phrakhnngepnsnnuntxkn aelamiesnkhidsxnknkhnanxyuebuxngit phraentropn thuxidwaepnlksnaechphaaxyangaethcring mikhwamaetktangcakphraphuththruphriphuyichy inchwngkxnphuththstwrrs 17 18 aelalksnakhxng phranasikaebnihy phraoxsthaebakwangaebbthwarwdi aelamikhxbphraoxsthhna phramssuepnesnkhidxyuehnuxphraoxsth rupaebbechphaaxyangaethcringkhxngphraphuththrupsmyhriphuyichy khux khmwdphraeksathiepnekliywykkhunsungkhunmaxyangmak aelamixusnisathrngkrwykhnadihy swnihykhmwdphraeksamkthacakdinepha naipephakxnaelwnamatidkbphraesiyrinphayhlng aelaniymthakhxbphraphktrepnsnaenwtngkhunmarahwangphranlatkbkhmwdphraeksa khlaykbthieriykwa irphrask ekhruxngpndinepha rupaebbaelalwdlaykhxngessekhruxngpndinephaehlaniepnthiruckkninchux ekhruxngthwyhriphuyichy bangthankahndwa mixayurahwangphuththstwrrsthi 14 19 swnnkwichakarbangthan idkahndxayukhxngsilpahriphuyichyekakhunipxikwa nacamixayurawphuththstwrrsthi 13 19 ekhruxngpndinephahriphuyichynimirupaebbkhxnghmxnathimirupklm echingkwang hruxrupaebbkhxngkhnoth sungmirupklmkhxeriywsung aelatkaetngdwykarekhiynsiaedng thngepnesnthrrmdathiswnkhx ihl aelatwkhnoth aelabangibkekhiynepnlwdlay thitwkhnothxyangswyngamxangxing ecdiyaebbhriphuychy pramanphuththstwrrsthi 17 18 saranukrmithysahrbeyawchn ewiyngkumkamkblksnathangwthnthrrmthismphnthkbhriphuyichy sanksilpakrthi 7 echiyngihm smykxnlanna sthabnwicyphuththsastr mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly sngwn rxdbuy 2528 silpkrrmithy krungethph orngphimphkarsasna hna 69 thaimchangthilaphun pnphraphuththrup mihnwd silpwthnthrrm skdichy saysingh 2556 phraphuththrupinpraethsithy rupaebb phthnakar aelakhwamechuxkhxngkhnithy krungthph phakhwichaprawtisastrsilpa khnaobrankhdi mhawithyalysilpakr ekhruxngpndinephahriphuyichy saranukrmithysahrbeyawchn