ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
สังคมวิทยา (อังกฤษ: sociology) คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับทางสังคมของมนุษย์, กลุ่มคน, และสังคม สิ่งที่สาขาวิชานี้สนใจคือ และ ที่ยึดเหนี่ยวหรือแบ่งแยกผู้คน ทั้งในสภาวะที่เป็น และในฐานะของสมาชิกของ, , หรือสถาบัน
สังคมวิทยาสนใจพฤติกรรมมนุษย์ ในฐานะที่เป็นสิ่งมีชีวิตทางสังคม ดังนั้นการศึกษาทางด้านนี้ จึงครอบคลุมตั้งแต่การวิเคราะห์ของคนที่ไม่รู้จักกันบนท้องถนน ไปจนถึงการศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางสังคมในระดับโลก
ประวัติ
เมื่อเทียบกับสาขาวิชาอื่น ๆ ในสังคมศาสตร์ เช่น เศรษฐศาสตร์, รัฐศาสตร์, มานุษยวิทยา, หรือจิตวิทยา วิชาสังคมวิทยาจัดเป็นสาขาวิชาที่ค่อนข้างใหม่ อย่างไรก็ตาม ประวัติของการศึกษาด้านนี้ สามารถสืบสาวไปได้ยาวนานโดยมีรากฐานมาจากความรู้ทั่วไปของมนุษย์, ผลงานทางศิลปะ, และปรัชญา
การศึกษาสังคม ในลักษณะที่เป็นสาขาวิชาที่ใช้หลักวิทยาศาสตร์ เริ่มขึ้นเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีปัจจัยกระตุ้นหลักจากสภาวะ (modernity) อันเป็นผลมาจากทั้งการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม และพัฒนาการทางการเมือง ผลก็คือสภาพสังคมในยุคนั้น เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย เช่น เกิดการขยายตัวของเมือง หรือการที่เข้ามามีอำนาจแทนที่เจ้าขุนมูลนาย. ความเปลี่ยนแปลงนี้ ทำให้นักคิดหลายคนพยายามทำความเข้าใจกับสิ่งที่เกิดขึ้น โดยอาศัยวิธีคิดวิเคราะห์เช่นเดียวกับการศึกษาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
ผู้ที่บัญญัติคำว่า sociology คือ (Auguste Comte) โดยมีรากศัพท์มาจาก socius ซึ่งเป็นภาษาละตินแปลว่า กลุ่มคน และคำว่า logia แปลว่า การศึกษา คองต์ตั้งเป้าว่าจะเชื่อมรวมศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ทั้งหมด รวมทั้งประวัติศาสตร์, จิตวิทยา, และเศรษฐศาสตร์. สังคมวิทยาของเขานั้น มีลักษณะร่วมสมัยกับความคิดในคริสต์ศตวรรษที่ 18 กล่าวคือ เขาเชื่อว่าวิวัฒนาการทางสังคมจะมีลักษณะเป็นลำดับขั้น และถ้าเข้าใจลำดับกระบวนการนี้ได้ ก็จะสามารถชี้ทางแก้ปัญหาสังคมได้ด้วย
หนังสือเล่มแรกที่ใช้คำว่า 'สังคมวิทยา' ในชื่อหนังสือเขียนขึ้นในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดย (Herbert Spencer) นักปรัชญาชาวอังกฤษ. ในสหรัฐอเมริกา มีการเรียนการสอนวิชาสังคมวิทยาครั้งแรกที่ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐแคนซัส ลอว์เร็นซ์ (University of Kansas, Lawrence) เมื่อ พ.ศ. 2433 (ค.ศ. 1890). สำหรับภาควิชาสังคมวิทยาแบบเต็มรูปแบบที่แรกนั้น ตั้งขึ้นที่ มหาวิทยาลัยชิคาโก โดย Albion W. Small ในปี พ.ศ. 2435 (ค.ศ. 1892) ที่สหรัฐอเมริกา. ส่วนในฝั่งยุโรป ภาควิชาสังคมวิทยาถูกตั้งเป็นที่แรก ที่ฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2438 (ค.ศ. 1895) โดย อีมิล เดอร์ไคหม์ (Emile Durkheim) ในมหาวิทยาลัยบอร์โดซ์ (University of Bordeaux), และต่อมาที่เยอรมนี เมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) โดย มักซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ที่ มหาวิทยาลัยมิวนิก (Lugwig Maximilians University of Munich), และที่โปแลนด์ เมื่อ พ.ศ. 2463 (ค.ศ. 1920) โดย Florian Znaniecki. ส่วนในสหราชอาณาจักร ภาควิชาสังคมวิทยาแห่งแรกนั้น ก่อตั้งภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
นักทฤษฎีทางสังคมวิทยาในยุคบุกเบิกตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ได้แก่ คาร์ล มาร์กซ, (Ferdinand Toennies), อีมิล เดอร์ไคหม์, (Vilfredo Pareto) และ มักซ์ เวเบอร์. ในลักษณะเช่นเดียวกับคองต์ นักคิดเหล่านี้ไม่มีใครเรียกตนเองว่าเป็น 'นักสังคมวิทยา' แท้ๆ งานของพวกเขาศึกษาตั้งแต่เรื่อง ศาสนา การศึกษา เศรษฐศาสตร์ จิตวิทยา ศีลธรรม ปรัชญา และ เทววิทยา. อย่างไรก็ตาม ยกเว้นเพียงมาร์กซ์เท่านั้น ผลงานของพวกเขาที่มีผลมาจนถึงทุกวันนี้ก็เป็นทางด้านสังคมวิทยา และทฤษฎีของพวกเขาหลายๆ อันก็ยังสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์ปัจจุบันได้
เมื่อเริ่มแรก การศึกษาด้านสังคมวิทยาถูกมองว่า ไม่ต่างจากการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เช่น ฟิสิกส์ หรือ ชีววิทยา ดังนั้นเหล่านักคิดด้านสังคมจึงได้นำวิธีการ รวมถึงระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์มาใช้ โดยแทบไม่มีการปรับเปลี่ยน แนวทางดังกล่าวที่เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และผลลัพธ์ที่วัดได้ ทำให้สาขาสังคมวิทยาแตกต่างจาก เทววิทยา หรือ อภิปรัชญา แนวคิดนี้ได้รับการสนับสนุนโดยคองต์ ทำให้เกิดระเบียบวิธีวิจัยที่เรียกว่า โดยมีรากฐานมาจากปรัชญาสาย
กระทั่งสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 19 นักวิทยาศาสตร์เช่น หรือ ก็ได้ตั้งข้อสงสัยกับการนำแนวคิดปฏิฐานนิยมและธรรมชาตินิยม มาใช้ในการศึกษาสังคม โดยกล่าวว่า โลกธรรมชาตินั้นแตกต่างจากโลกของสังคม ทั้งนี้เนื่องจากสังคมมนุษย์มีลักษณะหนึ่งเดียวบางประการ เช่น การให้, การใช้สัญลักษณ์, การตั้งเกณฑ์และบรรทัดฐาน, และการให้ โดยทั้งหมดนี้รวมเรียกว่าเป็นวัฒนธรรม มุมมองนี้ได้ถูกพัฒนาต่อโดย แมกซ์ เวเบอร์ ผู้นำแนวคิด (antipositivism) หรือสังคมวิทยาแนว ซึ่งวางอยู่บนหลักการที่ว่า สังคมวิทยาต้องมุ่งศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์และคุณค่าทางวัฒนธรรม นี่ทำให้เกิดข้อถกเถียง เกี่ยวกับการแบ่งแยกระหว่างงานวิจัยเชิงจิตวิสัยและงานวิจัยเชิงวัตถุวิสัย และก่อให้เกิดการศึกษาด้านอรรถปริวรรตศาสตร์ (hermeneutics)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- sociology. (n.d.). The American Heritage Science Dictionary. ดึงข้อมูลเมื่อ 25 มิถุนายน 2560, จากเว็บไซต์ Dictionary.com: http://dictionary.reference.com/browse/sociology
- "Sociology" (PDF). Pasadena City College.
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-10-18. สืบค้นเมื่อ 2017-06-25.
- "An Introduction to Sociology". asanet.org.
- , Sociology (10th Edition), Prentice Hall, 2004,
- , Socjologia, Znak, 2002,
- จำนงค์ อดิวัฒน์สิทธิ์ และ คณะ, สังคมวิทยา, 1993,
แหล่งข้อมูลอื่น
- - Thai Sociology & Anthropology Network
- International Sociological Association
- The Sociolog. Comprehensive Guide to Sociology
- Resources for methods in social research 2005-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Analysing and Overcoming the Sociological Fragmentation in Europe 2005-01-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
คณะและภาควิชาในมหาวิทยาลัยไทย
- คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 2013-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2020-11-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยทักษิณ
- คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- คณะสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- คณะมนุษยศาสตร์ 2010-07-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- คณะโบราณคดี 2010-11-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยศิลปากร
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2005-04-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- คณะสังคมศาสตร์ 2003-12-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยนเรศวร
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2005-03-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยบูรพา
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2005-04-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- คณะสังคมศาสตร์ 2005-03-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน มหาวิทยาลัยพายัพ
- ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย http://www.soc-anp@hi5.com/
- ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
- คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud sngkhmwithya xngkvs sociology khux wichathisuksaekiywkbthangsngkhmkhxngmnusy klumkhn aelasngkhm singthisakhawichanisnickhux aela thiyudehniywhruxaebngaeykphukhn thnginsphawathiepn aelainthanakhxngsmachikkhxng hruxsthabn sngkhmwithyasnicphvtikrrmmnusy inthanathiepnsingmichiwitthangsngkhm dngnnkarsuksathangdanni cungkhrxbkhlumtngaetkarwiekhraahkhxngkhnthiimruckknbnthxngthnn ipcnthungkarsuksaekiywkbkrabwnkarthangsngkhminradbolkprawtiemuxethiybkbsakhawichaxun insngkhmsastr echn esrsthsastr rthsastr manusywithya hruxcitwithya wichasngkhmwithyacdepnsakhawichathikhxnkhangihm xyangirktam prawtikhxngkarsuksadanni samarthsubsawipidyawnanodymirakthanmacakkhwamruthwipkhxngmnusy phlnganthangsilpa aelaprchya karsuksasngkhm inlksnathiepnsakhawichathiichhlkwithyasastr erimkhunemuxtnkhriststwrrsthi 19 sungmipccykratunhlkcaksphawa modernity xnepnphlmacakthngkarptiwtithangxutsahkrrm aelaphthnakarthangkaremuxng phlkkhuxsphaphsngkhminyukhnn ekidkarepliynaeplngxyangmakmay echn ekidkarkhyaytwkhxngemuxng hruxkarthiekhamamixanacaethnthiecakhunmulnay khwamepliynaeplngni thaihnkkhidhlaykhnphyayamthakhwamekhaickbsingthiekidkhun odyxasywithikhidwiekhraahechnediywkbkarsuksawithyasastrthrrmchati phuthibyytikhawa sociology khux Auguste Comte odymiraksphthmacak socius sungepnphasalatinaeplwa klumkhn aelakhawa logia aeplwa karsuksa khxngttngepawacaechuxmrwmsastrthisuksaekiywkbmnusythnghmd rwmthngprawtisastr citwithya aelaesrsthsastr sngkhmwithyakhxngekhann milksnarwmsmykbkhwamkhidinkhriststwrrsthi 18 klawkhux ekhaechuxwawiwthnakarthangsngkhmcamilksnaepnladbkhn aelathaekhaicladbkrabwnkarniid kcasamarthchithangaekpyhasngkhmiddwy hnngsuxelmaerkthiichkhawa sngkhmwithya inchuxhnngsuxekhiynkhuninchwngklangkhriststwrrsthi 19 ody Herbert Spencer nkprchyachawxngkvs inshrthxemrika mikareriynkarsxnwichasngkhmwithyakhrngaerkthi mhawithyalyaehngrthaekhnss lxwerns University of Kansas Lawrence emux ph s 2433 kh s 1890 sahrbphakhwichasngkhmwithyaaebbetmrupaebbthiaerknn tngkhunthi mhawithyalychikhaok ody Albion W Small inpi ph s 2435 kh s 1892 thishrthxemrika swninfngyuorp phakhwichasngkhmwithyathuktngepnthiaerk thifrngess emux ph s 2438 kh s 1895 ody ximil edxrikhhm Emile Durkheim inmhawithyalybxrods University of Bordeaux aelatxmathieyxrmni emux ph s 2462 kh s 1919 ody mks ewebxr Max Weber thi mhawithyalymiwnik Lugwig Maximilians University of Munich aelathiopaelnd emux ph s 2463 kh s 1920 ody Florian Znaniecki swninshrachxanackr phakhwichasngkhmwithyaaehngaerknn kxtngphayhlngsngkhramolkkhrngthisxng nkthvsdithangsngkhmwithyainyukhbukebiktngaetplaykhriststwrrsthi 19 thungtnkhriststwrrsthi 20 idaek kharl marks Ferdinand Toennies ximil edxrikhhm Vilfredo Pareto aela mks ewebxr inlksnaechnediywkbkhxngt nkkhidehlaniimmiikhreriyktnexngwaepn nksngkhmwithya aeth ngankhxngphwkekhasuksatngaeteruxng sasna karsuksa esrsthsastr citwithya silthrrm prchya aela ethwwithya xyangirktam ykewnephiyngmarksethann phlngankhxngphwkekhathimiphlmacnthungthukwnnikepnthangdansngkhmwithya aelathvsdikhxngphwkekhahlay xnkyngsamarthichxthibaypraktkarnpccubnid emuxerimaerk karsuksadansngkhmwithyathukmxngwa imtangcakkarsuksadanwithyasastrthrrmchati echn fisiks hrux chiwwithya dngnnehlankkhiddansngkhmcungidnawithikar rwmthungraebiybwithithangwithyasastrmaich odyaethbimmikarprbepliyn aenwthangdngklawthiennkrabwnkarthangwithyasastr aelaphllphththiwdid thaihsakhasngkhmwithyaaetktangcak ethwwithya hrux xphiprchya aenwkhidniidrbkarsnbsnunodykhxngt thaihekidraebiybwithiwicythieriykwa odymirakthanmacakprchyasay krathngsmykhriststwrrsthi 19 nkwithyasastrechn hrux kidtngkhxsngsykbkarnaaenwkhidptithanniymaelathrrmchatiniym maichinkarsuksasngkhm odyklawwa olkthrrmchatinnaetktangcakolkkhxngsngkhm thngnienuxngcaksngkhmmnusymilksnahnungediywbangprakar echn karih karichsylksn kartngeknthaelabrrthdthan aelakarih odythnghmdnirwmeriykwaepnwthnthrrm mummxngniidthukphthnatxody aemks ewebxr phunaaenwkhid antipositivism hruxsngkhmwithyaaenw sungwangxyubnhlkkarthiwa sngkhmwithyatxngmungsuksaekiywkbmnusyaelakhunkhathangwthnthrrm nithaihekidkhxthkethiyng ekiywkbkaraebngaeykrahwangnganwicyechingcitwisyaelanganwicyechingwtthuwisy aelakxihekidkarsuksadanxrrthpriwrrtsastr hermeneutics duephimthvsdikhwamphukphnxangxingsociology n d The American Heritage Science Dictionary dungkhxmulemux 25 mithunayn 2560 cakewbist Dictionary com http dictionary reference com browse sociology Sociology PDF Pasadena City College PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2017 10 18 subkhnemux 2017 06 25 An Introduction to Sociology asanet org Sociology 10th Edition Prentice Hall 2004 ISBN 0 13 184918 2 Socjologia Znak 2002 ISBN 83 240 0218 9 canngkh xdiwthnsiththi aela khna sngkhmwithya 1993 ISBN 974 575 038 7aehlngkhxmulxun Thai Sociology amp Anthropology Network International Sociological Association The Sociolog Comprehensive Guide to Sociology Resources for methods in social research 2005 12 01 thi ewyaebkaemchchin Analysing and Overcoming the Sociological Fragmentation in Europe 2005 01 22 thi ewyaebkaemchchinkhnaaelaphakhwichainmhawithyalyithy khnasngkhmwithyaaelamanusywithya mhawithyalythrrmsastr phakhwichasngkhmwithyaaelamanusywithya 2013 03 04 thi ewyaebkaemchchin khnasngkhmsastr mhawithyalyechiyngihm phakhwichasngkhmwithyaaelamanusywithya khnarthsastr culalngkrnmhawithyaly khnamnusysastraelasngkhmsastr 2020 11 03 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalythksin khnasngkhmsastr mhawithyalyekstrsastr khnasngkhmsastraelamnusysastr mhawithyalymhidl khnasngkhmsastr mhawithyalysrinkhrinthrwiorth khnamnusysastr 2010 07 26 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalyramkhaaehng khnaobrankhdi 2010 11 26 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalysilpakr khnamnusysastraelasngkhmsastr 2005 04 04 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalykhxnaekn khnasngkhmsastr 2003 12 25 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalynerswr khnamnusysastraelasngkhmsastr 2005 03 07 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalyburpha khnamnusysastraelasngkhmsastr 2005 04 04 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalymhasarkham khnasilpsastr mhawithyalyxublrachthani khnamnusysastraelasngkhmsastr mhawithyalysngkhlankhrinthr khnasngkhmsastr 2005 03 06 thi ewyaebkaemchchin mhawithyalyphayph phakhwichasngkhmwithyaaelamanusywithya khnasngkhmsastr mhawithyalyrachphtechiyngray http www soc anp hi5 com phakhwichasngkhmwithyaaelamanusywithya khnasngkhmsastr mhawithyalymhaculalngkrnrachwithyaly khnamnusysastraelasngkhmsastr