มหันตภัยมาลธูเซียน (อังกฤษ: Malthusian catastrophe, Malthusian check) เป็นทฤษฎีที่พยากรณ์การต้องกลับไปสู่การดำรงชีวิต แบบเพียงแค่สามารถประทังชีวิต เมื่อการเติบโตของประชากรก้าวล้ำสมรรถภาพการผลิตของเกษตรกรรม
งานของทอมัส มาลธัส
ในปี ค.ศ. 1798 นักวิชาการชาวอังกฤษ ทอมัส มาลธัส เขียนไว้ว่า
ทุพภิกขภัยดูเหมือนจะเป็นวิธีการสุดท้าย ที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดของธรรมชาติ พลังการเติบโตของประชากรนั้น ยิ่งใหญ่กว่าพลังของโลกอย่างมาก ที่จะผลิตปัจจัยประทังชีวิตมนุษย์ จนกระทั่งว่า การตายก่อนธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งก็ตาม จะต้องมาเยี่ยมเยียนเผ่าพันธุ์มนุษย์ พฤติกรรมผิดศีลธรรมของมนุษยชาตินั้น ไม่อยู่นิ่ง และเป็นเจ้าหน้าที่ที่สามารถลดประชากร เป็นทหารกองหน้าของแสนยานุภาพแห่งความหายนะ ซึ่งบ่อยครั้งสามารถทำงานที่น่าสะพรึงกลัวนั้นให้สำเร็จได้เอง แต่ถ้ากองหน้านี้ล้มเหลว ในสงครามกวาดล้างเผ่าพันธุ์นี้ ฤดูแห่งความเจ็บป่วย โรคระบาด และโรคติดต่อ ก็จะเป็นกองรุกสยองขวัญ กำจัดศัตรูได้อย่างเป็นพันเป็นหมื่น และถ้าชัยชนะยังไม่สมบูรณ์ ทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็จะเป็นกองทัพหลัง ที่โดยการโจมตีแม้เพียงครั้งเดียว ก็จะกวาดประชากรโลกให้ราบเรียบด้วยอาวุธคืออาหาร
— ทอมัส มาลธัส ค.ศ. 1798 An essay on the principle of population (เรียงความเกี่ยวกับหลักประชากรศาสตร์) บทที่ 7 หน้า 61
แม้ว่ามาลธัสจะวาดภาพจุดจบของโลกเช่นนี้ แต่จริง ๆ เขาไม่ได้เชื่อว่า มนุษยชาติจะมีชะตากรรมที่จะประสบมหันตภัย เพราะเหตุจำนวนประชากรก้าวล้ำทรัพยากร แต่เชื่อว่า การเติบโตของประชากรนั้น จะจำกัดโดยทรัพยากรที่มีอยู่ คือ
ความรู้สึกทางเพศปรากฏในทุกยุคทุกสมัย เหมือนกับจะเท่า ๆ กัน จนกระทั่งสามารถพิจารณาโดยแนวคิดทางพีชคณิตว่า เป็นตัวแปรที่จะต้องมีอย่างแน่นอน กฎจำเป็นอันยิ่งใหญ่ ที่ขัดขวางประชากรในแต่ละประเทศ ไม่ให้เพิ่มเกินอาหารที่สามารถผลิตหรือแสวงหาได้ เป็นกฎที่แจ่มแจ้งจนกระทั่งว่า เราไม่ควรสงสัยในกฎนี้ วิธีหรือแบบต่าง ๆ ที่ธรรมชาติใช้ในการป้องกันหรือระงับประชากรเกิน อาจจะไม่ปรากฏกับเราว่า เป็นแบบที่แน่นอนที่เกิดเป็นระยะ ๆ และถึงแม้ว่าเราจะไม่สามารถพยากรณ์แบบวิธี แต่ว่า เราสามารถพยากรณ์ได้ว่า จะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน
— ทอมัส มาลธัส ค.ศ. 1798 An essay on the principle of population (เรียงความเกี่ยวกับหลักประชากรศาสตร์) บทที่ 4
ทฤษฏีมาลธูเซียนในปัจจุบัน
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบเกษตรกรรมที่ใช้เครื่องจักร ได้เพิ่มผลผลิตขึ้นอย่างมาก และการปฏิวัติที่เรียกว่า "Green Revolution (การปฏิวัติเขียว)" ก็ได้เพิ่มผลผลิตขึ้นอีก ซึ่งทั้งเพิ่มปริมาณและลดราคาอาหาร จึงทำให้ประชากรโลกเพิ่มขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ทำให้นักวิชาการบางพวก เริ่มจะพยากรณ์ว่าจะเกิดมหันตภัยมาลธูเซียนโดยไม่ช้า แต่ว่า ประชากรในประเทศพัฒนาแล้วโดยมาก ก็โตขึ้นช้ากว่าการเพิ่มผลผลิตทางเกษตรกรรม
โดยต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 ประเทศพัฒนาแล้วได้ผ่านช่วงการเปลี่ยนสภาพทางประชากรไปแล้ว ซึ่งเป็นช่วงพัฒนาการทางสังคมที่ซับซ้อน มีผลเป็นอัตราเจริญพันธุ์รวมที่ลดลง เนื่องจากอัตราภาวะการตายของทารกลดลง การย้ายเข้าไปอยู่ในเมือง และวิธีการคุมกำเนิดหลายอย่างที่มีประสิทธิภาพ แล้วมีผลเป็นปรากฏการณ์ที่เมื่อรายได้และการศึกษาสูงขึ้น อัตราการเจริญพันธุ์กลับลดลง
โดยสมมุติว่า การเปลี่ยนสภาพทางประชากร กำลังกระจายไปจากประเทศพัฒนาแล้ว ไปยังประเทศพัฒนาน้อยกว่า กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประเมินว่า ประชากรมนุษย์จะถึงจุดสูงสุดในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 21 แทนที่จะเติบโตจนกระทั่งผลาญทรัพยากรทั้งหมด
นักประวัติศาสตร์ได้ประมาณจำนวนประชากรโลกทั้งหมด กลับไปจนถึง 10,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช รูปที่เห็นแสดงแน้วโน้มประชากรทั้งหมดจากปี ค.ศ. 1800-2005 และต่อจากนั้นแสดงค่าประมาณไปจนถึงปี ค.ศ. 2100 (ค่าต่ำ ปานกลาง และสูง) ส่วนภาพบนสุดแสดงอัตราการเพิ่มต่อปี ในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งถ้าการเพิ่มประชากรเป็นแบบยกกำลัง อัตราการเพิ่มประชากรจะเป็นเส้นแบนตรง แต่เพราะอัตราเพิ่มขึ้นในระหว่างปี ค.ศ. 1920-1960 นี้แสดงว่า ประชากรเพิ่มเร็วกว่าอัตรายกกำลังในช่วงเวลานั้น แต่ว่า ตั้งแต่นั้น อัตราการเพิ่มก็ได้ลดลง และคาดว่าจะลดลงเรื่อย ๆ ค่าคาดหมายของสหประชาชาติจนถึงปี ค.ศ. 2100 (สีแดง ส้ม และเขียว) แสดงจุดสุดยอดของประชากรโลกเร็วที่สุดในปี ค.ศ. 2040 ในกรณีแรก หรือว่าในปี ค.ศ. 2075 ในกรณีที่สอง หรือว่าเพิ่มขึ้นโดยไม่มีขอบเขตในกรณีที่สาม
ภาพที่แสดงอัตราการเพิ่มประชากรต่อปีที่ผ่านมา ไม่ปรากฏเหมือนกับจะเป็นแบบยกกำลังในระยะยาว คือถ้าเป็นการเพิ่มแบบยกกำลัง เส้นกราฟควรจะตรงและมีค่าเสมอ แต่ว่า เส้นกราฟจริง ๆ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1800-2005 เริ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเริ่มที่ปี ค.ศ. 1920 ถึงจุดสูงสุดในกลางทศวรรษ 1960 แล้วค่อย ๆ ลดลงในช่วง 40 ปีที่ผ่านมา ส่วนความยึกยักช่วงปี ค.ศ. 1959-1960 เป็นผลจากนโยบายก้าวกระโดดครั้งใหญ่ (ของเหมา เจ๋อตง) และภัยพิบัติธรรมชาติในประเทศจีน นอกจากนั้นแล้ว ยังสามารถเห็นผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ สงครามโลกทั้งสองครั้ง และโรคหวัดระบาดทั่วในปี ค.ศ. 1918
แม้ว่าแนวโน้มระยะสั้น ๆ แม้เป็นทศวรรษ ๆ หรือเป็นศตวรรษ ๆ จะไม่สามารถพิสูจน์หรือหักล้าง กลไกที่ทำให้เกิดมหันตภัยมาลธูเซียนในระยะที่ยาวกว่าได้ แต่ความสมบูรณ์พูนผลของประชากรมนุษย์ส่วนมาก ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 และข้อโต้แย้งต่อการพยากรณ์ความล้มเหลวในระบบนิเวศน์ (ของนักชีววิทยา ดร. Paul R. Ehrlich) ที่มีในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 มีผลให้นักวิชาการบางท่านรวมทั้งนักเศรษฐศาสตร์บางพวก เริ่มตั้งประเด็นสงสัยถึงความหลีกเลี่ยงไม่ได้ของมหันตภัย
งานศึกษาในปี ค.ศ. 2004 ของนักเศรษฐศาสตร์และนักนิเวศวิทยาที่มีชื่อเสียง รวมทั้ง ดร. เคนเนธ แอร์โรว์ และ ดร. Paul Ehrlich เอง เสนอว่า ประเด็นหลักเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ได้เปลี่ยนจากอัตราการเพิ่มประชากร ไปเป็นอัตราส่วนการบริโภคต่อการออม เพราะว่าอัตราการเพิ่มประชากรได้ลดลงเรื่อย ๆ ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 การคาดหมายอาศัยผลการทดลองแสดงว่า นโยบายของรัฐ (เช่นภาษี หรือการให้สิทธิบริหารทรัพย์สินให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น) สามารถส่งเสริมการบริโภคและการลงทุนที่มีประสิทธิภาพกว่า ที่สามารถรักษาความยั่งยืนของระบบนิเวศน์ ซึ่งก็คือ เพราะว่า ปัจจุบันโลกมีอัตราการเพิ่มประชากรที่ต่ำโดยเปรียบเทียบ เราสามารถหลีกเลี่ยงมหันตภัยมาลธูเซียนได้ โดยการเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้บริโภค หรือเปลี่ยนนโยบายของรัฐ
แต่ว่า มีนักวิชาการบางพวกที่อ้างว่า มหันตภัยมาลธูเซียนจะไม่เกิดขึ้นในระยะเวลาใกล้ ๆ นี้ งานศึกษาในปี ค.ศ. 2002 โดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ พยากรณ์ว่า ผลผลิตอาหารทั่วโลกจะมากกว่าที่มนุษย์บริโภคภายในปี ค.ศ. 2030 แต่ว่า จะมีคนหลายร้อยล้านที่ก็จะยังหิวต่อไป (ซึ่งคาดได้ว่า เป็นเพราะเหตุทางเศรษฐกิจหรือทางการเมือง)
ข้อวิจารณ์
นักเศรษฐศาสตร์ที่เขียนหนังสือ The Conditions of Agricultural Growth: The Economics of Agrarian Change under Population Pressure (ปัจจัยการเจริญของเกษตรกรรม - เศรษฐศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร เพราะแรงกดดันจากจำนวนประชากร) กล่าวว่า จำนวนประชากรเป็นตัวกำหนดวิธีการทำเกษตร ไม่ใช่การเกษตรเป็นตัวกำหนดจำนวนประชากร (โดยอาหาร) หลักสำคัญในหนังสือของเธอก็คือว่า "สิ่งประดิษฐ์/ความคิดสร้างสรรค์ หลายอย่าง เป็นผลจากความจำเป็น" และก็ยังมีนักเศรษฐศาสตร์อื่น ๆ อีก ที่โต้แย้งกับทฤษฎีมหันตภัยนี้ โดยอ้างว่า 1. ในปัจจุบันมีคนที่มีความรู้ มีการศึกษา ที่สามารถแปรเหตุการณ์นี้ให้เกิดประโยชน์ได้ และ 2. มี "อิสรภาพทางเศรษฐกิจ" ซึ่งก็คือ สมรรถภาพในการเพิ่มผลผลิตในโลก ที่เนื่องมาจากผลกำไรที่พึงได้
ส่วนนักเศรษฐศาสตร์ทรงอิทธิพลอีกท่านหนึ่งอ้างว่า มาลธัสไม่ได้ให้หลักฐาน ที่แสดงแนวโน้มธรรมชาติของจำนวนประชากร ที่จะก้าวล้ำความสามารถในการผลิตหาอาหารเองได้ และกล่าวว่า แม้แต่ข้อความหลักของมาลธัสเอง ก็พิสูจน์ว่าทฤษฎีนี้ไม่จริง คือตัวอย่างที่มาลธัสให้แสดงว่า ควาทุกข์ยากของมนุษย์เกิดจากเหตุผลทางสังคม เช่น "ความไม่รู้ ความโลภ... รัฐบาลที่ไม่ดี กฎหมายที่ไม่ยุติธรรม หรือสงคราม" ไม่ใช่เหตุผลเกี่ยวกับการผลิตอาหารไม่เพียงพอ
ส่วนฟรีดริช เองเงิลส์ นักสังคมวิทยาคู่หูของคาร์ล มาร์กซ์ ได้วิจารณ์ทฤษฎีนี้ในแนวที่มาลธัสไม่เห็นว่า ประชากรที่เพิ่มขึ้น สัมพันธ์กับทรัพย์สินที่เพิ่มขึ้น เงินลงทุนที่เพิ่มขึ้น และทรัพย์สินเนื่องกับที่ดินที่เพิ่มขึ้น คือ ประชากรจะเจริญเติบโตขึ้นได้ ก็เฉพาะในที่ที่สมรรถภาพในการผลิตโดยทั่วไปมีมาก เองเงิลส์ยังกล่าวอีกด้วยว่า ความแตกต่างระหว่างจำนวนประชากรกับความสามารถในการผลิต ที่มาลธัสคำนวณนั้น ไม่ถูกต้อง เพราะไม่ได้รวมเอาปัจจัยทางวิทยาศาสตร์ คือ "ความเจริญ (ทางวิทยาศาสตร์) นั้นไม่มีขอบเขต และเป็นไปอย่างรวดเร็วอย่างน้อย ๆ เท่ากับการเติบโตของประชากร" แต่โดยนัยตรงกันข้าม นักมานุษยวิทยาท่านหนึ่งอ้างว่า การลงทุนในวิทยาศาสตร์ ให้ผลที่เล็กน้อยถอยลงเรื่อย ๆ และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์เริ่มยากขึ้น และมีค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
เชิงอรรถ
- "catastrophe", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑, "มหันตภัย"
อ้างอิง
- Thomas Robert Malthus (1826). "An Essay on the Principle of Population: A View of its Past and Present Effects on Human Happiness; with an Inquiry into Our Prospects Respecting the Future Removal or Mitigation of the Evils which It Occasions" (PDF) (Sixth ed.). London: John Murray. สืบค้นเมื่อ 2015-06-18.
{{}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
((help)) - Fischer, R. A.; Byerlee, Eric; Edmeades, E. O. "Can Technology Deliver on the Yield Challenge to 2050" (PDF). Expert Meeting on How to Feed the World. Food and Agriculture Organization of the United Nations: 12.[]
- Hopkins, Simon (1966). A Systematic Foray into the Future. Barker Books. pp. 513–569.
- "2004 UN Population Projections" (PDF). 2004.
- "Historical Estimates of World Population, U.S. Bureau of the Census, 2006".
- "International Data Base".
- Simon, Julian (April 1994). "More People, Greater Wealth, More Resources, Healthier Environment" (txt). Economic Affairs: J. Inst. Econ. Affairs. สืบค้นเมื่อ 2015-06-18.
- Arrow, K; Dasgupta, P; Goulder, L; และคณะ (2004). "Are We Consuming Too Much". Journal of Economic Perspectives. 18 (3): 147–172.
- . 2002-08-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-08-25. สืบค้นเมื่อ 2015-06-09.
- Simon, Julian (1998-02-16). "The Ultimate Resource II: People, Materials, and Environment". สืบค้นเมื่อ 2015-06-17.
- George, Henry, "Chapter 7: Malthus vs. Facts", Progress and Poverty, สืบค้นเมื่อ 2015-06-17
- Engels, Frederick (1844). "Outlines of a Critique of Political Economy". จากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-04-16. สืบค้นเมื่อ 2015-06-17.
progress is as unlimited and at least as rapid as that of population
- Tainter, Joseph (2003). The Collapse of Complex Societies. Cambridge, UK: Cambridge University Press.
บรรณานุกรม
- Korotayev A., Malkov A., Khaltourina D. Introduction to Social Macrodynamics: Compact Macromodels of the World System Growth. Moscow: URSS, 2006.
- Korotayev A., Malkov A., Khaltourina D. Introduction to Social Macrodynamics: Secular Cycles and Millennial Trends. Moscow: URSS, 2006. See especially Chapter 2 of this book
- Korotayev A. & Khaltourina D. Introduction to Social Macrodynamics: Secular Cycles and Millennial Trends in Africa. Moscow: URSS, 2006.
- Turchin, P. et al., eds. (2007). History & Mathematics: Historical Dynamics and Development of Complex Societies. Moscow: KomKniga.
- A Trap At The Escape From The Trap? Demographic-Structural Factors of Political Instability in Modern Africa and West Asia. Cliodynamics 2/2 (2011): 1-28.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Essay on life of Thomas Malthus
- Malthus' Essay on the Principle of Population 2002-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- David Friedman's essay arguing against Malthus' conclusions
- United Nations Population Division World Population Trends homepage
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
mhntphymalthuesiyn xngkvs Malthusian catastrophe Malthusian check epnthvsdithiphyakrnkartxngklbipsukardarngchiwit aebbephiyngaekhsamarthprathngchiwit emuxkaretibotkhxngprachakrkawlasmrrthphaphkarphlitkhxngekstrkrrm phngaesdngxtrakarephimprachakrolkraypirahwangpi kh s 1800 2005 xtrakxnpi kh s 1950 macakkarpraemintamprawtikhxng sankngansamaonprachakrshrthxemrika USCB siaedngepncanwnkhadhmaykhxng USCB cnthungpi kh s 2025ngankhxngthxms malthsinpi kh s 1798 nkwichakarchawxngkvs thxms malths ekhiyniwwa thuphphikkhphyduehmuxncaepnwithikarsudthay thinasaphrungklwthisudkhxngthrrmchati phlngkaretibotkhxngprachakrnn yingihykwaphlngkhxngolkxyangmak thicaphlitpccyprathngchiwitmnusy cnkrathngwa kartaykxnthrrmchati imwacaepnrupaebbidrupaebbhnungktam catxngmaeyiymeyiynephaphnthumnusy phvtikrrmphidsilthrrmkhxngmnusychatinn imxyuning aelaepnecahnathithisamarthldprachakr epnthharkxnghnakhxngaesnyanuphaphaehngkhwamhayna sungbxykhrngsamarththanganthinasaphrungklwnnihsaercidexng aetthakxnghnanilmehlw insngkhramkwadlangephaphnthuni vduaehngkhwamecbpwy orkhrabad aelaorkhtidtx kcaepnkxngruksyxngkhwy kacdstruidxyangepnphnepnhmun aelathachychnayngimsmburn thuphphikkhphykhrngihythihlikeliyngimid kcaepnkxngthphhlng thiodykarocmtiaemephiyngkhrngediyw kcakwadprachakrolkihraberiybdwyxawuthkhuxxahar thxms malths kh s 1798 An essay on the principle of population eriyngkhwamekiywkbhlkprachakrsastr bththi 7 hna 61 aemwamalthscawadphaphcudcbkhxngolkechnni aetcring ekhaimidechuxwa mnusychaticamichatakrrmthicaprasbmhntphy ephraaehtucanwnprachakrkawlathrphyakr aetechuxwa karetibotkhxngprachakrnn cacakdodythrphyakrthimixyu khux khwamrusukthangephspraktinthukyukhthuksmy ehmuxnkbcaetha kn cnkrathngsamarthphicarnaodyaenwkhidthangphichkhnitwa epntwaeprthicatxngmixyangaennxn kdcaepnxnyingihy thikhdkhwangprachakrinaetlapraeths imihephimekinxaharthisamarthphlithruxaeswnghaid epnkdthiaecmaecngcnkrathngwa eraimkhwrsngsyinkdni withihruxaebbtang thithrrmchatiichinkarpxngknhruxrangbprachakrekin xaccaimpraktkberawa epnaebbthiaennxnthiekidepnraya aelathungaemwaeracaimsamarthphyakrnaebbwithi aetwa erasamarthphyakrnidwa caekidkhunxyangaennxn thxms malths kh s 1798 An essay on the principle of population eriyngkhwamekiywkbhlkprachakrsastr bththi 4thvstimalthuesiyninpccubnphlkarphlitkhawsaliinpraethskalngphthna kh s 1950 2004 hnwyepnkiolkrm ehktar esnthanthi 500 karphliterimephimkhuninradbsunginpraethsshrthxemrikaerimtngaetinkhristthswrrs 1940 xtrakarephimphlphlitcathungcudsungsudinchwngaerk dngnninpraethskalngphthna karephimphlphlitkhxngkhawophd kyngepnipxyangtxenuxngxyu hlngcaksngkhramolkkhrngthi 2 rabbekstrkrrmthiichekhruxngckr idephimphlphlitkhunxyangmak aelakarptiwtithieriykwa Green Revolution karptiwtiekhiyw kidephimphlphlitkhunxik sungthngephimprimanaelaldrakhaxahar cungthaihprachakrolkephimkhunidxyangrwderw thaihnkwichakarbangphwk erimcaphyakrnwacaekidmhntphymalthuesiynodyimcha aetwa prachakrinpraethsphthnaaelwodymak kotkhunchakwakarephimphlphlitthangekstrkrrm odytnkhriststwrrsthi 21 praethsphthnaaelwidphanchwngkarepliynsphaphthangprachakripaelw sungepnchwngphthnakarthangsngkhmthisbsxn miphlepnxtraecriyphnthurwmthildlng enuxngcakxtraphawakartaykhxngtharkldlng karyayekhaipxyuinemuxng aelawithikarkhumkaenidhlayxyangthimiprasiththiphaph aelwmiphlepnpraktkarnthiemuxrayidaelakarsuksasungkhun xtrakarecriyphnthuklbldlng odysmmutiwa karepliynsphaphthangprachakr kalngkracayipcakpraethsphthnaaelw ipyngpraethsphthnanxykwa kxngthunprachakraehngshprachachatipraeminwa prachakrmnusycathungcudsungsudinplaykhriststwrrsthi 21 aethnthicaetibotcnkrathngphlaythrphyakrthnghmd prachakrolktngaetpi kh s 1800 thung 2100 xasykhxmulcakkhakhadhmaykhxngshprachachatipi kh s 2004 aedng sm ekhiyw aelakhapramantamprawtisastrkhxng USCBkarephimphlphlitkhxngxahar erwkwakarephimprachakr xahartxkhnephimkhuntngaetpi kh s 1961 krafephimkhunchalngemuxphanpi kh s 2010 nkprawtisastridpramancanwnprachakrolkthnghmd klbipcnthung 10 000 pikxnkhristskrach rupthiehnaesdngaenwonmprachakrthnghmdcakpi kh s 1800 2005 aelatxcaknnaesdngkhapramanipcnthungpi kh s 2100 khata panklang aelasung swnphaphbnsudaesdngxtrakarephimtxpi inchwngewlaediywkn sungthakarephimprachakrepnaebbykkalng xtrakarephimprachakrcaepnesnaebntrng aetephraaxtraephimkhuninrahwangpi kh s 1920 1960 niaesdngwa prachakrephimerwkwaxtraykkalnginchwngewlann aetwa tngaetnn xtrakarephimkidldlng aelakhadwacaldlngeruxy khakhadhmaykhxngshprachachaticnthungpi kh s 2100 siaedng sm aelaekhiyw aesdngcudsudyxdkhxngprachakrolkerwthisudinpi kh s 2040 inkrniaerk hruxwainpi kh s 2075 inkrnithisxng hruxwaephimkhunodyimmikhxbekhtinkrnithisam phaphthiaesdngxtrakarephimprachakrtxpithiphanma impraktehmuxnkbcaepnaebbykkalnginrayayaw khuxthaepnkarephimaebbykkalng esnkrafkhwrcatrngaelamikhaesmx aetwa esnkrafcring tngaetpi kh s 1800 2005 erimsungkhunxyangrwderwerimthipi kh s 1920 thungcudsungsudinklangthswrrs 1960 aelwkhxy ldlnginchwng 40 pithiphanma swnkhwamyukykchwngpi kh s 1959 1960 epnphlcaknoybaykawkraoddkhrngihy khxngehma ecxtng aelaphyphibtithrrmchatiinpraethscin nxkcaknnaelw yngsamarthehnphlkhxngphawaesrsthkictktakhrngihy sngkhramolkthngsxngkhrng aelaorkhhwdrabadthwinpi kh s 1918 aemwaaenwonmrayasn aemepnthswrrs hruxepnstwrrs caimsamarthphisucnhruxhklang klikthithaihekidmhntphymalthuesiyninrayathiyawkwaid aetkhwamsmburnphunphlkhxngprachakrmnusyswnmak intnkhriststwrrsthi 21 aelakhxotaeyngtxkarphyakrnkhwamlmehlwinrabbniewsn khxngnkchiwwithya dr Paul R Ehrlich thimiinchwngkhristthswrrs 1960 aela 1970 miphlihnkwichakarbangthanrwmthngnkesrsthsastrbangphwk erimtngpraednsngsythungkhwamhlikeliyngimidkhxngmhntphy ngansuksainpi kh s 2004 khxngnkesrsthsastraelankniewswithyathimichuxesiyng rwmthng dr ekhnenth aexrorw aela dr Paul Ehrlich exng esnxwa praednhlkekiywkbkarphthnathiyngyun idepliyncakxtrakarephimprachakr ipepnxtraswnkarbriophkhtxkarxxm ephraawaxtrakarephimprachakridldlngeruxy tngaetkhristthswrrs 1970 karkhadhmayxasyphlkarthdlxngaesdngwa noybaykhxngrth echnphasi hruxkarihsiththibriharthrphysinihsmburnyingkhun samarthsngesrimkarbriophkhaelakarlngthunthimiprasiththiphaphkwa thisamarthrksakhwamyngyunkhxngrabbniewsn sungkkhux ephraawa pccubnolkmixtrakarephimprachakrthitaodyepriybethiyb erasamarthhlikeliyngmhntphymalthuesiynid odykarepliynphvtikrrmkhxngphubriophkh hruxepliynnoybaykhxngrth aetwa minkwichakarbangphwkthixangwa mhntphymalthuesiyncaimekidkhuninrayaewlaikl ni ngansuksainpi kh s 2002 odyxngkhkarxaharaelakarekstraehngshprachachati phyakrnwa phlphlitxaharthwolkcamakkwathimnusybriophkhphayinpi kh s 2030 aetwa camikhnhlayrxylanthikcaynghiwtxip sungkhadidwa epnephraaehtuthangesrsthkichruxthangkaremuxng khxwicarnnkesrsthsastrthiekhiynhnngsux The Conditions of Agricultural Growth The Economics of Agrarian Change under Population Pressure pccykarecriykhxngekstrkrrm esrsthsastrkhxngkarepliynaeplngthangkarekstr ephraaaerngkddncakcanwnprachakr klawwa canwnprachakrepntwkahndwithikarthaekstr imichkarekstrepntwkahndcanwnprachakr odyxahar hlksakhyinhnngsuxkhxngethxkkhuxwa singpradisth khwamkhidsrangsrrkh hlayxyang epnphlcakkhwamcaepn aelakyngminkesrsthsastrxun xik thiotaeyngkbthvsdimhntphyni odyxangwa 1 inpccubnmikhnthimikhwamru mikarsuksa thisamarthaeprehtukarnniihekidpraoychnid aela 2 mi xisrphaphthangesrsthkic sungkkhux smrrthphaphinkarephimphlphlitinolk thienuxngmacakphlkairthiphungid swnnkesrsthsastrthrngxiththiphlxikthanhnungxangwa malthsimidihhlkthan thiaesdngaenwonmthrrmchatikhxngcanwnprachakr thicakawlakhwamsamarthinkarphlithaxaharexngid aelaklawwa aemaetkhxkhwamhlkkhxngmalthsexng kphisucnwathvsdiniimcring khuxtwxyangthimalthsihaesdngwa khwathukkhyakkhxngmnusyekidcakehtuphlthangsngkhm echn khwamimru khwamolph rthbalthiimdi kdhmaythiimyutithrrm hruxsngkhram imichehtuphlekiywkbkarphlitxaharimephiyngphx swnfridrich exngengils nksngkhmwithyakhuhukhxngkharl marks idwicarnthvsdiniinaenwthimalthsimehnwa prachakrthiephimkhun smphnthkbthrphysinthiephimkhun enginlngthunthiephimkhun aelathrphysinenuxngkbthidinthiephimkhun khux prachakrcaecriyetibotkhunid kechphaainthithismrrthphaphinkarphlitodythwipmimak exngengilsyngklawxikdwywa khwamaetktangrahwangcanwnprachakrkbkhwamsamarthinkarphlit thimalthskhanwnnn imthuktxng ephraaimidrwmexapccythangwithyasastr khux khwamecriy thangwithyasastr nnimmikhxbekht aelaepnipxyangrwderwxyangnxy ethakbkaretibotkhxngprachakr aetodynytrngknkham nkmanusywithyathanhnungxangwa karlngthuninwithyasastr ihphlthielknxythxylngeruxy aelakhwamkawhnathangwithyasastrerimyakkhun aelamikhaichcaysungkhunechingxrrth catastrophe sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 mhntphy xangxingThomas Robert Malthus 1826 An Essay on the Principle of Population A View of its Past and Present Effects on Human Happiness with an Inquiry into Our Prospects Respecting the Future Removal or Mitigation of the Evils which It Occasions PDF Sixth ed London John Murray subkhnemux 2015 06 18 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite journal title aemaebb Cite journal cite journal a Cite journal txngkar journal help Fischer R A Byerlee Eric Edmeades E O Can Technology Deliver on the Yield Challenge to 2050 PDF Expert Meeting on How to Feed the World Food and Agriculture Organization of the United Nations 12 lingkesiy Hopkins Simon 1966 A Systematic Foray into the Future Barker Books pp 513 569 2004 UN Population Projections PDF 2004 Historical Estimates of World Population U S Bureau of the Census 2006 International Data Base Simon Julian April 1994 More People Greater Wealth More Resources Healthier Environment txt Economic Affairs J Inst Econ Affairs subkhnemux 2015 06 18 Arrow K Dasgupta P Goulder L aelakhna 2004 Are We Consuming Too Much Journal of Economic Perspectives 18 3 147 172 2002 08 20 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2018 08 25 subkhnemux 2015 06 09 Simon Julian 1998 02 16 The Ultimate Resource II People Materials and Environment subkhnemux 2015 06 17 George Henry Chapter 7 Malthus vs Facts Progress and Poverty subkhnemux 2015 06 17 Engels Frederick 1844 Outlines of a Critique of Political Economy cakaehlngedimemux 2015 04 16 subkhnemux 2015 06 17 progress is as unlimited and at least as rapid as that of population Tainter Joseph 2003 The Collapse of Complex Societies Cambridge UK Cambridge University Press brrnanukrmKorotayev A Malkov A Khaltourina D Introduction to Social Macrodynamics Compact Macromodels of the World System Growth Moscow URSS 2006 ISBN 5 484 00414 4 Korotayev A Malkov A Khaltourina D Introduction to Social Macrodynamics Secular Cycles and Millennial Trends Moscow URSS 2006 ISBN 5 484 00559 0 See especially Chapter 2 of this book Korotayev A amp Khaltourina D Introduction to Social Macrodynamics Secular Cycles and Millennial Trends in Africa Moscow URSS 2006 ISBN 5 484 00560 4 Turchin P et al eds 2007 History amp Mathematics Historical Dynamics and Development of Complex Societies Moscow KomKniga ISBN 5 484 01002 0 A Trap At The Escape From The Trap Demographic Structural Factors of Political Instability in Modern Africa and West Asia Cliodynamics 2 2 2011 1 28 aehlngkhxmulxunEssay on life of Thomas Malthus Malthus Essay on the Principle of Population 2002 02 02 thi ewyaebkaemchchin David Friedman s essay arguing against Malthus conclusions United Nations Population Division World Population Trends homepage