มาคีมาคี (การตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อย: 136472 มาคีมาคี; อังกฤษ: Makemake; /ˌmɑːkiːˈmɑːkiː/; : มาเกมาเก [ˈmakeˈmake];สัญลักษณ์: ) เป็นดาวเคราะห์แคระที่ใหญ่ที่สุดเป็นอันดับที่ 3 ในระบบสุริยะ (เท่าที่ค้นพบแล้วในขณะนี้) และเป็นหนึ่งในสองวัตถุที่ใหญ่ที่สุดของแถบไคเปอร์ (KBO) ซึ่งอยู่ในหมู่[a] ดาวมาคีมาคีมีเส้นผ่านศูนย์กลางสามในสี่ของดาวพลูโต ไม่มีดวงจันทร์บริวาร ซึ่งแปลกจากวัตถุขนาดใหญ่อื่น ๆ แถบไคเปอร์ด้วยกัน อุณหภูมิเฉลี่ยที่ต่ำมากของดาวดวงนี้ (ประมาณ 30 เคลวิน) แสดงให้เห็นว่าพื้นผิวของมันถูกปกคลุมด้วยมีเทน และอาจจะมีไนโตรเจนแข็งด้วย
การค้นพบ | ||||
---|---|---|---|---|
ค้นพบโดย: | , , | |||
ค้นพบเมื่อ: | 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 | |||
ชื่ออื่น ๆ: | 2005 FY9 | |||
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย: | ดาวเคราะห์แคระ, , วัตถุพ้นดาวเนปจูน () | |||
ลักษณะของวงโคจร | ||||
ต้นยุคอ้างอิง JD 2,435,135.5 | ||||
ระยะจุดใกล้ศูนย์กลางวงโคจรที่สุด: | 5,760.8 จิกะเมตร (38.509 หน่วยดาราศาสตร์) | |||
ระยะจุดไกลศูนย์กลางวงโคจรที่สุด: | 7,939.7 จิกะเมตร (53.074 หน่วยดาราศาสตร์) | |||
กึ่งแกนเอก: | 6,850.3 จิกะเมตร (45.791 หน่วยดาราศาสตร์) | |||
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.159 | |||
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 4.419 กิโลเมตร/วินาที | |||
มุมกวาดเฉลี่ย: | 85.13° | |||
ความเอียง: | 28.96° | |||
ลองจิจูด ของจุดโหนดขึ้น: | 79.382° | |||
มุมของจุด ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 298.41° | |||
ดาวบริวารของ: | ดวงอาทิตย์ | |||
จำนวนดาวบริวาร: | ไม่มี | |||
ลักษณะทางกายภาพ | ||||
มิติ: | 1300-1900 กิโลเมตร | |||
เส้นผ่านศูนย์กลาง ตามแนวศูนย์สูตร: | ~1,500 กิโลเมตร | |||
(พื้นที่ผิว): | ~7,000,000 ตารางกิโลเมตร | |||
ปริมาตร: | ~1.8×109 ลูกบาศก์กิโลเมตร | |||
มวล: | ~4×1021 กิโลกรัม | |||
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | ~2 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร (สันนิษฐาน) | |||
ความโน้มถ่วง ที่ศูนย์สูตร: | ~0.47 เมตร/วินาที² | |||
ความเร็วหลุดพ้น: | ~0.84 กิโลเมตร/วินาที | |||
คาบการหมุน รอบตัวเอง: | ยังไม่ทราบ | |||
อัตราส่วนสะท้อน: | 78.2+10.3 −8.6 () | |||
อุณหภูมิ: | 30-35 เคลวิน[b] | |||
อุณหภูมิพื้นผิว: |
| |||
ลักษณะของบรรยากาศ |
จากเริ่มแรกที่มีชื่อว่า 2005 FY9 (และต่อมามี 136472 กำกับ) ดาวมาคีมาคีถูกค้นพบเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 โดย (Michael E. Brown) พร้อมทีมค้นหา ประกาศการค้นพบเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 และในวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ได้รวมมาคีมาคีไว้ในรายชื่อวัตถุที่มีสภาพเหมาะสมที่จะได้รับสถานะ "" (Plutoid) ซึ่งเป็นคำที่ใช้เรียกประเภทของดาวเคราะห์แคระที่อยู่เลยวงโคจรของดาวเนปจูนออกไป บริเวณเดียวกับดาวพลูโตและดาวอีริส ในที่สุดมาคีมาคีก็ได้รับการจัดให้เป็นอย่างเป็นทางการในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551
การค้นพบ
ดาวมาคีมาคีถูกค้นพบเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2548 จากพร้อมทีมค้นหาที่มีเป็นผู้นำ มีการเผยแพร่ข่าวการค้นพบสู่สาธารณะเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่มีการประกาศค้นพบดาวอีริสและตามหลังการประกาศค้นพบดาวเฮาเมอาเมื่อสองวันก่อน
แม้ว่าดาวมาคีมาคีจะมีความสว่างอยู่บ้าง แต่กลับไม่มีผู้ค้นพบมันจนกระทั่งหลังจากที่วัตถุแถบไคเปอร์อื่น ๆ จางลงมาก การค้นหาดาวเคราะห์น้อยส่วนใหญ่จะค้นหาจากท้องฟ้าที่อยู่ใกล้กับแนวสุริยวิถี (บริเวณบนท้องฟ้าที่ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ต่าง ๆ ปรากฏเมื่อมองจากโลก) เนื่องจากมีความเป็นไปได้สูงมากที่จะพบวัตถุฟากฟ้าใหม่ ๆ ที่บริเวณนั้น แต่เนื่องจากวงโคจรของดาวมาคีมาคีมีระนาบเอียงมาก และยังอยู่ในระยะไกลจากแนวสุริยวิถีมากที่สุดในขณะที่ถูกค้นพบ (ทางด้านเหนือของกลุ่มดาวผมเบเรนิซ) จึงเป็นไปได้ว่ามันอาจจะรอดพ้นจากการถูกตรวจพบในการสำรวจครั้งก่อน ๆ ไปได้
นอกจากดาวพลูโตแล้ว ดาวมาเกมาเกเป็นดาวเคราะห์แคระเพียงดวงเดียวที่สว่างมากพอที่ไคลด์ ทอมบอ (Clyde Tombaugh) อาจค้นพบได้ระหว่างการค้นหาดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูนประมาณคริสต์ทศวรรษ 1930 ในช่วงเวลาที่ทอมบอทำการสำรวจอยู่นั้น มาคีมาคีมีตำแหน่งอยู่ห่างจากแนวสุริยวิถีเพียงไม่กี่องศา ใกล้กับเขตแดนของกลุ่มดาววัวและกลุ่มดาวสารถี[c] โดยมีอัตราความสว่างปรากฏอยู่ที่ 16.0 อย่างไรก็ตาม ตำแหน่งนี้ก็ยังอยู่ใกล้กับทางช้างเผือก จึงแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะพบดาวดวงนี้ท่ามกลางพื้นหลังที่หนาแน่นไปด้วยดวงดาว ทอมบอยังคงค้นหาต่อไปอีกหลายปีหลังจากที่เขาค้นพบดาวพลูโต แต่เขาก็ประสบความล้มเหลวในการค้นพบดาวมาเกมาเกหรือดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ที่อยู่ถัดจากดาวเนปจูนออกไป
การตั้งชื่อ
ดาวมาเกมาเกมีว่า 2005 FY9 เมื่อข่าวการค้นพบได้รับการเผยแพร่สู่สาธารณะ โดยก่อนหน้านั้นทีมค้นหาได้ใช้ชื่อรหัสว่า อีสเตอร์บันนี (Easter Bunny) เรียกดาวดวงนี้ เพราะได้พบมันไม่นานหลังจากวันอีสเตอร์ได้ผ่านไป
และในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2551 เพื่อให้สอดคล้องกับกฎการตั้งชื่อของสหภาพดาราศาสตร์นานาชาติสำหรับวัตถุชั้นเอกในแถบไคเปอร์ ดาว 2005 FY9 ก็ได้รับการตั้งชื่อตามชื่อของพระองค์หนึ่ง โดยชื่อ (Makemake) เทพเจ้าผู้ให้กำเนิดมนุษยชาติและเทพเจ้าแห่งความอุดมสมบูรณ์ในเทวตำนานของซึ่งเป็นชนพื้นเมืองของเกาะอีสเตอร์ ได้รับการคัดเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในการรักษาความเชื่อมโยงระหว่างดาวดวงนี้กับวันอีสเตอร์ไว้
ดาวบริวาร
มาคีมาคี มีดวงจันทร์ที่เป็นที่รู้จักเพียงดวงเดียว ซึ่งถูกค้นพบในปี พ.ศ. 2558-2559 (ภาพการค้นพบในปี 2558 และประกาศเมื่อปี 2559) คาดว่าดวงจันทร์อาจมีเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 200 กม.
อ้างอิง
- Brian G. Marsden (2008-07-17). "MPEC 2008-O05 : Distant Minor Planets (2008 Aug. 2.0 TT)". IAU Minor Planet Center. Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics. สืบค้นเมื่อ 2008-09-27.
- (2008-04-05). "Orbit Fit and Astrometric record for 136472". SwRI (Space Science Department). สืบค้นเมื่อ 2008-07-13.
- "JPL Small-Body Database Browser: 136472 (2005 FY9)". NASA Jet Propulsion Laboratory. 2008-04-05. สืบค้นเมื่อ 2008-06-11.
- J. Stansberry; W. Grundy; M. Brown; และคณะ (February 2007). "Physical Properties of Kuiper Belt and Centaur Objects: Constraints from Spitzer Space Telescope" (abstract). The Solar System beyond Neptune. University of Arizona Press. สืบค้นเมื่อ 2008-08-04.
- "Dwarf Planets and their Systems". Working Group for Planetary System Nomenclature (WGPSN). U.S. Geological Survey. 2008-11-07. สืบค้นเมื่อ 2008-07-13.
- Robert D. Craig (2004). Handbook of Polynesian Mythology. ABC-CLIO. p. 63. ISBN . สืบค้นเมื่อ 2020-05-01.
- JPL/NASA (2015-04-22). "What is a Dwarf Planet?". Jet Propulsion Laboratory. สืบค้นเมื่อ 2022-01-19.
- Michael E. Brown (2006). "The discovery of 2003 UB313 Eris, the 10th planet largest known dwarf planet". California Institute of Technology. สืบค้นเมื่อ 2008-07-14.
- Michael E. Brown. "The Dwarf Planets". California Institute of Technology, Department of Geological Sciences. สืบค้นเมื่อ 2008-01-26.
- Gonzalo Tancredi; Sofia Favre (June 2008). "Which are the dwarfs in the Solar System?" (PDF). Icarus. 195 (2): 851–862. doi:10.1016/j.icarus.2007.12.020. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.
- International Astronomical Union (2008-07-19). "Fourth dwarf planet named Makemake" (Press release). International Astronomical Union (News Release - IAU0806). สืบค้นเมื่อ 2008-07-20.
- Thomas H. Maugh II and John Johnson Jr. (2005). "His Stellar Discovery Is Eclipsed". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 2008-07-14.
- "Asteroid 136472 Makemake (2005 FY9)". HORIZONS Web-Interface. JPL Solar System Dynamics. สืบค้นเมื่อ 2008-07-01.
- M. E. Brown; M. A. van Dam; A. H. Bouchez; และคณะ (2006-03-01). "Satellites of the Largest Kuiper Belt Objects". The Astrophysical Journal. 639: L43–L46. doi:10.1086/501524.
- . New Mexico Museum of Space History. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-25. สืบค้นเมื่อ 2008-06-29.
- Mike Brown (2008). "Mike Brown's Planets: What's in a name? (part 2)". California Institute of Technology. สืบค้นเมื่อ 2008-07-14.
- Parker, A. H.; Buie, M. W.; Grundy, W. M.; Noll, K. S. (2016-04-25). "Discovery of a Makemakean Moon". The Astrophysical Journal. 825 (1): L9. :1604.07461. Bibcode:2016ApJ...825L...9P. doi:10.3847/2041-8205/825/1/L9.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
makhimakhi kartngchuxdawekhraahnxy 136472 makhimakhi xngkvs Makemake ˌmɑːkiːˈmɑːkiː maekmaek ˈmakeˈmake sylksn epndawekhraahaekhrathiihythisudepnxndbthi 3 inrabbsuriya ethathikhnphbaelwinkhnani aelaepnhnunginsxngwtthuthiihythisudkhxngaethbikhepxr KBO sungxyuinhmu a dawmakhimakhimiesnphansunyklangsaminsikhxngdawphluot immidwngcnthrbriwar sungaeplkcakwtthukhnadihyxun aethbikhepxrdwykn xunhphumiechliythitamakkhxngdawdwngni praman 30 ekhlwin aesdngihehnwaphunphiwkhxngmnthukpkkhlumdwymiethn aelaxaccamiinotrecnaekhngdwymakhimakhi karkhnphbkhnphbody khnphbemux 31 minakhm ph s 2548chuxxun 2005 FY9chnidkhxngdawekhraahnxy dawekhraahaekhra wtthuphndawenpcun lksnakhxngwngokhcrtnyukhxangxing JD 2 435 135 5rayacudiklsunyklangwngokhcrthisud 5 760 8 cikaemtr 38 509 hnwydarasastr rayacudiklsunyklangwngokhcrthisud 7 939 7 cikaemtr 53 074 hnwydarasastr kungaeknexk 6 850 3 cikaemtr 45 791 hnwydarasastr khwameyuxngsunyklang 0 159xtraerwechliy inwngokhcr 4 419 kiolemtr winathimumkwadechliy 85 13 khwamexiyng 28 96 lxngcicud khxngcudohndkhun 79 382 mumkhxngcud ikldwngxathitythisud 298 41 dawbriwarkhxng dwngxathitycanwndawbriwar immilksnathangkayphaphmiti 1300 1900 kiolemtresnphansunyklang tamaenwsunysutr 1 500 kiolemtrphunthiphiw 7 000 000 tarangkiolemtrprimatr 1 8 109 lukbaskkiolemtrmwl 4 1021 kiolkrmkhwamhnaaennechliy 2 krm lukbaskesntiemtr snnisthan khwamonmthwng thisunysutr 0 47 emtr winathi khwamerwhludphn 0 84 kiolemtr winathikhabkarhmun rxbtwexng yngimthrabxtraswnsathxn 78 2 10 3 8 6 xunhphumi 30 35 ekhlwin b xunhphumiphunphiw tasudechliysungsudlksnakhxngbrryakas cakerimaerkthimichuxwa 2005 FY9 aelatxmami 136472 kakb dawmakhimakhithukkhnphbemuxwnthi 31 minakhm ph s 2548 ody Michael E Brown phrxmthimkhnha prakaskarkhnphbemuxwnthi 29 krkdakhm ph s 2548 aelainwnthi 11 mithunayn ph s 2551 idrwmmakhimakhiiwinraychuxwtthuthimisphaphehmaasmthicaidrbsthana Plutoid sungepnkhathiicheriykpraephthkhxngdawekhraahaekhrathixyuelywngokhcrkhxngdawenpcunxxkip briewnediywkbdawphluotaeladawxiris inthisudmakhimakhikidrbkarcdihepnxyangepnthangkarineduxnkrkdakhm ph s 2551karkhnphbdawmakhimakhithukkhnphbemuxwnthi 31 minakhm ph s 2548 cakphrxmthimkhnhathimiepnphuna mikarephyaephrkhawkarkhnphbsusatharnaemuxwnthi 29 krkdakhm ph s 2548 sungepnwnediywkbthimikarprakaskhnphbdawxirisaelatamhlngkarprakaskhnphbdawehaemxaemuxsxngwnkxn aemwadawmakhimakhicamikhwamswangxyubang aetklbimmiphukhnphbmncnkrathnghlngcakthiwtthuaethbikhepxrxun canglngmak karkhnhadawekhraahnxyswnihycakhnhacakthxngfathixyuiklkbaenwsuriywithi briewnbnthxngfathidwngxathity dwngcnthr aeladawekhraahtang praktemuxmxngcakolk enuxngcakmikhwamepnipidsungmakthicaphbwtthufakfaihm thibriewnnn aetenuxngcakwngokhcrkhxngdawmakhimakhimiranabexiyngmak aelayngxyuinrayaiklcakaenwsuriywithimakthisudinkhnathithukkhnphb thangdanehnuxkhxngklumdawphmebernis cungepnipidwamnxaccarxdphncakkarthuktrwcphbinkarsarwckhrngkxn ipid nxkcakdawphluotaelw dawmaekmaekepndawekhraahaekhraephiyngdwngediywthiswangmakphxthiikhld thxmbx Clyde Tombaugh xackhnphbidrahwangkarkhnhadawekhraahphndawenpcunpramankhristthswrrs 1930 inchwngewlathithxmbxthakarsarwcxyunn makhimakhimitaaehnngxyuhangcakaenwsuriywithiephiyngimkixngsa iklkbekhtaednkhxngklumdawwwaelaklumdawsarthi c odymixtrakhwamswangpraktxyuthi 16 0 xyangirktam taaehnngnikyngxyuiklkbthangchangephuxk cungaethbepnipimidthicaphbdawdwngnithamklangphunhlngthihnaaennipdwydwngdaw thxmbxyngkhngkhnhatxipxikhlaypihlngcakthiekhakhnphbdawphluot aetekhakprasbkhwamlmehlwinkarkhnphbdawmaekmaekhruxdawekhraahdwngxun thixyuthdcakdawenpcunxxkip kartngchux dawmaekmaekmiwa 2005 FY9 emuxkhawkarkhnphbidrbkarephyaephrsusatharna odykxnhnannthimkhnhaidichchuxrhswa xisetxrbnni Easter Bunny eriykdawdwngni ephraaidphbmnimnanhlngcakwnxisetxridphanip aelaineduxnkrkdakhm ph s 2551 ephuxihsxdkhlxngkbkdkartngchuxkhxngshphaphdarasastrnanachatisahrbwtthuchnexkinaethbikhepxr daw 2005 FY9 kidrbkartngchuxtamchuxkhxngphraxngkhhnung odychux Makemake ethphecaphuihkaenidmnusychatiaelaethphecaaehngkhwamxudmsmburninethwtanankhxngsungepnchnphunemuxngkhxngekaaxisetxr idrbkarkhdeluxkihepnswnhnunginkarrksakhwamechuxmoyngrahwangdawdwngnikbwnxisetxriwdawbriwarmakhimakhi midwngcnthrthiepnthiruckephiyngdwngediyw sungthukkhnphbinpi ph s 2558 2559 phaphkarkhnphbinpi 2558 aelaprakasemuxpi 2559 khadwadwngcnthrxacmiesnphasunyklangnxykwa 200 km xangxingBrian G Marsden 2008 07 17 MPEC 2008 O05 Distant Minor Planets 2008 Aug 2 0 TT IAU Minor Planet Center Harvard Smithsonian Center for Astrophysics subkhnemux 2008 09 27 2008 04 05 Orbit Fit and Astrometric record for 136472 SwRI Space Science Department subkhnemux 2008 07 13 JPL Small Body Database Browser 136472 2005 FY9 NASA Jet Propulsion Laboratory 2008 04 05 subkhnemux 2008 06 11 J Stansberry W Grundy M Brown aelakhna February 2007 Physical Properties of Kuiper Belt and Centaur Objects Constraints from Spitzer Space Telescope abstract The Solar System beyond Neptune University of Arizona Press subkhnemux 2008 08 04 Dwarf Planets and their Systems Working Group for Planetary System Nomenclature WGPSN U S Geological Survey 2008 11 07 subkhnemux 2008 07 13 Robert D Craig 2004 Handbook of Polynesian Mythology ABC CLIO p 63 ISBN 1576078949 subkhnemux 2020 05 01 JPL NASA 2015 04 22 What is a Dwarf Planet Jet Propulsion Laboratory subkhnemux 2022 01 19 Michael E Brown 2006 The discovery of 2003 UB313 Eris the 10th planet largest known dwarf planet California Institute of Technology subkhnemux 2008 07 14 Michael E Brown The Dwarf Planets California Institute of Technology Department of Geological Sciences subkhnemux 2008 01 26 Gonzalo Tancredi Sofia Favre June 2008 Which are the dwarfs in the Solar System PDF Icarus 195 2 851 862 doi 10 1016 j icarus 2007 12 020 subkhnemux 2008 08 03 International Astronomical Union 2008 07 19 Fourth dwarf planet named Makemake Press release International Astronomical Union News Release IAU0806 subkhnemux 2008 07 20 Thomas H Maugh II and John Johnson Jr 2005 His Stellar Discovery Is Eclipsed Los Angeles Times subkhnemux 2008 07 14 Asteroid 136472 Makemake 2005 FY9 HORIZONS Web Interface JPL Solar System Dynamics subkhnemux 2008 07 01 M E Brown M A van Dam A H Bouchez aelakhna 2006 03 01 Satellites of the Largest Kuiper Belt Objects The Astrophysical Journal 639 L43 L46 doi 10 1086 501524 New Mexico Museum of Space History khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2019 09 25 subkhnemux 2008 06 29 Mike Brown 2008 Mike Brown s Planets What s in a name part 2 California Institute of Technology subkhnemux 2008 07 14 Parker A H Buie M W Grundy W M Noll K S 2016 04 25 Discovery of a Makemakean Moon The Astrophysical Journal 825 1 L9 1604 07461 Bibcode 2016ApJ 825L 9P doi 10 3847 2041 8205 825 1 L9 bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk